SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสา คัญของโครงงาน 
ความหมายและความสา คัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าของสังคม ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านนี้มีการ 
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงเป็นเรื่องยากที่ประชาชนจะคอยติดตามความก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา 
ดังนั้นการศึกษาเทคโนโลยี ของคอมพิวเตอร์ จึงต้องศึกษาหลักการและเนื้อหาพื้นฐานเป็นสา คัญ 
การศึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งจา เป็นเสมือนกับการศึกษาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ 
คอมพิวเตอร์ได้เปลี่ยนแปลง โลกของเราในด้านต่างๆ มากมาย ได้แก่ 
1. สังคมโดยส่วนใหญ่เปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมเป็นสังคมสารสนเทศ 
2. การตัดสินใจในเรื่องต่างๆ มักขึ้นอยู่กับข้อมูลซึ่งได้จากระบบคอมพิวเตอร์ 
3. คอมพิวเตอร์กลายเป็นเครื่องมือที่สา คัญแทนเครื่องมืออื่นๆในอดีต เช่น เครื่องพิมพ์ดีด เป็นต้น 
4. คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการออกแบบสถานการณ์หรือปัญหาที่ซับซ้อนต่างๆ 
5. คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในงานติดต่อสื่อสารของโลกปัจจุบัน 
การศึกษาด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีขึ้น เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ 
ความเข้าใจในวิทยาการคอมพิวเตอร์ และมีความสามารถในการพัฒนาโปรแกรมได้ 
การจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์จะเป็นสิ่งที่ทา ให้ผู้เรียน สามารถบรรลุเป้าหมายนี้ได้อย่างสมบูรณ์ 
จุดมุ่งหมายที่สา คัญประการหนึ่งของการเรียน 
การสอน คอมพิวเตอร์ ในโรงเรียน คือ 
การที่ผู้เรียนได้มีโอกาสนา ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น 
หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ด้วยตนเอง ซึ่งวิธีการที่มีประสิทธิภาพมากวิธีหนึ่งคือการทา โครงงานคอมพิว 
เตอร์ 
โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่นๆ ในการศึกษา ทดลอง แก้ปัญหาต่างๆ 
เพื่อนาผลงานที่ได้มาประยุกต์ใช้งานจริง 
หรือเพื่อใช้ช่วยสร้างสื่อเสริมการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 
โครงงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะการใช้เครื่องค 
อมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ พร้อมทั้งเครื่องมือต่างๆในการแก้ปัญหา 
รวมทั้งการพัฒนาเจตคติในการสร้างผลงาน
โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ผู้เรียนสามารถศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ 
ซึ่งอาจเป็นปัญหาที่ต้องใช้ความรู้ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มาผสมผสานกัน 
ซึ่งบางโครงงานอาจต้องใช้ความรู้อื่นๆ มาร่วมด้วย โดยผู้เรียนจะต้องวางแผนการดา เนินงาน ศึกษา 
พัฒนาโปรแกรมหรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน 
โครงงานบางเรื่องอาจต้องการวัสดุอุปกรณ์นอกเหนือจากที่มีอยู่ ซึ่งผู้เรียนจะต้องพัฒนาขึ้น 
หรือดัดแปลงเพื่อให้ใช้งานได้ตรงกับความต้องการ 
โดยในการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์จะอยู่ภายใต้การดูแลและให้คา ปรึกษาของผู้สอน 
และผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่างๆ 
การทา โครงงานและการจัดงานแสดงโครงงานคอมพิวเตอร์จะมีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้ผู้เรียนมีความรู้ 
ความชา นาญ และมีทักษะในการนา ระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น 
หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ด้วยตนเองดังที่ได้กล่าวมาแล้ว และยังมีคุณค่าอื่นๆ อีกดังต่อไปนี้ 
· เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง 
· เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า 
และเรียนรู้ในเรื่องที่ผู้เรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนในห้องตามปกติ 
·ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน 
· กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจในการศึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 
และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้ 
· ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้เวลาให้เป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ 
· สร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและชุมชน 
รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น 
· สร้างสา นึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง 
ที่มา : http://kroosuveera.blogspot.com/2011/09/blog-post_13.html
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ มี 5 ประเภท ให้นักเรียนค้นหาขอบข่ายของโครงงานแต่ละประเภท 
เป็นข้อๆ (ค้นจากห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต) แล้วบันทึกลงกระดาษขนาด A4 ที่เตรียมมา พร้อมเขียน 
แหล่งที่มา หรือ Address ของ website ที่นักเรียนค้นหาข้อมูลเหล่านั้นด้วย 
ขอบข่ายของโครงงานแต่ละประเภท 
ดา เนินงานโดยนักเรียน เป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์ 
และครูอาจารย์ เป็นผู้ให้คา แนะนา ปรึกษา 
1. เป็นกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า 
ปฏิบัติดัวยตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการทางทฤษฎีตามเนื้อหาโครงงานนั้นๆ 
หรือจากประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นมากแล้ว 
2. นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทา โครงงานด้วยตนเอง หรือเป็นกลุ่มโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ เป็นภาคเรียน 
หรือมากว่าก็ได้ แล้วแต่โครงงานเล็กหรือใหญ่ 
3. นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์ 
คัดเลือกโครงงานที่จะศึกษาค้นคว้าปฏิบัติด้วยตนเองตามความถนัด สนใจ และความพร้อม 
4. นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงาน รายละเอียดของโครงงาน แผนปฏิบัติงานและการแปลผล 
รายงานผลต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อดา เนินงานร่วมกันให้บรรลุตามจุดหมายที่กา หนดไว้ 
5. เป็นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักเรียนตามวัยและสติปัญญา 
รวมทั้งการใช้จ่ายเงินดา เนินงานด้วย
โครงงานคอมพิวเตอร์ แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้งานดังนี้ 
- การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา 
- การพัฒนาเครื่องมือ 
- การทดลองทฤษฎี 
- การประยุกต์ใช้งาน 
- การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 
1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษาโดยการส 
ร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน 
และคา ถามคา ตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน 
โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน 
ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ 
โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ 
โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา 
อีกทั้งยังสามารถนา ไปประยุกต์ใช้ได้กับทุกกลุ่มสาระ เช่นวิชาวิทยาศาสตร์เรื่องวิวัฒนาการ 
เราอาจทา การออกแบบสื่อนี้ให้มีความน่าสนใจมีลูกเล่นแปลกใหม่ 
ทา ให้ผู้อ่านได้รับความรู้และง่ายต่อการจดจา มากยิ่งขึ้น
2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ เป็นโครงงานที่สร้างเครื่องมือ ใช้สร้างงาน ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของซอฟต์แวร์ 
เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ เป็นต้น 
การผลิตโครงงานประเภทนี้สามารถเพิ่มความสะดวกสบายในการสร้างผลงานที่จา เป็นต้องอาศัยความละเอี 
ยด สะดวก และรวดเร็วแม่นยา 
เช่นโปรแกรมสร้างรูปทรงหลายมิติที่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้กับวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ 
ซึ่งโปรแกรมนี้จะช่วยให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น 
ผู้ใช้งานต้องกา หนดสเกลและรูปทรงที่ต้องการจากนั้นโปรแกรมก็จะประมวลผลและสร้างรูปทรงออกมา 
เป็นต้น
3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจา ลองการทดลองของสาขาต่าง 
ๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น 
และเป็นโครงงานที่ผู้ทา ต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ 
อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจา ลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร 
สมการ หรือคา อธิบาย พร้อมทั้งารจา ลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ 
ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทา ให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น 
การทา โครงงานประเภทนี้มีจุดสา คัญอยู่ที่ผู้ทา ต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี 
ตัวอย่างโครงงานจา ลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว 
การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น 
4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจา วันอาทิเช่น 
ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี 
และซอฟต์แวร์สา หรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ 
หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ 
หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและ 
วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนา ข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ 
ซึ่งล้วนแล้วแต่มีประโยชน์ต่อการจัดการงานต่าง ๆ 
ในชีวิตประจา วันตามลักษณะของซอฟแวร์และการนา ไปใช้งาน
5. โครงงานพัฒนาเกม เพื่อความรู้ ความเพลิดเพลิน เช่นการสร้างเกมต่าง ๆ 
ที่จะทา ให้ผู้เล่นได้รับทั้งความรู้และความสนุกสนานจากเกม ไม่ว่าจะเป็นเกมทายศัพท์ เกมจับคู่ 
เกมฝึกสมองพัฒนาอีคิว ซึ่งเกมเหล่านี้ล้วนมาจากการประยุกต์ใช้ความรู้จากโครงงานหลายประเภท 
จนสามารถนา มาพัฒนาเป็นเกมซึ่งสร้างสรรค์ออกมาเพื่อให้ผู้เล่นได้รับทั้งความรู้และความสนุกสนานไปพ 
ร้อม ๆ กัน 
ที่มา http://toffykz.blogspot.com/2012/08/3.html 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) 
เป็นโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียน 
หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวนและคา ถามคา ตอบไว้พร้อม 
ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ 
ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน 
ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ Onlineให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ 
โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ 
ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ 
โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทา ความเข้าใจยาก 
มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่าง เช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน 
ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ 
ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา 
โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน 
และคา ถามคา ตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน 
โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน 
ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ 
โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ 
โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยะจักรวาล ตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชา กิ่งกุหลาบ 
หลักภาษาไทย และสถานที่สา คัญของประเทศไทย เป็นต้น
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษาโดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเ 
รียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคา ถามคา ตอบไว้พร้อม 
ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ 
ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ 
ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ 
โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ 
โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เช่น 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยะจักรวาล 
หลักภาษาไทย และสถานที่สา คัญของประเทศไทย โครงงานเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์ 
วิถีชีวิตของคนไทยพวน โปรแกรม ดนตรีไทยแสนสนุก โปรแกรม ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 
โปรแกรมสา นวนไทยพาสนุก โปรแกรมฝึกอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ โปรแกรมเรียนรู้คณิตศาสตร์ 
ตัวอย่าง โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา 
1. โปรแกรม ดนตรีไทยแสนสนุก 
ผู้พัฒนา นางสาว อัญชลี เตมีประเสริฐกิจ 
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ชนารัตน์ คา อ่อน 
สถานศึกษา โรงเรียนระยองวิทยาคม
2. โปรแกรม ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 
ผู้พัฒนา นาย เทพ รัตนเรืองจา รูญ และนายพงศกร พันธุ์พงษ์สิทธ์ิ 
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์สโรชา สายเนตร 
สถานศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอัสสัมชัญ 
3. โปรแกรมสนุกไปกับตารางธาตุ 
ผู้พัฒนา เด็กหญิงวริศรา พรหมมณี และเด็กหญิงกมลวรรณ ทองงาน 
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ทัศนีย์ ระลึกมูล 
สถานศึกษา โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จ.พิษณุโลก
4. โปรแกรมฝึกอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ 
ผู้พัฒนา เด็กหญิงวรรณรวัส ยินดีเดช 
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ศรา หรูจิตตวิวัฒน์ 
สถานศึกษา โรงเรียนเซนต์ฟรังซิสซาเวียร์คอนแวนต์ กรุงเทพฯ 
5.โปรแกรมสานวนไทยพาสนุก 
ผู้พัฒนา เด็กหญิงจิราพร แจ้งไพร และเด็กหญิงกนิษฐา สุริเมือง 
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์วิรุบล จันตา 
สถานศึกษา โรงเรียนภัทรวิทยา จ.ตาก 
ที่มาhttp://oumsunipharuamsap.blogspot.com/2012/09/4-httpwww.html
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ” 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือช่วย สร้างงานประยุกต์ต่างๆ 
โดยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน 
และซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ เป็นต้น 
สา หรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลคา 
ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนซอฟต์แวร์การวาดรูป 
พัฒนาขึ้นเพื่ออา นวยความสะดวกให้การวาดรูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นไปได้ โดยง่าย 
สา หรับซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ ใช้สา หรับช่วยการออกแบบสิ่งของ อาทิเช่น 
ผู้ใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูว่าด้านบนและด้านข้างเป็นอย่างไร 
ก็ให้ซอฟต์แวร์คา นวณค่าและภาพที่ควรจะเป็นมาให้ 
เพื่อพิจารณาและแก้ไขภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวก 
ตัวอย่างโครงงาน 
1. โปรแกรมการค้นหาคา ภาษาไทย 
2. โปรแกรมอ่านอักษรไทย 
3. โปรแกรมวาดภาพสามมิติ 
4. โปรแกรมเข้าและถอดรหัสข้อมูล 
5. โปรแกรมบีบอัดข้อมูล 
6. โปรแกรมประมวลผลคา ไทยบนระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ 
7. โปรแกรมการออกแบบผังงาน 
8. พอร์ตแบบขนานของไทย 
9. การส่งสัญญาณควบคุมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ 
http://kruoong.blogspot.com/2011/07/blog-post_25.html
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี” 
“โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี” เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจา ลองการทดลองของสาขาต่าง 
ๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น 
และเป็นโครงงานที่ผู้ทา ต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ 
อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจา ลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร 
สมการ หรือคา อธิบาย พร้อมทั้งารจา ลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ 
ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทา ให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น 
การทา โครงงานประเภทนี้มีจุดสา คัญอยู่ที่ผู้ทา ต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี 
ตัวอย่างโครงงานจา ลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว 
การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น 
ขั้นตอนการทา โครงงาน 
การทา โครงงานมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้ 
๒.๑ การคิดและการเลือกหัวเรื่อง ผู้เรียนจะต้องคิด 
และเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วยตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทา ไมจึงอยากศึกษา 
หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คา ถามหรือความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ 
ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน 
เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้วควรเข้าใจและรู้เรื่องว่าโครงงานนี้ทา จากอะไร 
การกา หนดหัวเรื่องของโครงงานนั้นมีแหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและความสนใจหลายแหล่งด้วย 
กัน เช่น จากการอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ 
การเข้าชมนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคคลต่างๆ 
หรือจาการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ ควรคา นึงถึงประเด็นต่อไปนี้ 
- ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน 
- วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ 
- งบประมาณ 
- ระยะเวลา
- ความปลอดภัย 
- แหล่งความรู้ 
๒.๒ การวางแผน 
การวางแผนการทา โครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน 
ซึ่งต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดา เนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน 
แล้วนา เสนอต่อผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดา เนินการขั้นต่อไป 
การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และขั้นตอนการทา โครงงาน 
ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ 
๑) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายได้ตรง 
๒) ชื่อผู้ทา โครงงาน 
๓) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน 
๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทา โครงงานเรื่องนี้ 
มีความสา คัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง 
เรื่องที่ทา เป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร 
เรื่องที่ทา ได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทา ไว้อย่างไร หรือเป็นการทา ซ้า เพื่อตรวจสอบผล 
๕) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได้ 
เป็นการบอกขอบเขตของงานที่จะทา ได้ชัดเจนขึ้น 
๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคา ตอบหรือคา อธิบายที่คาดไว้ล่วงหน้า 
ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และที่สา คัญ คือ 
เป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางในการดา เนินการทดสอบได้ 
นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย 
๗) วิธีดา เนินงานและขั้นตอนการดา เนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะออกแบบการทดลองอะไรอย่างไร 
จะเก็บข้อมูลอะไรบ้างรวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จา เป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง 
๘) แผนปฏิบัติงาน 
อธิบายเกี่ยวกับกา หนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการดา เนินงานในแต่ละขั้นตอน 
๙) ผลที่คาดว่าจะได้รับ 
๑๐) เอกสารอ้างอิง
๒.๓ การดา เนินงาน 
เมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว 
ต่อไปก็เป็นขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทา ตามแผนงานที่วางไว้ 
เตรียมวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ให้พร้อมปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ 
คา นึงถึงความประหยัดและปลอดภัยในการทา งาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทา อะไรไปบ้าง 
ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้เป็นระเบียบและครบถ้วน 
๒.๔ การเขียนรายงาน 
การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งที่จะให้ผู้อื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด 
วิธีการดา เนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เกี่ยวกับโครงงานนั้น 
การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็นสา คัญๆ 
ทั้งหมดของโครงงาน 
๒.๕ การนาเสนอผลงาน 
การนา เสนอผลงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทา โครงงานและเข้าใจถึงผลงานนั้น 
การนา เสนอผลงานอาจทา ได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา 
ระดับของผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์จา ลอง การสาธิต 
การจัดนิทรรศการ ซึ่งอาจมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายด้วยคา พูด หรือการรายงานปากเปล่า การบรรยาย 
สิ่งสา คัญคือ พยายามทา ให้การแสดงผลงานนั้นดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย 
และมีความถูกต้องของเนื้อหา
๓. การเขียนรายงานโครงงาน 
การเขียนรายงานโครงงานเป็นรูปแบบหนึ่งของการนา เสนอผลงานของโครงงานที่ผู้เรียนได้ศึกษาค้ 
นคว้าตั้งแต่ต้นจนจบ 
การกา หนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกันทุกโครงงาน 
ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับประเภทของโครงงานและระดับชั้นของผู้เรียน 
องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็น ๓ ส่วน ดังนี้ 
๑. ส่วนปกและส่วนต้น ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย 
๑) ชื่อโครงงาน 
๒) ชื่อผู้ทา โครงงาน ชั้น โรงเรียน และวันเดือนปีที่จัดทา 
๓) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 
๔) คา นา 
๕) สารบัญ 
๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี) 
๗) บทคัดย่อสั้นๆ ที่บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา 
ระยะเวลา และ 
สรุปผล 
๘) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณบุคคล 
หรือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือหรือมีส่วนเกี่ยวข้อง 
๒. ส่วนเนื้อเรื่อง 
ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย 
๑) บทนา บอกความเป็นมา ความสา คัญของโครงงาน บอกเหตุผล 
หรือเหตุจูงใจในการเลือกหัวข้อโครงงาน 
๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน 
๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า 
๔) การดา เนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การดา เนินงานเป็นไปตามหัวข้อเรื่อง 
ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน และพิสูจน์คา ตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นที่กา หนด 
ดังตัวอย่างการเขียนแผนผังโครงงานต่อไปนี้
ในแผนผังโครงงานทา ให้เห็นระบบการทา งานอย่างมีเป้าหมาย มีการวางแผนการทา งาน 
จะเห็นได้ว่าสิ่งที่ต้องการทราบ คือ หัวข้อย่อย หรือคา ถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ 
ก็จะเรียงลา ดับทีละหัวข้อ พร้อมทั้งบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา 
และแหล่งศึกษาค้นคว้าตามแผนผังให้ครบทุกข้อ สิ่งที่ต้องการทราบ สมมติฐาน วิธีการศึกษา 
แหล่งศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจากหัวข้อเรื่องของโครงงานที่ต้องการหาคา ตอบ 
การตอบคา ถามล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาโดยการดู-ฟัง จากสื่อชนิดต่างๆ - เอกสาร 
หนังสือ - สถานที่ บุคคล 
๕) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคา ตอบที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า 
ตามหัวข้อย่อยที่ต้องการทราบ ว่าเป็นไปตามสมมติฐานหรือไม่ 
๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานที่ได้ และบอกข้อจา กัดหรือปัญหา อุปสรรค 
(ถ้ามี) พร้อมทั้งบอกข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะใกล้เคียงกัน 
๓. ส่วนท้าย 
ส่วนท้าย ประกอบด้วย 
๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ ตา รา 
บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมต่างกัน เช่น 
หนังสือ ชื่อ นามสกุล. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์ 
บทความในวารสาร ชื่อผู้เขียน "ชื่อบทความ," ชื่อวารสาร. ปีที่หรือเล่มที่ : หน้า ;วัน เดือน ปี. 
คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ์์ชื่อผู้เขียน "ชื่อคอลัมน์ : ชื่อเรื่องในคอลัมน์" ชื่อหนังสือพิมพ์.วัน เดือน 
ปี. หน้า. 
๒) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสัมภาษณ์ 
ในการทา โครงงานประเภททดลอง ต้องมีการจัดการกับตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลอง ซึ่งจะมี 4 ชนิด คือ 
• ตวัแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ หมายถึง เหตุของการทดลองนั้นๆ 
• ตัวแปรตาม ซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงตัวแปรต้น 
• ตัวแปรควบคุม หมายถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนๆกัน มิฉะนั้นจะมีผลทา ให้ตัวแปรตามเปลี่ยนไป 
• ตัวแปรแทรกซ้อน ซึ่งจริงๆแล้วก็คือ ตัวแปรควบคุมนั่นเอง แต่บางครั้งเราจะควบคุมไม่ได้ 
ซึ่งจะมีผลแทรกซ้อน ทา ให้ผลการทดลองผิดไป แต่แก้ไขได้โดยการตัดข้อมูลที่ผิดพลาดทิ้งไป 
ตัวอย่างเช่น นักเรียนต้องการศึกษาว่า กระดาษชนิดใดสามารถพับเครื่องร่อน และปาได้ไกลที่สุด 
ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ชนิดของกระดาษ 
ตัวแปรตาม คือ ระยะทางที่กระดาษเคลื่อนที่ได้ 
ตัวแปรควบคุม คือ แรงที่ใช้ปากระดาษ ความสูงของระยะที่ใช้ปา 
ตัวแปรแทรกซ้อน เช่น บางครั้งขณะปามีลมพัดเข้ามา ซึ่งจะทา ให้ข้อมูลผิดพลาดได้
โครงงานประเภทการทดลอง เหมาะสาหรับนักเรียนที่ศึกษาในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เช่น 
ครูต้องการสอนให้นักเรียนทราบว่า ในพืชชนิดใดมีวิตามินซีมากหรือน้อยอย่างไร 
แทนที่ครูจะบอกความรู้แก่นักเรียน ครูก็จะสอนโดยให้นักเรียนทา เป็นโครงงาน 
โดยให้สา รวจปริมาณวิตามินซีในพืชผักผลไม้ท้องถิ่น เป็นต้น 
แต่ก็นาไปใช้ในรายวิชาอื่นๆ ได้เช่นกัน เช่น วิชาพลศึกษา 
ครูจะสอนวิธีตีปิงปองแก่นักเรียนโดยวิธีโครงงานพลศึกษา 
ครูอาจจะสอนโดยการให้นักเรียนทา การศึกษาวิธีตีปิงปองหลายๆ แบบด้วยกัน โดยมี 
ตัวแปรต้น คือ วิธีการตี (นักเรียนอาจเพิ่มเติมวิธีตีได้อีกหลายๆแบบ) 
ตัวแปรตาม คือ ผลที่เกิดจากการตี เช่น ระยะทางที่ลูกปิงปองเคลื่อนที่ได้ 
เมื่อนักเรียนทา โครงงานนี้เสร็จ นักเรียนก็จะสามารถทราบวิธีการตีปิงปองที่ดีที่สุดสา หรับนักเรียนคนนั้นๆ 
วิชาการงานพื้นฐานอาชีพ นักเรียนอาจทา โครงงานเกี่ยวกับการเพาะเห็ดฟางโดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง 
วัสดุที่ใช้เพาะเห็ดว่าวัสดุชนิดใดเพาะเห็ดได้ดีที่สุด โดยมี 
ตัวแปรต้น คือ วัสดุที่ใช้เพาะเห็ดฟาง 
ตัวแปรตาม คือ ปริมาณเห็ดที่ได้ 
จะทา ให้นักเรียนได้ทราบว่าวัสดุในท้องถิ่นของนักเรียนชนิดใดเพาะเห็ดได้ดีที่สุด 
วิชาภาษาไทย ครูอาจให้นักเรียนทา โครงงานเกี่ยวกับวิธีการอ่าน 
โดยศึกษาเปรียบเทียบการอ่านออกเสียงว่าวิธีใดจะสามารถทา ให้ผู้อ่านจา ได้ดีกว่ากัน โดยมี 
ตัวแปรต้น คือ การอ่านในใจและการอ่านออกเสียง 
ตัวแปรตาม คือ ความจา ของนักเรียน 
นักเรียนจะได้ทราบวิธีการอ่านและทราบอื่นๆ อีกมาก 
ตัวอย่างของโครงงาน 
เลขทะเบียน คง 2543 ต002 
โรงเรียน โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อา เภอเมือง นครสวรรค์ 2543 
เกียรติบัตร ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลที่ 2 กา หนดหัวข้อ ภาคเหนือตอนล่าง 
ชื่อเรื่อง A MAGIC SWITCH 
จา นวนหน้า 23 หน้า ภาพประกอบ 
สาระสังเขป โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสวิทซ์ไฟฟ้าที่สามารถเปิดปิดไฟได้โดยอัตโนมัติ
เมื่อไม่มีคนอยู่ อุปกรณ์ที่ใช้ได้แก่ เครื่องวัดระดับเสียง วงจรสวิทซ์แสง 
วิธีดา เนินการทดลองคือ 
ทา การวัดระดับความดังของเสียงในขณะที่มีคนอยู่ในห้องและไม่มีคนอยู่ 
บันทึกไว้ต่อมาเปรียบเทียบแรงไฟและแสงสว่างระหว่างเวลากลางวันและกลางคืน 
ทา การบันทึก แล้วนา ความแตกต่างของเสียงและแสงสว่างที่วัดได้ไปตั้งค่ากับเครื่องมือ 
เชื่อมต่อกับปลั๊กไฟฟ้าที่ทา การจ่ายกระแสไฟให้กับหลอดไฟ จากผลการทดลองพบว่า 
เครื่องมือดังกล่าวสามารถทา งานได้ดี คือเมื่อห้องว่างไม่มีนักเรียนอยู่ในห้อง 
เครื่องมือจะทา การดับไฟ และไม่มีเสียงดังเกินค่าที่ตั้งไว้ 
เครื่องมือก็จะทา การปิดไฟได้อย่างถูกต้อง 
โดยอาจมีความผิดพลาดบ้างเมื่อมีเสียงออดระหว่างคาบเรียน 
หัวเรื่อง สวิทซ์ 
ไฟฟ้า 
เลขทะเบี 
ยน 
คง 2542 ต041 
โรงเรียน โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อา เภอเมือง นครสวรรค์ 2542 
เกียรติบัต 
ร 
ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลที่ 1 กา หนดหัวข้อ ภาคเหนือตอนล่าง 
ชื่อเรื่อง MOTER SPRAYER IV 
จา นวนห 
31 หน้า ภาพประกอบ 
น้า 
สาระสังเ 
ขป 
โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการลดการใช้แรงงานและเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องมือใน 
การทา การเกษตร อุปกรณ์ที่ใช้ทา การทดลอง ได้แก่ Motor Sprayer 
IV ซึ่งเป็นเครื่องมือทา สเปรย์ที่ใช้ในการพ่นสารเคมี หรือสารสกัดจากพืชเพื่อกา จัดแมลงศัตรูพืช 
ให้ปุ๋ย ฮอร์โมน ซึ่งประดิษฐ์ขึ้นจากการพัฒนามาจาก Motor Sprayer 3 ซึ่ง Motor Sprayer 
3 ต้องใช้แบตเตอรี่ขนาด 6 โวลต์ 
ทา ให้เกษตรกรต้องแบกเป็นเวลานานและไม่สะดวกต่อการใช้งาน 
เมื่อMotor ส่วนท้ายชา รุดจะมีผลทา ให้ Motor หมุนช้าลงและละอองน้า ยาที่ฉีดพ่นกระจายตัวไม่ 
สม่า เสมอ จึงได้มีการปรับปรุง 
โดยการเพิ่มประสิทธิภาพ Motor ให้ใช้ไฟเลี้ยงแรงดันไฟเพียง 4.8 โวลต์ 
เปลี่ยนแม่เหล็กเป็นแบบความเข้มข้นของสนามแม่เหล็กสูง เพื่อลดการใช้พลังงานพลังงานไฟฟ้า
เปลี่ยนแกนหมุนเป็นแบบลูกปืน เพื่อลดการเสียดทาน 
ลดอัตราการไหลของน้า ยาลงทา ให้ปริมาณยาฉีดพ่นและเพิ่มประสิทธิการกระจายตัวของยาที่ฉีด 
พ่น ลดขนาดถังน้า ยาและใช้แบตเตอรี่เลียนแบบถ่านนิเกิล แคดเมียม 
สรุปแล้วพบว่าเครื่อง Motor Sprayer 
4 ที่ทา การปรับปรุงนี้สามารถใช้งานได้ดีมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่ารุ่นก่อนเป็นอย่างมาก 
หัวเรื่อง มอเตอร์ 
sprayer 
เลขทะเบี 
ยน 
คง 2549 ป057 
โรงเรียน โรงเรียนอัสสัมชัญลา ปาง จังหวัดลา ปาง 2549 
เกียรติบัต 
ร 
ม.ปลาย ชนะการประกวดรางวัลชมเชย สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาคเหนือตอนบน 
ชื่อเรื่อง VISUALIZER (เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง) 
จา นวนห 
19 หน้า ภาพประกอบ 
น้า 
สาระสังเ 
ขป 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง VISUALIZER (เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง) 
จัดทา ขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการนา หลักการทางด้านวิทยาศาสตร์เรื่องแสงตกกระทบวัตถุ 
แสงจะสะท้อนวัตถุออกมา เพื่อเป็นการผลิตเครื่องมือและอุปกรณ์การเรียนการสอนในชั้นเรียน 
ซึ่งขั้นตอนการทา ก็เริ่มจากดา เนินการศึกษาจากอุปกรณ์จริง คือ 
เครื่อง VISUALIZER ในห้องปฏิบัติการว่ามีคุณสมบัติ และวิธีการทา งานอย่างไร ผลที่ได้คือ 
หลักการสะท้อนของแสง เมื่อมีแสงมาตกกระทบวัตถุ 
แสงจะสะท้อนวัตถุนั้นและเกิดภาพหรือลักษณะของวัตถุนั้นออกมา 
ในลักษณะของการสมมาตรคือ การตกกระทบเท่ากับการสะท้อน 
และถ้าเรานาฉากไปรับสามารถเกิดภาพได้ จึงนาหลักการดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ 
และเราได้ใช้เลนส์นูนร่วมกับการประดิษฐ์เนื่องจากมีคุณสมบัติรวมแสง 
แต่ภาพที่เกิดภาพหัวกลับ เราจึงใช้กระจกเงาราบแผ่นหนึ่งสะท้อนไปยังฉากเพื่อให้ได้ภาพหัวตั้ง 
จากการนา โครงงานทา ให้เราสามารถผลิตสื่ออุปกรณ์ 
ที่เกิดจากวัสดุที่ราคาไม่แพงและมีคุณสมบัติที่สามารถใช้ได้เช่นเดียวกับอุปกรณ์ที่ทางคณะผู้จัด 
ทา ต้องการศึกษา และได้ทา การทดลองใช้งานพร้อมกับทา การทดลองหาความชัด 
โดยพบว่าถ้าเราใช้แสงไฟที่เข้มเพียงพอ
และขนาดเลนส์ที่ใหญ่เราก็จะสามารถฉายภาพที่ขนาดใหญ่ได้แล้วภาพที่ได้ก็จะชัดเจนมากกว่าก 
ารใช้ความเข้มแสงน้อย และเลนส์ขนาดเล็ก นอกจากนี้เราต้องอาศัยปัจจัยภายนอกเข้ามาช่วยด้วย 
คือ ความสว่างของบริเวณภายในห้องที่เราใช้ต้องมีน้อย 
นั้นคือความสามารถเกิดภาพที่ชัดเจนได้ในที่มืด เพราะฉะนั้นการผลิตเครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง 
(VISUALIZER)นี้ก็เป็นการที่สามารถทา ให้เกิดแนวทางในการนา ไปพัฒนาในต่อๆ ไปมากขึ้น 
หัวเรื่อง เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง 
VIisualizer 
เลขทะเ 
บียน 
คง 2545 ต064 
โรงเรีย 
น 
โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 2545 
เกียรติบั 
ตร 
ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลชมเชย สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ภาคเหนือตอนบน 
ชื่อเรื่อง Wallpaper จากเศษวัสดุธรรมชาติช่วยลดความร้อนภายในบ้าน 
จา นวน 
22 หน้า : ภาพประกอบ 
หน้า 
สาระสั 
งเขป 
ทางคณะผู้จัดทา ได้แนวคิดที่จะลดขยะโดยนา มาทา เป็นกระดาษบุผนังหรือ Wallpaper ซึ่งสามารถ 
ดูดความร้อนได้ จึงแบ่งการทดลองออกเป็น 2 ตอน 
ตอนที่ 1 นา ชานอ้อยมาทา Wallpaper ขั้นแรกเติมโซดาไฟเพื่อให้ชานอ้อยนิ่ม 
นา ไปต้มเพื่อให้แยกออกเป็นเส้นๆ หลังจากนั้นบดให้ละเอียด 
และนา เยื่อของชานอ้อยที่ได้ไปตากแห้งให้เป็นแผ่น และทาแชลแลคในขั้นตอนสุดท้าย 
เพื่อความแข็งทนทานและเป็นมันวาว 
ตอนที่ 2 ทา บ้านจา ลองโดยใช้กล่อง 2 ใบซึ่งมีขนาดและความหนาเท่ากัน 
และติด Wallpaperจากชานอ้อย หนึ่งใบ วัดอุณหภูมิของกล่องทั้งสองใบ 
จากการทดลองตอนที่ 1 พบว่า เยื่อของชานอ้อยสามารถเกาะติดกันเป็นแผ่นเดียวกัน 
แต่ไม่สวยสมบูรณ์มากนักเนื่องจากการทดลองครั้งนี้ทา เพื่อให้เห็นถึงการยึดเกาะของเยื่อจากชานอ้ 
อย แต่ไม่ได้พิถีพิถันตกแต่งให้เกิดความสวยงาม และตอนที่ 2 พบว่า 
กล่องที่ติดWallpaper จากชานอ้อยจะมีอุณหภูมิต่า กว่ากล่องที่ไม่ติด Wallpaper สรุปได้ว่าเยื่อของช 
านอ้อยมีคุณสมบัติในการดูดความร้อนได้จริง 
หัวเรื่อง การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์
ชานอ้อย 
เลขทะเบียน คง 2546 ป106 
โรงเรียน โรงเรียนนิยมศิลป์อนุสรณ์ จ.เพชรบูรณ์ 2546 
เกียรติบัตร ม.ปลาย ชนะการประกวดรางวัลที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาคเหนือตอนล่าง 
ชื่อเรื่อง My Injet 
จา นวนหน้า 32 หน้า : ภาพประกอบ 
สาระสังเขป ศึกการนา ส่วนต่างๆของพืชที่ให้สีต่างกัน มาผสมตามหลักทฤษฎีสีเพื่อให้เกิดสีดา 
โดยทดลองเปรียบเทียบวิธีสกัดสีจากพืช พบว่าวิธีที่เหมาะสมที่สุดคือการสกัดด้วยเมธานอล 
จากนั้นสกัดสีจากส่วนต่างๆของพืช โดยสีแดงสกัดได้จากใบประดับเฟื่องฟ้า 
สีเหลืองได้จากขมิ้น และสีน้า เงินได้จากดอกอัญชัน 
นา น้า สีที่สกัดได้ไปอบด้วยความร้อน 60 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง 
เพื่อให้ได้ตัวสีที่เข้มข้น จากนั้นนา ตัวสีแต่ละสีมา 0.5 กรัม 
นา แต่ละสีไปผสมน้า อย่างละ 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในอัตราส่วนระหว่าง สีแดง : สีเหลือง : 
สีน้า เงิน เท่ากับ 3 : 1 : 4จะได้สีดา ที่สุดแล้วนา ไปอบด้วยความร้อน 60 องศาเซลเซียส 
นาน 24 ชั่วโมง เมื่อได้สารสีดา ที่เข้มข้นแล้วนา ไปผสมเอทานอล 50% ที่อัตราส่วนคือ 
หมึก 1 กรัม : เอทานอล 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร 
จากนั้นเติมน้า ยาล้างจาน 0.1 ลูกบาศก์เซนติเมตร เพื่อลดแรงตึงผิว 
แล้วนา ไปปั่นให้ตกตะกอน 3 ครั้ง นา หมึกบรรจุในคาร์ทริดจ์แล้วสั่งพิมพ์ 
พบว่าสามารถพิมพ์ได้แต่สีดา ยังดา ไม่สนิท 
เนื่องจากเป็นสีจากธรรมชาติจึงไม่เข้มเหมือนกับหมึกสังเคราะห์ 
หัวเรื่อง หมึกพิมพ์ 
ที่มา http://toffykz.blogspot.com/2012/08/6.html 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน” 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ 
สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจา วัน อาทิเช่น 
ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี 
และซอฟต์แวร์สา หรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ 
หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ 
หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและ 
วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนา ข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ
ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทา งานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ 
ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ 
ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 
ตัวอย่างโครงงาน 1 
ชื่อโครงงาน การศึกษา Computer Generated Hologram และ การประยุกต์ใช้งานอย่างง่าย ชื่อผู้ทา โครงงาน 
นายไพโรจน์ ศิรินามารัตนะ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ศ.ดร.สมศักด์ิ ปัญญาแก้ว สถาบันการศึกษา 
นิสิตระดับปริญญาตรีปีที่ 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา 
คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา โครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ การถ่ายภาพ hologram ด้วยแสงเลเซอร์ (Laser 
hologram) คือ การบันทึกรูปแบบการแทรกสอด (Interference pattern) ของแสง 2 ขบวน คือ 
แสงที่มาจากวัตถุ (Object beam) กับ แสงอ้างอิง (Reference beam) ลงบนrecording 
medium โดยการฉายแสงอ้างอิง ที่ตา แหน่งเดิมกับ recording medium อีกครั้งหนึ่ง 
ก็จะสามารถเห็นภาพวัตถุเป็นแบบ 3 มิติได้ 
จากการศึกษาการเกิดภาพ 3 มิติ ด้วยวิธีข้างต้น เกิดจากการที่แสงอ้างอิงผ่าน recording 
medium โดยอาศัยหลักการแทรกสอดและเลี้ยวเบนของแสง เมื่อเรารู้ว่าแสงอ้างอิงมีลักษณะอย่างไร 
และเราต้องการวัตถุ 3 มิติแบบไหน เราก็จะจะสามารถคา นวณรูปแบบการแทรกสอดบน recording 
medium,นั้นได้ จากนั้นก็สามารถสร้างรูปแบบการแทรกสอดที่เราคา นวณได้ด้วยวิธี Laser 
writing หรือ electron Lithography เป็นต้น ซึ่ง hologram ที่ได้นี้ถูกเรียกว่า Computer Generated Hologram 
(CGH) 
การประยุกต์ใช้งาน CGH ที่เห็นได้ชัดก็เช่น การสร้างภาพ 3D holographic 
Television ซึ่งการคา นวณ Interference 
pattern และการ lithography เพื่อให้ได้ภาพ 3D ที่ชัดเจนเป็นสิ่งที่ทา ยากส่วนที่ง่ายลงมาก็คือการใช้ CGH ใน 
การบังคับลา แสงให้เป็นรูปแบบต่างๆ โดยอาจทา เป็น Lens รวมแสง,กระจายแสงให้เป็นรูปสามเหลี่ยม 
สี่เหลี่ยม ซึ่งสามารถนา ประยุกต์ใช้งานเป็น Holographic transmitterใน Optical Wireless LANS 
System หรือการทา Holographic Solar Concentrator เป็นต้น 
ตัวอย่างโครงงาน 2 
ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อผู้ทา โครงงาน 
นายสรรเสริญ ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักด์ิ แซ่จึง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 
อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อสุข สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา
คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา โครงงาน 1/1/2551 บทคัดย่อ การ 
ประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า(Shopping Helper using Barcode with 
Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงรายละเอียดของสินค้าและค่าใช้จ่ายใน 
การเลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง 
โดยการพัฒนาระบบใหม่ซึ่งประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ 
เนื่องจากเดิมสินค้ามีการระบุข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น 
ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า 
จา นวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุข้อมูลได้มากขึ้น 
และนา มาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ 
โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า 
จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่านบาร์โค้ด 2 มิติ 
เพื่อให้สามารถบอกรายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า 
ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของสินค้าทั้งหมดที่เลือกให้อยู่ในงบประมาณที่ตั้งไว้ ระบบจะทา การแจ้งเตือน 
เมื่อผู้บริโภคใช้จ่ายสินค้าเกินงบประมาณที่กา หนด ซึ่งระบบจะมีการนา ข้อมูลชนิดสินค้า รายละเอียดสินค้า 
ราคาสินค้า จากฐานข้อมูล และผู้บริโภคสามารถนา รายละเอียดของสินค้ามาเปรียบเทียบกันได้ 
โดยระบบนี้จะแบ่งการทา งานออกเป็นส่วน ๆ 
คือระบบการสร้างรหัสบาร์โค้ดจากข้อมูลรายละเอียดของสินค้าของผู้ให้บริการ 
และระบบการให้บริการโดยแสดงรายละเอียดสินค้า การเลือกซื้อสินค้าบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ 
แจ้งเตือนงบประมาณที่เกินกาหนด ยกเลิกสินค้าที่ไม่ต้องการ 
และระบบจะตรวจสอบการรวมราคาของสินค้านั้นก่อนที่จะไปชา ระค่าสินค้า 
เพื่อให้ผู้บริโภคทราบราคารวมของสินค้านั้นตรงกับราคาที่ต้องชา ระจริง 
ซึ่งจะอา นวยความสะดวกในการจัดสรรเลือกซื้อสินค้าตามงบประมาณของผู้บริโภคได้ 
ตัวอย่างโครงงาน 3 
ชื่อโครงงาน การ ประยุกต์ใช้แบบรูปการเคลื่อนที่ของดาวเปราะในแบบรูปการเคลื่อนที่ของหุ่น ยนต์ The 
Application of Brittle Star Locomotion Patterns for Robotic 
Locomotion โปรแกรมเพื่อประยุกต์การใช้งาน (นักเรียน) ชื่อผู้ทา โครงงาน นางสาวสุพิชญา 
สุจริยากุล , นายพิลิปดา เหลืองประเสริฐ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.สโรช ไทรเมฆ สถาบันการศึกษา 
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ระดับชั้น มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี 
ทา โครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม นี้ เขียนขึ้นเพื่อใช้ในการศึกษาการเคลื่อนที่ 
หรือการเคลื่อนไหวของวัตถุที่เราสนใจ (ซึ่งในที่นี้เน้นเรื่องหุ่นยนต์) 
โดยรับข้อมูลจากภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกจากกล้องที่อยู่นิ่ง มาวิเคราะห์ถึงข้อมูลต่างๆ อันได้แก่ ตา แหน่ง
ตา แหน่งของส่วนต่างๆ ความเร็ว การหมุน 
ซึ่งในขณะนี้โปรแกรมกา ลังถูกพัฒนาให้สามารถทา งานได้ตามดังที่กล่าวไว้ข้าง ต้น 
โดยในขณะนี้สามารถตรวจจับความเปลี่ยนแปลงของภาพได้ แต่ยังไม่สามารถระบุตา แหน่งที่ชัดเจนได้ 
เนื่องจากสิ่งที่เราสนใจไม่จา เป็นจะมีลักษณะเป็นก้อน อาจมีส่วนแขนยื่นออกมา 
และมีมากกว่า 1 ส่วนที่กา ลังเคลื่อนที่ เช่น ส่วนหนึ่งเคลื่อนไปด้านหน้า อีกส่วนหนึ่งเคลื่อนไปด้านหลัง 
เป็นต้น 
This software is a work developed for study the movement of object by input video file from a standing 
video recorder. It will work by analyze position, coordinating system, velocity and rotation. We have 
developed this program until this program can detect the different in 2 or more images. But it is not totally 
work for detect a right position, because an object may have some part move freely from others, for 
example, some moves forward while the other moves backward. 
ตัวอย่างโครงงาน 4 
ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อผู้ทา โครงงาน 
นายสรรเสริญ ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักด์ิ แซ่จึง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 
อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อสุข สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา 
คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา โครงงาน 1/1/2551 บทคัดย่อ การ 
ประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า(Shopping Helper using Barcode with 
Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงรายละเอียดของสินค้าและค่าใช้จ่ายใน 
การเลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง 
โดยการพัฒนาระบบใหม่ซึ่งประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ 
เนื่องจากเดิมสินค้ามีการระบุข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น 
ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า 
จา นวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุข้อมูลได้มากขึ้น 
และนา มาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ 
โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า
จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่านบาร์โค้ด 2 มิติ 
เพื่อให้สามารถบอกรายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า 
ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของสินค้าทั้งหมดที่เลือกให้อยู่ในงบประมาณที่ตั้งไว้ ระบบจะทา การแจ้งเตือน 
เมื่อผู้บริโภคใช้จ่ายสินค้าเกินงบประมาณที่กา หนด ซึ่งระบบจะมีการนา ข้อมูลชนิดสินค้า รายละเอียดสินค้า 
ราคาสินค้า จากฐานข้อมูล และผู้บริโภคสามารถนา รายละเอียดของสินค้ามาเปรียบเทียบกันได้ 
โดยระบบนี้จะแบ่งการทา งานออกเป็นส่วน ๆ 
คือระบบการสร้างรหัสบาร์โค้ดจากข้อมูลรายละเอียดของสินค้าของผู้ให้บริการ 
และระบบการให้บริการโดยแสดงรายละเอียดสินค้า การเลือกซื้อสินค้าบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ 
แจ้งเตือนงบประมาณที่เกินกาหนด ยกเลิกสินค้าที่ไม่ต้องการ 
และระบบจะตรวจสอบการรวมราคาของสินค้านั้นก่อนที่จะไปชา ระค่าสินค้า 
เพื่อให้ผู้บริโภคทราบราคารวมของสินค้านั้นตรงกับราคาที่ต้องชา ระจริง 
ซึ่งจะอา นวยความสะดวกในการจัดสรรเลือกซื้อสินค้าตามงบประมาณของผู้บริโภคได้ 
ตัวอย่างโครงงาน 5 
ชื่อโครงงาน โปรแกรมประยุกต์พจนานุกรมสา หรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประเภท Mobile 
Application ชื่อผู้ทา โครงงาน นาย วรพงศ์ โรจน์เรืองมาศ , นางสาว ศุภิสรา 
จันทราภิสิทธ์ิ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. รัชลิดา ลิปิกรณ์ สถาบันการศึกษา 
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี 
ทา โครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม พจนานุกรมสา หรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพนี้ 
ได้ถูกพัฒนามาจากโปรแกรมแบบเดิมที่ผู้ใช้ต้องพิมพ์คา ศัพท์โดยกดปุ่มตัวเลข เพื่อหาความหมาย 
เพื่อให้ผู้ใช้สะดวกสบายในการใช้งานเพียงแค่ถ่ายภาพคา ศัพท์ที่ต้องการ รวมถึงระบบการใช้งานที่เข้าใจง่าย 
และสามารถใช้งานได้จากที่ใดก็ได้ ทั้งนี้ยังคงมีรูปแบบการพิมพ์คา ศัพท์แบบเดิมอยู่ 
โปรแกรมพจนานุกรมสา หรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 
ส่วนของโปรแกรมบนโทรศัพท์มือถือ และส่วนเซิร์ฟเวอร์ 
โดยผู้ใช้สามารถคีย์หรือถ่ายภาพคา ศัพท์บนโทรศัพท์มือถือ แล้วส่งคา หรือภาพถ่ายนั้นผ่านเครือข่าย
ใบงานท   2-8 (1)
ใบงานท   2-8 (1)
ใบงานท   2-8 (1)
ใบงานท   2-8 (1)
ใบงานท   2-8 (1)
ใบงานท   2-8 (1)
ใบงานท   2-8 (1)

More Related Content

What's hot (14)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
ใบงานที่สอง
ใบงานที่สองใบงานที่สอง
ใบงานที่สอง
 
งานคอมนะ
งานคอมนะงานคอมนะ
งานคอมนะ
 
ใบงานคอมพ วเตอร 2-8
ใบงานคอมพ วเตอร  2-8 ใบงานคอมพ วเตอร  2-8
ใบงานคอมพ วเตอร 2-8
 
K2
K2K2
K2
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8
 

Similar to ใบงานท 2-8 (1)

ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8Pornthip Nabnain
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Kanjanaporn Thompat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bamm Thanwarat
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ !!!
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ !!!ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ !!!
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ !!!Amp'Amp Kankamols
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanjanaporn Thompat
 
โครงงานคอม 60435
โครงงานคอม 60435โครงงานคอม 60435
โครงงานคอม 60435Praw Vanitt
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanjanaporn Thompat
 
2 140820221102-phpapp02
2 140820221102-phpapp022 140820221102-phpapp02
2 140820221102-phpapp02James Kung
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1JorJames Satawat
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์dream051
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Mymi Santikunnukan
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมpaponteein
 

Similar to ใบงานท 2-8 (1) (20)

งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิม
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ !!!
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ !!!ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ !!!
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ !!!
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม 60435
โครงงานคอม 60435โครงงานคอม 60435
โครงงานคอม 60435
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2 140820221102-phpapp02
2 140820221102-phpapp022 140820221102-phpapp02
2 140820221102-phpapp02
 
K2
K2K2
K2
 
K2
K2K2
K2
 
K2
K2K2
K2
 
K2
K2K2
K2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1
 
K2jess
K2jessK2jess
K2jess
 
2
22
2
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 

More from Ratchasin Poomchor

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมRatchasin Poomchor
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์Ratchasin Poomchor
 
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและประวัติ
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและประวัติใบงานที่ 1 แบบสำรวจและประวัติ
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและประวัติRatchasin Poomchor
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติRatchasin Poomchor
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติRatchasin Poomchor
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติRatchasin Poomchor
 

More from Ratchasin Poomchor (14)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
สุขะ
สุขะสุขะ
สุขะ
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
คนิต
คนิตคนิต
คนิต
 
อังกฤษ
อังกฤษอังกฤษ
อังกฤษ
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
ภาษาไทย 2554
ภาษาไทย 2554ภาษาไทย 2554
ภาษาไทย 2554
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1 ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและประวัติ
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและประวัติใบงานที่ 1 แบบสำรวจและประวัติ
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและประวัติ
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
 

ใบงานท 2-8 (1)

  • 1. ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสา คัญของโครงงาน ความหมายและความสา คัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าของสังคม ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านนี้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงเป็นเรื่องยากที่ประชาชนจะคอยติดตามความก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นการศึกษาเทคโนโลยี ของคอมพิวเตอร์ จึงต้องศึกษาหลักการและเนื้อหาพื้นฐานเป็นสา คัญ การศึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งจา เป็นเสมือนกับการศึกษาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ คอมพิวเตอร์ได้เปลี่ยนแปลง โลกของเราในด้านต่างๆ มากมาย ได้แก่ 1. สังคมโดยส่วนใหญ่เปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมเป็นสังคมสารสนเทศ 2. การตัดสินใจในเรื่องต่างๆ มักขึ้นอยู่กับข้อมูลซึ่งได้จากระบบคอมพิวเตอร์ 3. คอมพิวเตอร์กลายเป็นเครื่องมือที่สา คัญแทนเครื่องมืออื่นๆในอดีต เช่น เครื่องพิมพ์ดีด เป็นต้น 4. คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการออกแบบสถานการณ์หรือปัญหาที่ซับซ้อนต่างๆ 5. คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในงานติดต่อสื่อสารของโลกปัจจุบัน การศึกษาด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีขึ้น เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในวิทยาการคอมพิวเตอร์ และมีความสามารถในการพัฒนาโปรแกรมได้ การจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์จะเป็นสิ่งที่ทา ให้ผู้เรียน สามารถบรรลุเป้าหมายนี้ได้อย่างสมบูรณ์ จุดมุ่งหมายที่สา คัญประการหนึ่งของการเรียน การสอน คอมพิวเตอร์ ในโรงเรียน คือ การที่ผู้เรียนได้มีโอกาสนา ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ด้วยตนเอง ซึ่งวิธีการที่มีประสิทธิภาพมากวิธีหนึ่งคือการทา โครงงานคอมพิว เตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่นๆ ในการศึกษา ทดลอง แก้ปัญหาต่างๆ เพื่อนาผลงานที่ได้มาประยุกต์ใช้งานจริง หรือเพื่อใช้ช่วยสร้างสื่อเสริมการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โครงงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะการใช้เครื่องค อมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ พร้อมทั้งเครื่องมือต่างๆในการแก้ปัญหา รวมทั้งการพัฒนาเจตคติในการสร้างผลงาน
  • 2. โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ผู้เรียนสามารถศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ ซึ่งอาจเป็นปัญหาที่ต้องใช้ความรู้ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มาผสมผสานกัน ซึ่งบางโครงงานอาจต้องใช้ความรู้อื่นๆ มาร่วมด้วย โดยผู้เรียนจะต้องวางแผนการดา เนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรมหรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน โครงงานบางเรื่องอาจต้องการวัสดุอุปกรณ์นอกเหนือจากที่มีอยู่ ซึ่งผู้เรียนจะต้องพัฒนาขึ้น หรือดัดแปลงเพื่อให้ใช้งานได้ตรงกับความต้องการ โดยในการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์จะอยู่ภายใต้การดูแลและให้คา ปรึกษาของผู้สอน และผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่างๆ การทา โครงงานและการจัดงานแสดงโครงงานคอมพิวเตอร์จะมีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้ผู้เรียนมีความรู้ ความชา นาญ และมีทักษะในการนา ระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ด้วยตนเองดังที่ได้กล่าวมาแล้ว และยังมีคุณค่าอื่นๆ อีกดังต่อไปนี้ · เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง · เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่ผู้เรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนในห้องตามปกติ ·ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน · กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจในการศึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้ · ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้เวลาให้เป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ · สร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น · สร้างสา นึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง ที่มา : http://kroosuveera.blogspot.com/2011/09/blog-post_13.html
  • 3. ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ มี 5 ประเภท ให้นักเรียนค้นหาขอบข่ายของโครงงานแต่ละประเภท เป็นข้อๆ (ค้นจากห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต) แล้วบันทึกลงกระดาษขนาด A4 ที่เตรียมมา พร้อมเขียน แหล่งที่มา หรือ Address ของ website ที่นักเรียนค้นหาข้อมูลเหล่านั้นด้วย ขอบข่ายของโครงงานแต่ละประเภท ดา เนินงานโดยนักเรียน เป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์ และครูอาจารย์ เป็นผู้ให้คา แนะนา ปรึกษา 1. เป็นกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติดัวยตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการทางทฤษฎีตามเนื้อหาโครงงานนั้นๆ หรือจากประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นมากแล้ว 2. นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทา โครงงานด้วยตนเอง หรือเป็นกลุ่มโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ เป็นภาคเรียน หรือมากว่าก็ได้ แล้วแต่โครงงานเล็กหรือใหญ่ 3. นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์ คัดเลือกโครงงานที่จะศึกษาค้นคว้าปฏิบัติด้วยตนเองตามความถนัด สนใจ และความพร้อม 4. นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงาน รายละเอียดของโครงงาน แผนปฏิบัติงานและการแปลผล รายงานผลต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อดา เนินงานร่วมกันให้บรรลุตามจุดหมายที่กา หนดไว้ 5. เป็นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักเรียนตามวัยและสติปัญญา รวมทั้งการใช้จ่ายเงินดา เนินงานด้วย
  • 4. โครงงานคอมพิวเตอร์ แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้งานดังนี้ - การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา - การพัฒนาเครื่องมือ - การทดลองทฤษฎี - การประยุกต์ใช้งาน - การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษาโดยการส ร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคา ถามคา ตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา อีกทั้งยังสามารถนา ไปประยุกต์ใช้ได้กับทุกกลุ่มสาระ เช่นวิชาวิทยาศาสตร์เรื่องวิวัฒนาการ เราอาจทา การออกแบบสื่อนี้ให้มีความน่าสนใจมีลูกเล่นแปลกใหม่ ทา ให้ผู้อ่านได้รับความรู้และง่ายต่อการจดจา มากยิ่งขึ้น
  • 5. 2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ เป็นโครงงานที่สร้างเครื่องมือ ใช้สร้างงาน ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ เป็นต้น การผลิตโครงงานประเภทนี้สามารถเพิ่มความสะดวกสบายในการสร้างผลงานที่จา เป็นต้องอาศัยความละเอี ยด สะดวก และรวดเร็วแม่นยา เช่นโปรแกรมสร้างรูปทรงหลายมิติที่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้กับวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ ซึ่งโปรแกรมนี้จะช่วยให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ผู้ใช้งานต้องกา หนดสเกลและรูปทรงที่ต้องการจากนั้นโปรแกรมก็จะประมวลผลและสร้างรูปทรงออกมา เป็นต้น
  • 6. 3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจา ลองการทดลองของสาขาต่าง ๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทา ต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจา ลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือคา อธิบาย พร้อมทั้งารจา ลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทา ให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทา โครงงานประเภทนี้มีจุดสา คัญอยู่ที่ผู้ทา ต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจา ลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจา วันอาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สา หรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและ วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนา ข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ซึ่งล้วนแล้วแต่มีประโยชน์ต่อการจัดการงานต่าง ๆ ในชีวิตประจา วันตามลักษณะของซอฟแวร์และการนา ไปใช้งาน
  • 7. 5. โครงงานพัฒนาเกม เพื่อความรู้ ความเพลิดเพลิน เช่นการสร้างเกมต่าง ๆ ที่จะทา ให้ผู้เล่นได้รับทั้งความรู้และความสนุกสนานจากเกม ไม่ว่าจะเป็นเกมทายศัพท์ เกมจับคู่ เกมฝึกสมองพัฒนาอีคิว ซึ่งเกมเหล่านี้ล้วนมาจากการประยุกต์ใช้ความรู้จากโครงงานหลายประเภท จนสามารถนา มาพัฒนาเป็นเกมซึ่งสร้างสรรค์ออกมาเพื่อให้ผู้เล่นได้รับทั้งความรู้และความสนุกสนานไปพ ร้อม ๆ กัน ที่มา http://toffykz.blogspot.com/2012/08/3.html ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
  • 8. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) เป็นโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวนและคา ถามคา ตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ Onlineให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทา ความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่าง เช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคา ถามคา ตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยะจักรวาล ตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชา กิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่สา คัญของประเทศไทย เป็นต้น
  • 9. เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษาโดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเ รียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคา ถามคา ตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยะจักรวาล หลักภาษาไทย และสถานที่สา คัญของประเทศไทย โครงงานเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์ วิถีชีวิตของคนไทยพวน โปรแกรม ดนตรีไทยแสนสนุก โปรแกรม ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต โปรแกรมสา นวนไทยพาสนุก โปรแกรมฝึกอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ โปรแกรมเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตัวอย่าง โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา 1. โปรแกรม ดนตรีไทยแสนสนุก ผู้พัฒนา นางสาว อัญชลี เตมีประเสริฐกิจ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ชนารัตน์ คา อ่อน สถานศึกษา โรงเรียนระยองวิทยาคม
  • 10. 2. โปรแกรม ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ผู้พัฒนา นาย เทพ รัตนเรืองจา รูญ และนายพงศกร พันธุ์พงษ์สิทธ์ิ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์สโรชา สายเนตร สถานศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอัสสัมชัญ 3. โปรแกรมสนุกไปกับตารางธาตุ ผู้พัฒนา เด็กหญิงวริศรา พรหมมณี และเด็กหญิงกมลวรรณ ทองงาน อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ทัศนีย์ ระลึกมูล สถานศึกษา โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จ.พิษณุโลก
  • 11. 4. โปรแกรมฝึกอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ ผู้พัฒนา เด็กหญิงวรรณรวัส ยินดีเดช อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ศรา หรูจิตตวิวัฒน์ สถานศึกษา โรงเรียนเซนต์ฟรังซิสซาเวียร์คอนแวนต์ กรุงเทพฯ 5.โปรแกรมสานวนไทยพาสนุก ผู้พัฒนา เด็กหญิงจิราพร แจ้งไพร และเด็กหญิงกนิษฐา สุริเมือง อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์วิรุบล จันตา สถานศึกษา โรงเรียนภัทรวิทยา จ.ตาก ที่มาhttp://oumsunipharuamsap.blogspot.com/2012/09/4-httpwww.html
  • 12. ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ” โครงงานพัฒนาเครื่องมือ โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือช่วย สร้างงานประยุกต์ต่างๆ โดยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ เป็นต้น สา หรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลคา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนซอฟต์แวร์การวาดรูป พัฒนาขึ้นเพื่ออา นวยความสะดวกให้การวาดรูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นไปได้ โดยง่าย สา หรับซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ ใช้สา หรับช่วยการออกแบบสิ่งของ อาทิเช่น ผู้ใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูว่าด้านบนและด้านข้างเป็นอย่างไร ก็ให้ซอฟต์แวร์คา นวณค่าและภาพที่ควรจะเป็นมาให้ เพื่อพิจารณาและแก้ไขภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวก ตัวอย่างโครงงาน 1. โปรแกรมการค้นหาคา ภาษาไทย 2. โปรแกรมอ่านอักษรไทย 3. โปรแกรมวาดภาพสามมิติ 4. โปรแกรมเข้าและถอดรหัสข้อมูล 5. โปรแกรมบีบอัดข้อมูล 6. โปรแกรมประมวลผลคา ไทยบนระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ 7. โปรแกรมการออกแบบผังงาน 8. พอร์ตแบบขนานของไทย 9. การส่งสัญญาณควบคุมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ http://kruoong.blogspot.com/2011/07/blog-post_25.html
  • 13. ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี” “โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี” เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจา ลองการทดลองของสาขาต่าง ๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทา ต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจา ลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือคา อธิบาย พร้อมทั้งารจา ลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทา ให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทา โครงงานประเภทนี้มีจุดสา คัญอยู่ที่ผู้ทา ต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจา ลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น ขั้นตอนการทา โครงงาน การทา โครงงานมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้ ๒.๑ การคิดและการเลือกหัวเรื่อง ผู้เรียนจะต้องคิด และเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วยตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทา ไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คา ถามหรือความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้วควรเข้าใจและรู้เรื่องว่าโครงงานนี้ทา จากอะไร การกา หนดหัวเรื่องของโครงงานนั้นมีแหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและความสนใจหลายแหล่งด้วย กัน เช่น จากการอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชมนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคคลต่างๆ หรือจาการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ ควรคา นึงถึงประเด็นต่อไปนี้ - ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน - วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ - งบประมาณ - ระยะเวลา
  • 14. - ความปลอดภัย - แหล่งความรู้ ๒.๒ การวางแผน การวางแผนการทา โครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซึ่งต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดา เนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนา เสนอต่อผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดา เนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และขั้นตอนการทา โครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ ๑) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายได้ตรง ๒) ชื่อผู้ทา โครงงาน ๓) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน ๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทา โครงงานเรื่องนี้ มีความสา คัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทา เป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทา ได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทา ไว้อย่างไร หรือเป็นการทา ซ้า เพื่อตรวจสอบผล ๕) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได้ เป็นการบอกขอบเขตของงานที่จะทา ได้ชัดเจนขึ้น ๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคา ตอบหรือคา อธิบายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และที่สา คัญ คือ เป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางในการดา เนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย ๗) วิธีดา เนินงานและขั้นตอนการดา เนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะออกแบบการทดลองอะไรอย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้างรวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จา เป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง ๘) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกา หนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการดา เนินงานในแต่ละขั้นตอน ๙) ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑๐) เอกสารอ้างอิง
  • 15. ๒.๓ การดา เนินงาน เมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็นขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทา ตามแผนงานที่วางไว้ เตรียมวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ให้พร้อมปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คา นึงถึงความประหยัดและปลอดภัยในการทา งาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทา อะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้เป็นระเบียบและครบถ้วน ๒.๔ การเขียนรายงาน การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งที่จะให้ผู้อื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด วิธีการดา เนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เกี่ยวกับโครงงานนั้น การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็นสา คัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน ๒.๕ การนาเสนอผลงาน การนา เสนอผลงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทา โครงงานและเข้าใจถึงผลงานนั้น การนา เสนอผลงานอาจทา ได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ระดับของผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์จา ลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซึ่งอาจมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายด้วยคา พูด หรือการรายงานปากเปล่า การบรรยาย สิ่งสา คัญคือ พยายามทา ให้การแสดงผลงานนั้นดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความถูกต้องของเนื้อหา
  • 16. ๓. การเขียนรายงานโครงงาน การเขียนรายงานโครงงานเป็นรูปแบบหนึ่งของการนา เสนอผลงานของโครงงานที่ผู้เรียนได้ศึกษาค้ นคว้าตั้งแต่ต้นจนจบ การกา หนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกันทุกโครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับประเภทของโครงงานและระดับชั้นของผู้เรียน องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๑. ส่วนปกและส่วนต้น ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย ๑) ชื่อโครงงาน ๒) ชื่อผู้ทา โครงงาน ชั้น โรงเรียน และวันเดือนปีที่จัดทา ๓) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ๔) คา นา ๕) สารบัญ ๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี) ๗) บทคัดย่อสั้นๆ ที่บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา ระยะเวลา และ สรุปผล ๘) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือหรือมีส่วนเกี่ยวข้อง ๒. ส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย ๑) บทนา บอกความเป็นมา ความสา คัญของโครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจในการเลือกหัวข้อโครงงาน ๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน ๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า ๔) การดา เนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การดา เนินงานเป็นไปตามหัวข้อเรื่อง ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน และพิสูจน์คา ตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นที่กา หนด ดังตัวอย่างการเขียนแผนผังโครงงานต่อไปนี้
  • 17. ในแผนผังโครงงานทา ให้เห็นระบบการทา งานอย่างมีเป้าหมาย มีการวางแผนการทา งาน จะเห็นได้ว่าสิ่งที่ต้องการทราบ คือ หัวข้อย่อย หรือคา ถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ ก็จะเรียงลา ดับทีละหัวข้อ พร้อมทั้งบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่งศึกษาค้นคว้าตามแผนผังให้ครบทุกข้อ สิ่งที่ต้องการทราบ สมมติฐาน วิธีการศึกษา แหล่งศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจากหัวข้อเรื่องของโครงงานที่ต้องการหาคา ตอบ การตอบคา ถามล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาโดยการดู-ฟัง จากสื่อชนิดต่างๆ - เอกสาร หนังสือ - สถานที่ บุคคล ๕) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคา ตอบที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อย่อยที่ต้องการทราบ ว่าเป็นไปตามสมมติฐานหรือไม่ ๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานที่ได้ และบอกข้อจา กัดหรือปัญหา อุปสรรค (ถ้ามี) พร้อมทั้งบอกข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะใกล้เคียงกัน ๓. ส่วนท้าย ส่วนท้าย ประกอบด้วย ๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ ตา รา บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมต่างกัน เช่น หนังสือ ชื่อ นามสกุล. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์ บทความในวารสาร ชื่อผู้เขียน "ชื่อบทความ," ชื่อวารสาร. ปีที่หรือเล่มที่ : หน้า ;วัน เดือน ปี. คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ์์ชื่อผู้เขียน "ชื่อคอลัมน์ : ชื่อเรื่องในคอลัมน์" ชื่อหนังสือพิมพ์.วัน เดือน ปี. หน้า. ๒) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสัมภาษณ์ ในการทา โครงงานประเภททดลอง ต้องมีการจัดการกับตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลอง ซึ่งจะมี 4 ชนิด คือ • ตวัแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ หมายถึง เหตุของการทดลองนั้นๆ • ตัวแปรตาม ซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงตัวแปรต้น • ตัวแปรควบคุม หมายถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนๆกัน มิฉะนั้นจะมีผลทา ให้ตัวแปรตามเปลี่ยนไป • ตัวแปรแทรกซ้อน ซึ่งจริงๆแล้วก็คือ ตัวแปรควบคุมนั่นเอง แต่บางครั้งเราจะควบคุมไม่ได้ ซึ่งจะมีผลแทรกซ้อน ทา ให้ผลการทดลองผิดไป แต่แก้ไขได้โดยการตัดข้อมูลที่ผิดพลาดทิ้งไป ตัวอย่างเช่น นักเรียนต้องการศึกษาว่า กระดาษชนิดใดสามารถพับเครื่องร่อน และปาได้ไกลที่สุด ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ชนิดของกระดาษ ตัวแปรตาม คือ ระยะทางที่กระดาษเคลื่อนที่ได้ ตัวแปรควบคุม คือ แรงที่ใช้ปากระดาษ ความสูงของระยะที่ใช้ปา ตัวแปรแทรกซ้อน เช่น บางครั้งขณะปามีลมพัดเข้ามา ซึ่งจะทา ให้ข้อมูลผิดพลาดได้
  • 18. โครงงานประเภทการทดลอง เหมาะสาหรับนักเรียนที่ศึกษาในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เช่น ครูต้องการสอนให้นักเรียนทราบว่า ในพืชชนิดใดมีวิตามินซีมากหรือน้อยอย่างไร แทนที่ครูจะบอกความรู้แก่นักเรียน ครูก็จะสอนโดยให้นักเรียนทา เป็นโครงงาน โดยให้สา รวจปริมาณวิตามินซีในพืชผักผลไม้ท้องถิ่น เป็นต้น แต่ก็นาไปใช้ในรายวิชาอื่นๆ ได้เช่นกัน เช่น วิชาพลศึกษา ครูจะสอนวิธีตีปิงปองแก่นักเรียนโดยวิธีโครงงานพลศึกษา ครูอาจจะสอนโดยการให้นักเรียนทา การศึกษาวิธีตีปิงปองหลายๆ แบบด้วยกัน โดยมี ตัวแปรต้น คือ วิธีการตี (นักเรียนอาจเพิ่มเติมวิธีตีได้อีกหลายๆแบบ) ตัวแปรตาม คือ ผลที่เกิดจากการตี เช่น ระยะทางที่ลูกปิงปองเคลื่อนที่ได้ เมื่อนักเรียนทา โครงงานนี้เสร็จ นักเรียนก็จะสามารถทราบวิธีการตีปิงปองที่ดีที่สุดสา หรับนักเรียนคนนั้นๆ วิชาการงานพื้นฐานอาชีพ นักเรียนอาจทา โครงงานเกี่ยวกับการเพาะเห็ดฟางโดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง วัสดุที่ใช้เพาะเห็ดว่าวัสดุชนิดใดเพาะเห็ดได้ดีที่สุด โดยมี ตัวแปรต้น คือ วัสดุที่ใช้เพาะเห็ดฟาง ตัวแปรตาม คือ ปริมาณเห็ดที่ได้ จะทา ให้นักเรียนได้ทราบว่าวัสดุในท้องถิ่นของนักเรียนชนิดใดเพาะเห็ดได้ดีที่สุด วิชาภาษาไทย ครูอาจให้นักเรียนทา โครงงานเกี่ยวกับวิธีการอ่าน โดยศึกษาเปรียบเทียบการอ่านออกเสียงว่าวิธีใดจะสามารถทา ให้ผู้อ่านจา ได้ดีกว่ากัน โดยมี ตัวแปรต้น คือ การอ่านในใจและการอ่านออกเสียง ตัวแปรตาม คือ ความจา ของนักเรียน นักเรียนจะได้ทราบวิธีการอ่านและทราบอื่นๆ อีกมาก ตัวอย่างของโครงงาน เลขทะเบียน คง 2543 ต002 โรงเรียน โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อา เภอเมือง นครสวรรค์ 2543 เกียรติบัตร ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลที่ 2 กา หนดหัวข้อ ภาคเหนือตอนล่าง ชื่อเรื่อง A MAGIC SWITCH จา นวนหน้า 23 หน้า ภาพประกอบ สาระสังเขป โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสวิทซ์ไฟฟ้าที่สามารถเปิดปิดไฟได้โดยอัตโนมัติ
  • 19. เมื่อไม่มีคนอยู่ อุปกรณ์ที่ใช้ได้แก่ เครื่องวัดระดับเสียง วงจรสวิทซ์แสง วิธีดา เนินการทดลองคือ ทา การวัดระดับความดังของเสียงในขณะที่มีคนอยู่ในห้องและไม่มีคนอยู่ บันทึกไว้ต่อมาเปรียบเทียบแรงไฟและแสงสว่างระหว่างเวลากลางวันและกลางคืน ทา การบันทึก แล้วนา ความแตกต่างของเสียงและแสงสว่างที่วัดได้ไปตั้งค่ากับเครื่องมือ เชื่อมต่อกับปลั๊กไฟฟ้าที่ทา การจ่ายกระแสไฟให้กับหลอดไฟ จากผลการทดลองพบว่า เครื่องมือดังกล่าวสามารถทา งานได้ดี คือเมื่อห้องว่างไม่มีนักเรียนอยู่ในห้อง เครื่องมือจะทา การดับไฟ และไม่มีเสียงดังเกินค่าที่ตั้งไว้ เครื่องมือก็จะทา การปิดไฟได้อย่างถูกต้อง โดยอาจมีความผิดพลาดบ้างเมื่อมีเสียงออดระหว่างคาบเรียน หัวเรื่อง สวิทซ์ ไฟฟ้า เลขทะเบี ยน คง 2542 ต041 โรงเรียน โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อา เภอเมือง นครสวรรค์ 2542 เกียรติบัต ร ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลที่ 1 กา หนดหัวข้อ ภาคเหนือตอนล่าง ชื่อเรื่อง MOTER SPRAYER IV จา นวนห 31 หน้า ภาพประกอบ น้า สาระสังเ ขป โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการลดการใช้แรงงานและเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องมือใน การทา การเกษตร อุปกรณ์ที่ใช้ทา การทดลอง ได้แก่ Motor Sprayer IV ซึ่งเป็นเครื่องมือทา สเปรย์ที่ใช้ในการพ่นสารเคมี หรือสารสกัดจากพืชเพื่อกา จัดแมลงศัตรูพืช ให้ปุ๋ย ฮอร์โมน ซึ่งประดิษฐ์ขึ้นจากการพัฒนามาจาก Motor Sprayer 3 ซึ่ง Motor Sprayer 3 ต้องใช้แบตเตอรี่ขนาด 6 โวลต์ ทา ให้เกษตรกรต้องแบกเป็นเวลานานและไม่สะดวกต่อการใช้งาน เมื่อMotor ส่วนท้ายชา รุดจะมีผลทา ให้ Motor หมุนช้าลงและละอองน้า ยาที่ฉีดพ่นกระจายตัวไม่ สม่า เสมอ จึงได้มีการปรับปรุง โดยการเพิ่มประสิทธิภาพ Motor ให้ใช้ไฟเลี้ยงแรงดันไฟเพียง 4.8 โวลต์ เปลี่ยนแม่เหล็กเป็นแบบความเข้มข้นของสนามแม่เหล็กสูง เพื่อลดการใช้พลังงานพลังงานไฟฟ้า
  • 20. เปลี่ยนแกนหมุนเป็นแบบลูกปืน เพื่อลดการเสียดทาน ลดอัตราการไหลของน้า ยาลงทา ให้ปริมาณยาฉีดพ่นและเพิ่มประสิทธิการกระจายตัวของยาที่ฉีด พ่น ลดขนาดถังน้า ยาและใช้แบตเตอรี่เลียนแบบถ่านนิเกิล แคดเมียม สรุปแล้วพบว่าเครื่อง Motor Sprayer 4 ที่ทา การปรับปรุงนี้สามารถใช้งานได้ดีมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่ารุ่นก่อนเป็นอย่างมาก หัวเรื่อง มอเตอร์ sprayer เลขทะเบี ยน คง 2549 ป057 โรงเรียน โรงเรียนอัสสัมชัญลา ปาง จังหวัดลา ปาง 2549 เกียรติบัต ร ม.ปลาย ชนะการประกวดรางวัลชมเชย สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาคเหนือตอนบน ชื่อเรื่อง VISUALIZER (เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง) จา นวนห 19 หน้า ภาพประกอบ น้า สาระสังเ ขป โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง VISUALIZER (เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง) จัดทา ขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการนา หลักการทางด้านวิทยาศาสตร์เรื่องแสงตกกระทบวัตถุ แสงจะสะท้อนวัตถุออกมา เพื่อเป็นการผลิตเครื่องมือและอุปกรณ์การเรียนการสอนในชั้นเรียน ซึ่งขั้นตอนการทา ก็เริ่มจากดา เนินการศึกษาจากอุปกรณ์จริง คือ เครื่อง VISUALIZER ในห้องปฏิบัติการว่ามีคุณสมบัติ และวิธีการทา งานอย่างไร ผลที่ได้คือ หลักการสะท้อนของแสง เมื่อมีแสงมาตกกระทบวัตถุ แสงจะสะท้อนวัตถุนั้นและเกิดภาพหรือลักษณะของวัตถุนั้นออกมา ในลักษณะของการสมมาตรคือ การตกกระทบเท่ากับการสะท้อน และถ้าเรานาฉากไปรับสามารถเกิดภาพได้ จึงนาหลักการดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ และเราได้ใช้เลนส์นูนร่วมกับการประดิษฐ์เนื่องจากมีคุณสมบัติรวมแสง แต่ภาพที่เกิดภาพหัวกลับ เราจึงใช้กระจกเงาราบแผ่นหนึ่งสะท้อนไปยังฉากเพื่อให้ได้ภาพหัวตั้ง จากการนา โครงงานทา ให้เราสามารถผลิตสื่ออุปกรณ์ ที่เกิดจากวัสดุที่ราคาไม่แพงและมีคุณสมบัติที่สามารถใช้ได้เช่นเดียวกับอุปกรณ์ที่ทางคณะผู้จัด ทา ต้องการศึกษา และได้ทา การทดลองใช้งานพร้อมกับทา การทดลองหาความชัด โดยพบว่าถ้าเราใช้แสงไฟที่เข้มเพียงพอ
  • 21. และขนาดเลนส์ที่ใหญ่เราก็จะสามารถฉายภาพที่ขนาดใหญ่ได้แล้วภาพที่ได้ก็จะชัดเจนมากกว่าก ารใช้ความเข้มแสงน้อย และเลนส์ขนาดเล็ก นอกจากนี้เราต้องอาศัยปัจจัยภายนอกเข้ามาช่วยด้วย คือ ความสว่างของบริเวณภายในห้องที่เราใช้ต้องมีน้อย นั้นคือความสามารถเกิดภาพที่ชัดเจนได้ในที่มืด เพราะฉะนั้นการผลิตเครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง (VISUALIZER)นี้ก็เป็นการที่สามารถทา ให้เกิดแนวทางในการนา ไปพัฒนาในต่อๆ ไปมากขึ้น หัวเรื่อง เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง VIisualizer เลขทะเ บียน คง 2545 ต064 โรงเรีย น โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 2545 เกียรติบั ตร ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลชมเชย สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ภาคเหนือตอนบน ชื่อเรื่อง Wallpaper จากเศษวัสดุธรรมชาติช่วยลดความร้อนภายในบ้าน จา นวน 22 หน้า : ภาพประกอบ หน้า สาระสั งเขป ทางคณะผู้จัดทา ได้แนวคิดที่จะลดขยะโดยนา มาทา เป็นกระดาษบุผนังหรือ Wallpaper ซึ่งสามารถ ดูดความร้อนได้ จึงแบ่งการทดลองออกเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 นา ชานอ้อยมาทา Wallpaper ขั้นแรกเติมโซดาไฟเพื่อให้ชานอ้อยนิ่ม นา ไปต้มเพื่อให้แยกออกเป็นเส้นๆ หลังจากนั้นบดให้ละเอียด และนา เยื่อของชานอ้อยที่ได้ไปตากแห้งให้เป็นแผ่น และทาแชลแลคในขั้นตอนสุดท้าย เพื่อความแข็งทนทานและเป็นมันวาว ตอนที่ 2 ทา บ้านจา ลองโดยใช้กล่อง 2 ใบซึ่งมีขนาดและความหนาเท่ากัน และติด Wallpaperจากชานอ้อย หนึ่งใบ วัดอุณหภูมิของกล่องทั้งสองใบ จากการทดลองตอนที่ 1 พบว่า เยื่อของชานอ้อยสามารถเกาะติดกันเป็นแผ่นเดียวกัน แต่ไม่สวยสมบูรณ์มากนักเนื่องจากการทดลองครั้งนี้ทา เพื่อให้เห็นถึงการยึดเกาะของเยื่อจากชานอ้ อย แต่ไม่ได้พิถีพิถันตกแต่งให้เกิดความสวยงาม และตอนที่ 2 พบว่า กล่องที่ติดWallpaper จากชานอ้อยจะมีอุณหภูมิต่า กว่ากล่องที่ไม่ติด Wallpaper สรุปได้ว่าเยื่อของช านอ้อยมีคุณสมบัติในการดูดความร้อนได้จริง หัวเรื่อง การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์
  • 22. ชานอ้อย เลขทะเบียน คง 2546 ป106 โรงเรียน โรงเรียนนิยมศิลป์อนุสรณ์ จ.เพชรบูรณ์ 2546 เกียรติบัตร ม.ปลาย ชนะการประกวดรางวัลที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาคเหนือตอนล่าง ชื่อเรื่อง My Injet จา นวนหน้า 32 หน้า : ภาพประกอบ สาระสังเขป ศึกการนา ส่วนต่างๆของพืชที่ให้สีต่างกัน มาผสมตามหลักทฤษฎีสีเพื่อให้เกิดสีดา โดยทดลองเปรียบเทียบวิธีสกัดสีจากพืช พบว่าวิธีที่เหมาะสมที่สุดคือการสกัดด้วยเมธานอล จากนั้นสกัดสีจากส่วนต่างๆของพืช โดยสีแดงสกัดได้จากใบประดับเฟื่องฟ้า สีเหลืองได้จากขมิ้น และสีน้า เงินได้จากดอกอัญชัน นา น้า สีที่สกัดได้ไปอบด้วยความร้อน 60 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง เพื่อให้ได้ตัวสีที่เข้มข้น จากนั้นนา ตัวสีแต่ละสีมา 0.5 กรัม นา แต่ละสีไปผสมน้า อย่างละ 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในอัตราส่วนระหว่าง สีแดง : สีเหลือง : สีน้า เงิน เท่ากับ 3 : 1 : 4จะได้สีดา ที่สุดแล้วนา ไปอบด้วยความร้อน 60 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง เมื่อได้สารสีดา ที่เข้มข้นแล้วนา ไปผสมเอทานอล 50% ที่อัตราส่วนคือ หมึก 1 กรัม : เอทานอล 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร จากนั้นเติมน้า ยาล้างจาน 0.1 ลูกบาศก์เซนติเมตร เพื่อลดแรงตึงผิว แล้วนา ไปปั่นให้ตกตะกอน 3 ครั้ง นา หมึกบรรจุในคาร์ทริดจ์แล้วสั่งพิมพ์ พบว่าสามารถพิมพ์ได้แต่สีดา ยังดา ไม่สนิท เนื่องจากเป็นสีจากธรรมชาติจึงไม่เข้มเหมือนกับหมึกสังเคราะห์ หัวเรื่อง หมึกพิมพ์ ที่มา http://toffykz.blogspot.com/2012/08/6.html ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน” โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจา วัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สา หรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและ วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนา ข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ
  • 23. ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทา งานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างโครงงาน 1 ชื่อโครงงาน การศึกษา Computer Generated Hologram และ การประยุกต์ใช้งานอย่างง่าย ชื่อผู้ทา โครงงาน นายไพโรจน์ ศิรินามารัตนะ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ศ.ดร.สมศักด์ิ ปัญญาแก้ว สถาบันการศึกษา นิสิตระดับปริญญาตรีปีที่ 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา โครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ การถ่ายภาพ hologram ด้วยแสงเลเซอร์ (Laser hologram) คือ การบันทึกรูปแบบการแทรกสอด (Interference pattern) ของแสง 2 ขบวน คือ แสงที่มาจากวัตถุ (Object beam) กับ แสงอ้างอิง (Reference beam) ลงบนrecording medium โดยการฉายแสงอ้างอิง ที่ตา แหน่งเดิมกับ recording medium อีกครั้งหนึ่ง ก็จะสามารถเห็นภาพวัตถุเป็นแบบ 3 มิติได้ จากการศึกษาการเกิดภาพ 3 มิติ ด้วยวิธีข้างต้น เกิดจากการที่แสงอ้างอิงผ่าน recording medium โดยอาศัยหลักการแทรกสอดและเลี้ยวเบนของแสง เมื่อเรารู้ว่าแสงอ้างอิงมีลักษณะอย่างไร และเราต้องการวัตถุ 3 มิติแบบไหน เราก็จะจะสามารถคา นวณรูปแบบการแทรกสอดบน recording medium,นั้นได้ จากนั้นก็สามารถสร้างรูปแบบการแทรกสอดที่เราคา นวณได้ด้วยวิธี Laser writing หรือ electron Lithography เป็นต้น ซึ่ง hologram ที่ได้นี้ถูกเรียกว่า Computer Generated Hologram (CGH) การประยุกต์ใช้งาน CGH ที่เห็นได้ชัดก็เช่น การสร้างภาพ 3D holographic Television ซึ่งการคา นวณ Interference pattern และการ lithography เพื่อให้ได้ภาพ 3D ที่ชัดเจนเป็นสิ่งที่ทา ยากส่วนที่ง่ายลงมาก็คือการใช้ CGH ใน การบังคับลา แสงให้เป็นรูปแบบต่างๆ โดยอาจทา เป็น Lens รวมแสง,กระจายแสงให้เป็นรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม ซึ่งสามารถนา ประยุกต์ใช้งานเป็น Holographic transmitterใน Optical Wireless LANS System หรือการทา Holographic Solar Concentrator เป็นต้น ตัวอย่างโครงงาน 2 ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อผู้ทา โครงงาน นายสรรเสริญ ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักด์ิ แซ่จึง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อสุข สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา
  • 24. คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา โครงงาน 1/1/2551 บทคัดย่อ การ ประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า(Shopping Helper using Barcode with Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงรายละเอียดของสินค้าและค่าใช้จ่ายใน การเลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง โดยการพัฒนาระบบใหม่ซึ่งประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเดิมสินค้ามีการระบุข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า จา นวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุข้อมูลได้มากขึ้น และนา มาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่านบาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อให้สามารถบอกรายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของสินค้าทั้งหมดที่เลือกให้อยู่ในงบประมาณที่ตั้งไว้ ระบบจะทา การแจ้งเตือน เมื่อผู้บริโภคใช้จ่ายสินค้าเกินงบประมาณที่กา หนด ซึ่งระบบจะมีการนา ข้อมูลชนิดสินค้า รายละเอียดสินค้า ราคาสินค้า จากฐานข้อมูล และผู้บริโภคสามารถนา รายละเอียดของสินค้ามาเปรียบเทียบกันได้ โดยระบบนี้จะแบ่งการทา งานออกเป็นส่วน ๆ คือระบบการสร้างรหัสบาร์โค้ดจากข้อมูลรายละเอียดของสินค้าของผู้ให้บริการ และระบบการให้บริการโดยแสดงรายละเอียดสินค้า การเลือกซื้อสินค้าบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ แจ้งเตือนงบประมาณที่เกินกาหนด ยกเลิกสินค้าที่ไม่ต้องการ และระบบจะตรวจสอบการรวมราคาของสินค้านั้นก่อนที่จะไปชา ระค่าสินค้า เพื่อให้ผู้บริโภคทราบราคารวมของสินค้านั้นตรงกับราคาที่ต้องชา ระจริง ซึ่งจะอา นวยความสะดวกในการจัดสรรเลือกซื้อสินค้าตามงบประมาณของผู้บริโภคได้ ตัวอย่างโครงงาน 3 ชื่อโครงงาน การ ประยุกต์ใช้แบบรูปการเคลื่อนที่ของดาวเปราะในแบบรูปการเคลื่อนที่ของหุ่น ยนต์ The Application of Brittle Star Locomotion Patterns for Robotic Locomotion โปรแกรมเพื่อประยุกต์การใช้งาน (นักเรียน) ชื่อผู้ทา โครงงาน นางสาวสุพิชญา สุจริยากุล , นายพิลิปดา เหลืองประเสริฐ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.สโรช ไทรเมฆ สถาบันการศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ระดับชั้น มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา โครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม นี้ เขียนขึ้นเพื่อใช้ในการศึกษาการเคลื่อนที่ หรือการเคลื่อนไหวของวัตถุที่เราสนใจ (ซึ่งในที่นี้เน้นเรื่องหุ่นยนต์) โดยรับข้อมูลจากภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกจากกล้องที่อยู่นิ่ง มาวิเคราะห์ถึงข้อมูลต่างๆ อันได้แก่ ตา แหน่ง
  • 25. ตา แหน่งของส่วนต่างๆ ความเร็ว การหมุน ซึ่งในขณะนี้โปรแกรมกา ลังถูกพัฒนาให้สามารถทา งานได้ตามดังที่กล่าวไว้ข้าง ต้น โดยในขณะนี้สามารถตรวจจับความเปลี่ยนแปลงของภาพได้ แต่ยังไม่สามารถระบุตา แหน่งที่ชัดเจนได้ เนื่องจากสิ่งที่เราสนใจไม่จา เป็นจะมีลักษณะเป็นก้อน อาจมีส่วนแขนยื่นออกมา และมีมากกว่า 1 ส่วนที่กา ลังเคลื่อนที่ เช่น ส่วนหนึ่งเคลื่อนไปด้านหน้า อีกส่วนหนึ่งเคลื่อนไปด้านหลัง เป็นต้น This software is a work developed for study the movement of object by input video file from a standing video recorder. It will work by analyze position, coordinating system, velocity and rotation. We have developed this program until this program can detect the different in 2 or more images. But it is not totally work for detect a right position, because an object may have some part move freely from others, for example, some moves forward while the other moves backward. ตัวอย่างโครงงาน 4 ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อผู้ทา โครงงาน นายสรรเสริญ ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักด์ิ แซ่จึง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อสุข สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา โครงงาน 1/1/2551 บทคัดย่อ การ ประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า(Shopping Helper using Barcode with Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงรายละเอียดของสินค้าและค่าใช้จ่ายใน การเลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง โดยการพัฒนาระบบใหม่ซึ่งประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเดิมสินค้ามีการระบุข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า จา นวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุข้อมูลได้มากขึ้น และนา มาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า
  • 26. จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่านบาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อให้สามารถบอกรายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของสินค้าทั้งหมดที่เลือกให้อยู่ในงบประมาณที่ตั้งไว้ ระบบจะทา การแจ้งเตือน เมื่อผู้บริโภคใช้จ่ายสินค้าเกินงบประมาณที่กา หนด ซึ่งระบบจะมีการนา ข้อมูลชนิดสินค้า รายละเอียดสินค้า ราคาสินค้า จากฐานข้อมูล และผู้บริโภคสามารถนา รายละเอียดของสินค้ามาเปรียบเทียบกันได้ โดยระบบนี้จะแบ่งการทา งานออกเป็นส่วน ๆ คือระบบการสร้างรหัสบาร์โค้ดจากข้อมูลรายละเอียดของสินค้าของผู้ให้บริการ และระบบการให้บริการโดยแสดงรายละเอียดสินค้า การเลือกซื้อสินค้าบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ แจ้งเตือนงบประมาณที่เกินกาหนด ยกเลิกสินค้าที่ไม่ต้องการ และระบบจะตรวจสอบการรวมราคาของสินค้านั้นก่อนที่จะไปชา ระค่าสินค้า เพื่อให้ผู้บริโภคทราบราคารวมของสินค้านั้นตรงกับราคาที่ต้องชา ระจริง ซึ่งจะอา นวยความสะดวกในการจัดสรรเลือกซื้อสินค้าตามงบประมาณของผู้บริโภคได้ ตัวอย่างโครงงาน 5 ชื่อโครงงาน โปรแกรมประยุกต์พจนานุกรมสา หรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประเภท Mobile Application ชื่อผู้ทา โครงงาน นาย วรพงศ์ โรจน์เรืองมาศ , นางสาว ศุภิสรา จันทราภิสิทธ์ิ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. รัชลิดา ลิปิกรณ์ สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา โครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม พจนานุกรมสา หรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพนี้ ได้ถูกพัฒนามาจากโปรแกรมแบบเดิมที่ผู้ใช้ต้องพิมพ์คา ศัพท์โดยกดปุ่มตัวเลข เพื่อหาความหมาย เพื่อให้ผู้ใช้สะดวกสบายในการใช้งานเพียงแค่ถ่ายภาพคา ศัพท์ที่ต้องการ รวมถึงระบบการใช้งานที่เข้าใจง่าย และสามารถใช้งานได้จากที่ใดก็ได้ ทั้งนี้ยังคงมีรูปแบบการพิมพ์คา ศัพท์แบบเดิมอยู่ โปรแกรมพจนานุกรมสา หรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนของโปรแกรมบนโทรศัพท์มือถือ และส่วนเซิร์ฟเวอร์ โดยผู้ใช้สามารถคีย์หรือถ่ายภาพคา ศัพท์บนโทรศัพท์มือถือ แล้วส่งคา หรือภาพถ่ายนั้นผ่านเครือข่าย