SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
บทที่ 3 
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
3.2 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 
องค์ประกอบพื้นฐาน 5 หน่วย
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 
คอมพิวเตอร์ (computer) เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์และ 
ไอซี (Integrated Circuit : IC) ต่างๆ มากมาย ซึ่งสามารถจดจา ประมวลผลข้อมูล 
เปรียบเทียบ ตัดสินใจทางตรรกศาสตร์คา นวณทางคณิตศาสตร์ สามารถใช้ช่วยในการ 
ออกแบบและสร้างงานกราฟิกได้ 
คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐาน 5 หน่วย ได้แก่ 
- หน่วยรับเข้า (input unit) 
- หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) 
- หน่วยความจา (memory unit) หน่วยส่งออก (output unit) 
- หน่วยเก็บข้อมูล (storage unit) 
แต่ละหน่วยทา หน้าที่ประสานกันด้ อีกทั้งยังตอบสนองความต้องการด้านอื่นๆ 
ได้อย่างหลากหลาย
3.2 หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 
3.2.1 ซีพียู และการประมวลผลข้อมูล
ซีพียู(Central Processing Unit : CPU) 
มีลักษณะเป็นชิป (chip) ที่ติดตั้งอยู่ 
บนเมนบอร์ดภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่ง 
ชิปดังกล่าวเป็นสารกึ่งตัวนาขนาดเล็ก 
ภายในบรรจุวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ไว้ 
มากมาย 
โ ด ย ว ง จ ร จ ะ ป ร ะ ก อ บ ด้ว ย 
ทรานซิสเตอร์ขนาดเล็กเป็นจานวนมาก 
บางครั้งจึงเรียก ชิปต่างๆ ว่า ไอซี 
รูป ตัวอย่างของซีพียู
ซีพียู(Central Processing Unit : CPU) 
ในอดีตซีพียูจะมีขนาดใหญ่ แต่ใน 
ปัจจุบันเมื่อนา สารกึ่งตัวนา มาใช้ก็ทา ให้ 
ซีพียูถูกพัฒนาให้มีขนาดเล็กลง โดยรวม 
วงจรต่างๆ ไว้ในชิปเพียงตัวเดียวเรียกว่า 
ไมโครโพรเซสเซอร์ (microprocessor) ซึ่ง 
กล่าวได้ว่าคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีไมโคร 
โพรเซสเซอร์เป็นซีพียู ภายในไมโคร 
โพรเซสเซอร์ประกอบด้วยส่วนประกอบที่ 
สาคัญสองส่วนคือ หน่วยควบคุม และ 
หน่วยคา นวณตรรกะ หรือที่เรียกสั้นๆว่า เอ 
แอลยู
วงรอบการทางานของคาสั่ง (machine cycle) 
วงรอบของการทา คา สั่งของซีพียูประกอบด้วยขั้นตอนการทา งานพื้นฐาน 4 ขั้น 
1. ขั้นตอนการรับเข้าข้อมูล (fetch) เริ่มแรกหน่วยควบคุมรับรหัสคา สั่งและ 
ข้อมูลที่จะประมวลผลจากหน่วยความจา 
2. ขั้นตอนการถอดรหัส (decode) เมื่อรหัสคา สั่งเข้ามาอยู่ในซีพียูแล้ว หน่วย 
ควบคุมจะถอดรหัสคา สั่งแล้วส่งคา สั่งและข้อมูลไปยังหน่วยคา นวณและ 
ตรรกะ 
3. ขั้นตอนการทา งาน (execute) หน่วยคา นวณและตรรกะทา การคา นวณโดย 
ใช้ข้อมูลที่ได้รับมาถอดรหัสคา สั่ง และทราบแล้วว่าต้องทา อะไร ซีพียูก็จะ 
ทา ตามคา สั่งนั้น
วงรอบการทางานของคาสั่ง (machine cycle) 
วงรอบของการทา คา สั่งของซีพียูประกอบด้วยขั้นตอนการทา งานพื้นฐาน 4 ขั้น 
(ต่อ) 
4. ข้นัตอนการเก็บ (store) หลังจากทา คา สั่งก็จะเก็บผลลัพธ์ที่ได้ไว้ใน 
หน่วยความจา 
ซีพียูยุคเก่า การทา คา สั่งแต่ละคา สั่งจะต้องทา วงรอบคา สั่งให้จบก่อน 
จากนั้นจึงทา วงรอบคา สั่งของคา สั่งต่อไป สา หรับซีพียูในยุคปัจจุบันได้มี 
การพัฒนาให้ทา งานได้เร็วขึ้น โดยมีการแบ่งวงรอบคา สั่งนี้เป็นวงรอบย่อยๆ 
อีก มีการนา เทคนิคการทา งานแบบสายท่อ (pipeline) มาใช้ โดยขณะที่ทา 
วงรอบคา สั่งแรกอยู่ ก็มีการอ่านรหัสคา สั่งของคา สั่งถัดไปเข้ามาด้วย ซึ่งจะ 
ทา ให้การทา งานโดยรวมของซีพียูเร็วขึ้นมาก
หน่วยควบคุม (Control unit) 
เป็นหน่วยที่ทาหน้าที่ประสานงาน และควบคุมการทางานของ 
คอมพิวเตอร์ ควบคุมให้อุปกรณ์รับข้อมูล ส่งข้อมูลไปที่หน่วยความจา 
ติดต่อกับอุปกรณ์แสดงผลเพื่อสั่งให้นาข้อมูลจากหน่วยความจาไปยัง 
อุปกรณ์แสดงผล โดยหน่วยควบคุมของคอมพิวเตอร์จะแปลความหมาย 
ของคาสั่งในโปรแกรมของผู้ใช้ และควบคุมให้อุปกรณ์ต่างๆ ทางาน 
ตามคา สั่งนั้นๆ
หน่วยคานวณและตรรกะ หรือ เอแอลยู 
(Arithmetic-Logic Unit : ALU) 
ก า ร ค า น ว ณ ต่า ง ๆ ท า ง 
คณิตศาสตร์ ได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร 
และเปรียบเทียบทางตรรกะ เพื่อทาการ 
ตัดสินใจ เช่น การเปรียบเทียบข้อมูล การ 
เปรียบเทียบว่าจริงหรือเท็จ 
การทางานของเอแอลยู จะรับ 
ข้อมูลจากหน่วยความจามาไว้ในที่เก็บ 
ชั่วคราวของเอแอลยูที่เรียกว่า เรจิสเตอร์ 
(register) เพื่อทาการคานวณแล้วส่งผล 
ลัพธ์กลับไปยังหน่วยความจา 
รูปที่ 
หน่วยความจา แบบแฟลซท่อียู่บน 
เมนบอร์ด
3.2 หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 
3.2.2 หน่วยความจา และการจัดเก็บข้อมูล
หน่วยความจา (memory unit) 
หน่วยความจาแบ่งออกเป็น 2 ชนิด 
1) หน่วยความจาแบบไม่สามารถลบเลือนได้(non volatile memory) เป็น 
หน่วยความจา ที่สามารถเก็บข้อมูลได้ แม้ว่าไม่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยง ตัวอย่างของ 
หน่วยความจา ชนิดนี้ เช รอม และหน่วยความจา แบบแฟรซ 
- รอม (Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยความจา แบบอ่านได้ 
อย่างเดียวไม่สามารถลบและเขียนข้อมูลใหม่ได้ 
- หน่วยความจา แบบแฟรซ (flash memory) เป็นหน่วยความจา ที่สามารถ 
ลบและเขียนข้อมูลใหม่ได้ 
ในเครื่องคอมพิวเตอร์มีการใช้รอมในการเก็บไบออส (Basic Input Output System : 
BIOS) ไบออสทา หน้าที่เก็บข้อมูล โปรแกรมและคา สั่งพื้นฐานที่สาคัญในการเริ่มต้น 
กระบวนการบูต (boot) ของเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนมาใช้หน่วยความจา 
แบบแฟรซในการเก็บไบออสแทน
หน่วยความจา (memory unit) หน่วยความจาแบ่ง 
ออกเป็น 2 ชนิด 
2) หน่วยความจาแบบลบเลือนได้(volatile memory) เป็นหน่วยความจาที่ต้องใช้ 
กระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเพื่อเก็บข้อมูล หากเกิดไฟฟ้าดับ ข้อมูลและโปรแกรมคา สั่งจะสูญ 
หายไป หน่วยความจา ชนิดนี้ เช่น แรม 
แรม (Random Access Memory : RAM) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 
1. สแตติกแรม หรือเอสแรม (Static RAM : SRAM) มักพบในตัวซีพียูทา 
หน้าที่เป็นหน่วยความจา ภายในซีพียูที่เรียกว่าหน่วยความจา แคช ซึ่งจะมีความเร็วสูงกว่าได 
นามิกแรม 
2. ไดนามิกแรม หรือ ดีแรม (Dynamic RAM : DRAM) เป็น 
หน่วยความจา ที่ใช้ในการจดจา ข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ ที่อยู่ระหว่างการประมวลผลของ 
คอมพิวเตอร์ เป็นหน่วยความจา ที่มีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือพีซีมากที่สุด 
เนื่องจากราคาไม่แพงและมีความจุสูง
หน่วยความจาแบบลบเลือนได้ 
รูปที่ ก เอสแรม รูปที่ ข ดีแรม
ในการประมวลผล 
ของคอมพิวเตอร์ เช่น ถ้า 
ต้องการให้คอมพิวเตอร์ 
แสดงผลการบวกตัวเลข 
สองจานวน ซีพียูจะต้อง 
ติด ต่อ กับ แ ร ม ที่ใ ช้เ ก็บ 
ชุดคาสั่งและข้อมูลต่าง ไว้
3.2 หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 
3.2.3 ระบบบัสกับการทางานร่วมกัน 
ของคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง
ระบบบัส 
ในเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น มีเมนบอร์ดที่สามารถติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ซีพียู 
หน่วยความจา และฮาร์ดดิสก์ โดยการส่งข้อมูลและคา สั่งระหว่างอุปกรณ์จะอยู่ในรูป 
ของสัญญาณไฟฟ้าที่ถูกส่งผ่านระบบส่งถ่ายข้อมูลที่เรียกว่าบัส (bus)
ขนาดของบัส (bus width) 
กาหนดโดยจานวนบิตที่คอมพิวเตอร์สามารถถ่ายโอนข้อมูลได้ในหนึ่งครั้ง 
ตัวอย่างเช่น บัส 32 บิต สามารถรับส่งข้อมูลได้ครั้งละ 32 บิต บัสขนาด 64 บิต 
สามารถรับส่งข้อมูลได้ครั้งละ 64 บิต เป็นต้น บัสที่มีจา นวนบิตมากจะทา ให้การรับส่ง 
ข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ทา ได้เร็วขึ้น 
การบอกความเร็วบัสมักวัดเป็นจา นวนครั้งที่รับส่งข้อมูลได้ในหนึ่งหน่วยเวลา 
ซึ่งมีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ (Hz) เช่น บัสที่มีความเร็ว 1 MHz หมายความว่าบัสนี้สามารถ 
รับส่งข้อมูลได้หนึ่งล้านครั้งต่อวินาที เครื่องคอมพิวเตอร์ที่พบในปัจจุบันจะมีค่า 
ความเร็วบัสเป็น 667,800,1066 หรือ 1333 MHz ถ้าความเร็วบัสมีค่ามากหมายความว่า 
สามารถรับส่งข้อมูลได้เร็ว ก็จะทา ให้เวลาการทา งานของโปรแกรมเร็วขึ้นไปด้วย
3.3 การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ 
ให้เหมาะสมกับงาน
การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ตามลักษณะของงาน 
แต่ละประเภท 
งานเอกสาร หรืองานในสานักงาน 
เป็นการใช้คอมพิวเตอร์สาหรับจัดการด้านเอกสาร รายงาน ตกแต่งภาพ 
ทา การ์ดอิเล็กทรอนิกส์ ดูภาพยนตร์หรือสื่อทางการศึกษา ติดต่อสื่อสาร ค้นหา 
ข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคา และ 
ซอฟต์แวร์ตารางทา งาน เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานประเภทนี้ไม่จา เป็นต้อง 
ใช้ซีพียูที่มีความเร็วสูง คือประมาณ 1GHz ขึ้นไป แต่ควรมีแรมอย่างน้อย 1GB 
และอาจเลือกใช้จอภาพแบบแอลซีดีขนาดใหญ่ 17-19 นิ้วเพื่อถนอมสายตา 
เนื่องจากลักษณะงานต้องจ้องมองจอภาพตลอดเวลา
การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ตามลักษณะของงาน 
แต่ละประเภท 
งานกราฟิก 
เป็นการใช้คอมพิวเตอร์สาหรับการตกแต่งและออกแบบภาพ และมีการ 
เรียนใช้งานกราฟิกหลายๆ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน ใช้ซอฟต์แวร์กราฟิกในการ 
สร้างชิ้นงาน เช่น งานสิ่งพิมพ์ งานนาเสนอแบบมัลติมีเดีย สร้างเว็บไซต์ 
ติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต โดยมีการรับ-ส่งข้อมูลจา นวนมาก ที่มีทั้งภาพ 
เสียง ภาพเคลื่อนไหว เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานประเภทนี้จา เป็นต้องมีซีพียู 
ที่มีความเร็วอยู่ในระดับปานกลางถึงค่อนข้างสูง ประมาณ 2 GHz ขึ้นไป ใช้แรม 
อย่างน้อย 2 GB ขึ้นไป และมีฮาร์ดดิสก์ที่มีความจุสูงเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูล 
จา นวนมาก
การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ตามลักษณะของงาน 
แต่ละประเภท 
งานออกแบบที่ต้องแสดงผลเป็น 3 มิติ 
เป็นการใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบภาพ 3 มิติ สร้างภาพยนตร์ สร้าง 
การ์ตูนแอนิเมชั่น (animation) ตัดต่อวีดิทัศน์ ตัดต่อเพลง เล่นเกมที่มีภาพกราฟฟิก 
สูง และงานประเภทนี้ต้องการเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการคา นวณ 
และแสดงภาพความละเอียดสูงสุดได้ ดังนั้น ควรเลือกซีพียูที่มีความเร็วสูงไม่น้อย 
กว่า 2 GHz มีแรมอย่างน้อย 4 GB การ์ดจอแสดงผลที่สามารถแสดงภาพที่มีความ 
ละเอียดสูงได้ดี ควรใช้จอภาพขนาดไม่ต่า กว่า 24 นิ้ว และควรมีเครื่องสา รองไฟ 
เนื่องจากการทา งานประเภทนี้ คอมพิวเตอร์จะต้องใช้เวลาในการประมวลผลนาน 
ถ้าหากไฟดับหรือไฟกระตุกจะไม่สะดวกในการเริ่มงานใหม่
3.4 การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ 
และอุปกรณ์
3.4.1 ซีพียู 
เป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญที่สุดและ 
เป็นปัจจัยแรกในการพิจารณาเมื่อคิดที่จะซื้อ 
หรือประกอบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมีผลต่อ 
การเลือกซื้ออุปกรณ์อื่น เช่น เมนบอร์ด เป็นต้น 
และซีพียูยังเป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการ 
ประมวลผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์อีก 
ด้วย 
ในการเลือกซื้อซีพียูสามารถพิจารณา 
ได้จากหลายปัจจัย เช่น บริษัทผู้ผลิต ความเร็ว 
ซีพียู แคช ความเร็วบัส
ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อซีพียู 
1) บริษัทผู้ผลิต ในปัจจุบันมีบริษัทผู้ผลิตซีพียูชั้นนา 2 บริษัท คือ บริษัทอินเทล (Intel 
Corporation) และบริษัทเอเอ็มดี (Advanced Micro Devices : AMD) โดยทั้งสองบริษัทได้มีการผลิต 
ซีพียูที่แบ่งตามจา นวนของแกนประมวลผล (Processing core) 
2) ความเร็วของซีพียู ความเร็วของซีพียูขึ้นอยู่กับความถี่สัญญาณนาฬิกา ซึ่งเป็น 
สัญญาณไฟฟ้าที่คอยกา หนดจังหวะการทา งานประสานของวงจรภายในให้สอดคล้องกัน สัญญาณ 
ดังกล่าวจะมีหน่วยความถี่เป็นเมกะเฮิรตซ์ (megahertz) หรือล้านครั้งต่อวินาที ถึงระดับกิกะเฮิรตซ์ 
(gigahertz) หรือพันล้านครั้งต่อวินาที 
3) หน่วยความจา แคช (cache) ในซีพียูมีหน่วยความจา แคช ซึ่งเป็นหน่วยความจา 
ความเร็วสูงเพื่อให้การทา งานเร็วขึ้นเนื่องจากแรมมีความเร็วที่ช้ากว่าซีพียูจึงจา เป็นที่ต้องมี 
หน่วยความจา แคช เป็นที่เก็บข้อมูลชั่วคราวเพื่อให้ซีพียูทา งานร่วมกันได้ดีขึ้น โดยควรพิจารณา 
เลือกซื้อซีพียูที่มีความจุของหน่วยความจา แคชมาก 
4) ความเร็วบัส คือ ความเร็วในการรับส่งข้อมูลระหว่างซีพียูและอุปกรณ์อื่นๆ ควร 
พิจารณาซีพียูที่มีความเร็วบัสสูงและสอดคล้องกับความเร็วของอุปกรณ์อื่น เช่น เมนบอร์ด และแรม
3.4.2 เมนบอร์ด (mainboard) หรืออาจเรียกว่า มาเธอร์ 
บอร์ด หรือโมโบ (motherboard : mobo) 
เป็นแผงวงจรหลักของ 
คอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปจะ 
ประกอบด้วยช่องสา หรับติดตั้งซีพียู 
ไบออส ชิปเซ็ต ช่องสา หรับติดตั้ง 
หน่วยความจา สายสัญญาณ และบัส 
ต่างๆ ขั้วต่อสา หรับเชื่อมต่ออุปกรณ์เส 
รามภายใน เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีไดร์ฟ 
และพอร์ตต่ออุปกรณ์รอบข้าง เช่น 
เมาส์ และ คีย์บอร์ด
ตัวอย่างรายละเอียดเมนบอร์ด
พอร์ตเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอกแบบต่าง
3.4.3 แรม 
ใ น ก า ร เ ลือ ก ซื้อ แ ร ม เ พื่อ 
นามาใช้งรานกับพีซี มักจะเป็นแรมชนิด 
ดีดีอาร์เอสดีแรม (Double Data Rate 
Synchronous Dynamic RAM : DDR 
SDRAM) ซึ่งจะต้องพิจารณาประเภท 
ของแรมให้ตรงกับสล็อตหน่วยความจา 
บนเมนบอร์ด และสิ่งที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 
ทั่วไปควรให้ความสาคัญในลาดับต่อมา 
คือ ขนาดความจุ และความเร็ว ซึ่งเป็น 
ปัจจัยสา คัญที่ต้องนา มาพิจารณาด้วย
ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อแรม 
1) ประเภทของแรม ต้องพิจารณาเลือกซื้อให้ตรงกับสล็อตหน่วยความจา 
บนเมนบอร์ด แรมที่ใช้ในพีซี เช่น DDR , DDR2 และ DDR3 โดยแรมแต่ละชนิด 
จะมีตา แหน่งรอยบากที่แตกต่างกัน เพื่อให้สามารถเสียบแรมบนสล็อตได้ถูกต้อง 
2) ความจุปัจจุบันแรมมีให้เลือกตั้งแต่ความจุ 256 MB ขึ้นไป เครื่อง 
คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานด้านกราฟิกหรือมัลติมีเดียระดับสูง จะใช้แรมที่มีความจุ 
สูงขึ้นตามไปด้วย สา หรับเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมักจะติดตั้งแรมความจุ 1 
GB ขึ้นไป 
บนเมนบอร์ดของคอมพิวเตอร์จะมีสล็อตสาหรับติดตั้งแรมมากกว่า 1 
ช่อง ผู้ใช้สามารถติดตั้งแรมได้หลายตัว แต่ต้องเป็นชนิดเดียวกัน ตามที่สล็อต 
ติดตั้งจะมีให้ โดยความจุแรมของพีซีจะเท่ากับผลรวมจากความจุของแรมทั้งหมด
ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อแรม 
3) ความเร็วของแรม ความเร็วของแรม หมายถึง จา นวนครั้งที่สามารถอ่าน 
เขียนข้อมูลได้ภายในหนึ่งวินาที โดยมีหน่วยวัดเป็น เมกะเฮิรตซ์ (MHz) เช่น DDR3 มี 
ความเร็ว 1,333 MHz เป็นต้น ผุ้ใช้งานต้องเลือกความเร็วของแรมให้สอดคล้องกับ 
ความเร็วบัสของเมนบอร์ดด้วย ตัวอย่างเช่น ถ้าระบบบัสบนเมนบอร์ด (FSB) ทา งาน 
ด้วยความเร็ว 1,066 MHz แต่นาแรมที่มีความเร็ว 1,333 MHz มาใช้งานจะได้สามารถ 
ทา งานที่ความเร็ว 1,333 MHz ได้ ตัวอย่างของระบบบัสบนเมนบอร์ดกับแรมเปรียบได้ 
กับการที่รถวิ่งบนถนนเพื่อไปให้ถึงจุดหมาย 
ในบางครั้งอาจใช้อัตราการถ่ายโอนข้อมูลในการจา แนกรุ่นของแรม เช่น PC2- 
5400 คือ แรมชนิด DDR2 – 667 ที่มีค่าอัตราการถ่ายโอนข้อมูลประมาณ 5,400 MB/s 
หมายถึง ปริมาณข้อมูลที่จะรับส่งได้ภายในหนึ่งวินาที (คา นวณจาก 667 MHz X 8 
ไบต์)
3.4.4 ฮาร์ดดิสก์(hard disk) 
เ ป็น อุป ก ร ณ์ใ น ก า ร เ ก็บ 
ข้อมูล ฮาร์ดดิสก์ที่ใช้กันในพีซี 
โดยทั่วไปคือ ฮาร์ดดิสก์ขนาด 3.5 
นิ้ว สาหรับฮาร์ดดิสก์ที่มีขนาด 2.5 
และ 1.8 นิ้วนั้นนิยมใช้กับโน้ตบุ๊ก
การพิจารณาเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์ 
ก า ร พิจ า ร ณ า เ ลือ ก ซื้อ 
ฮาร์ดดิสก์ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง 
ด้วยกัน เช่น การเชื่อมต่อ ความจุของ 
ข้อ มูล แ ล ะ ค ว า ม เ ร็ว ร อ บ ข อ ง 
ฮาร์ดดิสก์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทาให้ 
ฮาร์ดดิสก์มีราคาที่แตกต่างกัน
ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์ 
1) การเชื่อมต่อ มาตรฐานการเชื่อมต่อของฮาร์ดดิสก์ที่ใช้งานอยู่บนพีซี 
ในปัจจุบัน ใช้มาตรฐาน EIDE และ SATA ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเมนบอร์ดว่ารองรับการ 
เชื่อมต่อแบบใด 
2) ความจุข้อมูล มีหน่วยเป็น กิกะไบท์ (GB) หรือเทระไบต์ (TB) ซึ่ง 
ขนาดความจุข้อมูลของฮาร์ดดิสก์นั้นขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ใช้งาน 
3) ความเร็วรอบ เป็นอัตราเร็วในการหมุนของฮาร์ดดิสก์เพื่อให้หัวอ่าน- 
เขียน เข้าถึงข้อมูลฮาร์ดดิสก์ที่มีความเร็วรอบสูงจะทา ให้มีอัตราเร็วในการรับส่ง 
ข้อมูลสูง โดยทั่วไปฮาร์ดดิสก์ของพีซีจะมีความเร็วรอบอยู่ที่ 7,200 รอบต่อนาที 
(rpm)
3.4.5 การ์ดแสดงผล (display card, graphics card 
หรือ video card) 
ทาหน้าที่แปลงข้อมูล ดิจิทัลมาเป็นสัญญาณที่ส่งไปที่จอภาพ การ์ด 
แสดงผลอาจอยู่ในรูปแบบการ์ดหรืออาจติดตั้งมาบนเมนบอร์ดแล้ว 
การที่ผู้ใช้ต้องการปรับปรุงการ์ดแสดงผลเนื่องจากต้องการใช้กับงานที่ 
ต้องการแสดงผลภาพสามมิติได้อย่างคมชัด ซึ่งคอมพิวเตอร์ชุดสา เร็จที่ผู้ขายจัด 
ให้อาจไม่สามารรถแสดงผลภาพดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ สาหรับปัจจัย 
ในการพิจารณาเลือกซื้อการ์ดแสดงผล เช่น ชิปประมวลผล กราฟิก การเชื่อมต่อ 
และความจุของหน่วยความจา บนการ์ด
ปัจจัยในการเลือกซื้อการ์ดแสดงผล 
1) ชิปประมวลผลกราฟิก หรือจีพียู(graphic processing unit : GPU) เป็นอุปกรณ์ 
พิเศษที่เพิ่มความเร็วในการแสดงผลโดยลดภาระซีพียูในการคานวณข้อมูลที่จะส่งไปที่ 
จอภาพ ตัวอย่างการเลือกซื้อจีพียู เช่น ถ้าต้องการประมวลผลภาพสามมิติ อาจใช้ชิปของ 
บริษัท nVIDIA รุ่นGForce 9 และ GTX2xx หรือชิปของบริษัท ATi รุ่น Radeon HD 4000 
2) การเชื่อมต่อ มี 2 แบบ คือ แบบใช้กับบัส PCI Express และบัส AGP โดย PCI 
Express จะมีประสิทธิภาพสูงที่สุดซึ่งสามารถให้ความเร็วสูงสุดได้ถึง 16 GB/s ส่วน AGP มี 
ประสิทธิภาพรองลงมา 
3) ความจุของหน่วยความจาบนการ์ด หน่วยความจาบนการ์ด (Video RAM) เป็น 
ส่วนที่ใช้เก็บข้อมูลภาพที่แสดงบนจอคอมพิวเตอร์ ถ้าความจุของหน่วยความจา มาก จะทา ให้ 
แสดงภาพมัลติมีเดียความละเอียดสูงได้ดี การบอกความจุของหน่วยความจาบนตัวการ์ด เช่น 
DDR3 512 MB
การพิจารณาเลือกซื้อออปติคัลดิสก์ไดร์ฟ 
1. ซีดีไดร์ฟ(Compact Disc Drive:CD Drive)ใช้อ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีได้อย่างเดียว 
2. ดีวีดีไดร์ฟ (Digital Versatile Disc Drive : DVD Drive) ใช้อ่านข้อมูลได้ทั้งแผ่น 
ซีดีและแผ่นดีวีดี แต่ไม่สามารถเขียนหรือบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นซีดีหรือดีวีดีได้ 
3. ซีดีอาร์ดับบลิวไดร์ฟ (Compact Disc ReWritable Drive : CD-RW Drive) 
สามารถอ่านและเขียนข้อมูลลงบนแผ่นซีดีได้ มีการระบุค่าความเร็วเช่น 52x/32x/52x 
หมายความว่า ความเร็วในการเขียน CD-R เท่ากับ 52x ความเร็วในการเขียนซ้า CD-RW 
เท่ากับ 32x และความเร็วในการอ่าน CD-ROM เท่ากับ 52x 
4. คอมโบไดร์ฟ (Combo Drive) สามารถอ่านและเขียนข้อมูลบนแผ่นซีดี และอ่าน 
ข้อมูลจากแผ่นดีวีดี มีการระบุค่าความเร็ว เช่น 52x/32x/52x/16x 
5. ดีวีดีอาร์ดับบลิวไดร์ฟ (Digital Versatile Disc ReWritable Drive : DVD+RW 
Drive) สามารถอ่านและเขียนข้อมูลได้ทั้งแผ่นซีดีและแผ่นดีวีดี มีการระบุค่าความเร็ว เช่น 
20x/12x/20x/8x
ออปติคัลดิสก์ไดร์ฟ (optical disk drive) 
ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น 
ซีดีไดร์ฟและดีวีดีไดร์ฟ เป็น 
อุปกรณ์มาตรฐานที่พีซีทุกเครื่อง 
ควรมี เนื่องจากซีดี/ดีวีดีไดร์ฟมี 
ราคาถูกลงมากนอกจากนี้สื่อที่ใช้ 
เก็บบันทึก เช่น แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี 
มีความจุสูงและมีราคาถูก
3.4.7 เคส (case) 
โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นกล่องสี่เหลี่ยม ทา หน้าที่เป็นโครงยึดให้กับอุปกรณ์ภายใน 
ต่างๆ ที่ประกอบกันเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งเมนบอร์ด ฮาร์ดดิสก์ แหล่งจ่ายไฟ เป็นต้น 
นอกจากนี้ยังทา หน้าที่ในการป้องกันความเสียหายที่จะเกิดกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ภายใน 
เคส หลักในการพิจารณาเลือกซื้อเคส เช่น 
- มีช่องระบายอากาศและระบบระบายความร้อน 
- มีพื้นที่หรือช่องที่จะเพิ่มอุปกรณ์ได้ เช่น การเพิ่มฮาร์ดดิสก์ การเพิ่มซีดี/ดีวีดีไดร์ฟ 
- ลักษณะของเคส เช่น เคสในแนวนอน ที่เรียกว่า เดสก์ท็อปเคส (desktop case) 
และเคสในแนวตั้งที่เรียกว่า ทาวเวอร์เคส (tower case) 
- ในกรณีที่เป็นการใช้งานโดยทั่วไป อาจะเลือกใช้เคสที่มีแหล่งจ่ายไฟ (power 
supply) ติดตั้งมาให้สา เร็จแล้ว แต่ถ้าต้องการติดตั้งอุปกรณ์ภายในหลายชิ้น เช่น ฮาร์ดดิสก์ 
การ์ดแสดงผลความเร็วสูง และพอร์ต USB ควรพิจารณาเลือกแหล่งจ่ายไฟที่มีความสามารถ 
สูงขึ้น
3.4.8 จอภาพ (monitor) 
ที่พบจะมีอยู่สอง 
ประเภทคือ จอซีอาร์ที (Cathode 
Ray Tube : CRT) และจอแอล 
ซีดี (Liquid Crystal Display : 
LCD) ซึ่งในปัจจุบันจอแอลซีดี 
เป็นที่นิยมมากเนื่องจากมีราคา 
ถูก ถนอมสายตา ประหยัด 
พลังงาน และใช้พื้นที่ในการจัด 
วางน้อย
ปัจจัยในการเลือกซื้อจอภาพ 
- ความละเอียดของภาพ (resolution) หมายถึง จานวนจุดหรือพิกเซลบนจอภาพ ถ้า 
หากมีความละเอียดสูงจะทา ให้ภาพคมชัดมากขึ้น ตัวอย่างเช่น จอภาพที่มีความละเอียด 1680 
x 1050 เป็นจอภาพที่มีจุดภาพในแนวนอน 1680 จุด และมีจุดภาพในแนวตั้ง 1050 จุด 
- ขนาด (size) ขนาดของจอภาพจะวัดเป็นแนวทแยงมุม เช่น จอ 19 นิ้ว และแบบ 21 
นิ้ว 
นอกจากนี้จอภาพยังสามารถเลือกความสว่าง (brightness) และความเปรียบเทียบ 
ต่าง (contrast) ได้อีกด้วย การแสดงผลของจอภาพนั้นจะต้องมีการ์ดแสดงผล เป็นตัว 
ประสานงานระหว่างซีพียูกับจอภาพ โดยสัญญาณภาพจะถูกส่งออกมาจากการ์ดแสดงผลนี้ 
จอภาพโดยทั่วไปจะมีพอร์ตต่อแบบวีจีเอ (Video Graphics Array : VGA) ซึ่งเป็นตัวรับ 
สัญญาณแอนะล็อกมาจากการ์ดแสดงผล จอภาพบางรุ่นจะมีพอร์ตต่อแบบดีวีไอ (Digital 
Video Interface : DVI) ซึ่งเป็นการรับข้อมูลภาพแบบดิจิทัลซึ่งจะให้ภาพที่คมชัดกว่า
3.5 การรับประกันอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
3.5 การรับประกันอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์จะมีการรับประกันอายุการใช้งาน อุปกรณ์แต่ละ 
ชนิดจะมีระยะเวลารับประกันต่างกัน เช่น แรม รับประกันตลอดอายุการใช้งาน 
(life time) และฮาร์ดดิสก์อาจรับประกัน 1-5 ปี โดยอายุของการรับประกันที่นาน 
ขึ้น อาจมีผลทา ให้ราคาสูงขึ้น บนอุปกรณ์บางชนิดจะมีสติ๊กเกอร์รับประกันติด 
อยู่บนตัวอุปกรณ์ซึ่งหากมีการฉีกขาด การรับประกันจะสิ้นสุดลงทันที ดังนั้นจึง 
ควรระมัดระวังเมื่อเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆ
3.6 ข้อแนะนา 
การดูแลและบารุงรักษา 
เครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
3.6 ข้อแนะนาการดูแลและบารุงรักษา 
เครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น 
1. ไม่ควรเปิดฝาคอมพิวเตอร์โดยไม่จา เป็น เนื่องจากอาจมีโลหะที่นา ไฟฟ้าเข้าไปในเครื่องทา ให้เกิด 
การลัดวงจร หรือมีฝุ่นเข้าไปในตัวเครื่อง ฝุ่นนี้จะเป็นตัวเก็บความชื้นทา ให้วงจรคอมพิวเตอร์ทา งานผิดพลาดได้ 
2. ไม่ควรตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ไว้ในสถานที่ที่มีอุณหภูมิสูง เนื่องจากจะส่งผลให้ชิ้นส่วน 
อิเล็กทรอนิกส์เสื่อมสภาพเร็วขึ้น 
3. ไม่ควรตั้งคอมพิวเตอร์ใกล้กับประตูหรือหน้าต่าง เนื่องจากอาจโดนแสดงแดดหรือฝนสาดเข้ามาได้ 
4. ไม่ควรวางจอคอมพิวเตอร์ใกล้กับสนามแม่เหล็ก หรือลา โพงตัวใหญ่ๆ เนื่องจากสนามแม่เหล็กจะ 
ทา ให้การแสดงภาพผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริง 
5. ถ้าหากที่บ้านไฟตกหรือมีไฟกระชาก ควรมีเครื่องสารองไฟยูพีเอส (Uninterruptible power supply 
: UPS) 
6. ควรตั้งโหมดประหยัดพลังงานให้กับเครื่อง เพื่อถนอมอายุการใช้งานเครื่อง การทา งานในโหมดนี้ 
จะทา ให้ฮาร์ดดิสก์และซีพียูทา งานน้อยลงเมื่อไม่มีการใช้เครื่องในระยะเวลาที่กา หนด 
7. ไม่ควรวางของเหลวใกล้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ 
8. ไม่ควรปิดเครื่องโดยการกดสวิตซ์ปิด ควรใช้คา สั่งปิดระบบปฏิบัติการ เนื่องจากระบบปฏิบัติการ 
ต้องดา เนินการตรวจสอบสถานการณ์ทา งานต่างๆ ของฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ก่อนจะหยุดการทา งาน
3.7 การแก้ปัญหาเบื้องต้นของพีซี
การแก้ปัญหาเบื้องต้นของพีซี 
1. เครื่องหยุดทา งานขณะใช้งานอยู่ 
สาเหตุแหล่งจ่ายไฟจ่ายกา ลังไฟฟ้าไม่พอ อาจเกิดจากมีอุปกรณ์ต่อพ่วงอยู่กับ 
คอมพิวเตอร์เป็นจา นวนมาก 
การแก้ไข นา อุปกรณ์ที่ไม่จา เป็นที่ต่อพ่วงอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ออกไป หรือ 
เปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟที่มีกา ลังไฟฟ้ามากขึ้น 
2. เปิดเครื่องแล้วปรากฏข้อความว่า “DISK BOOT fAILURE, INSERT DISK 
SYSTEM PRESS ENTER” 
สาเหตุเครื่องบูตไม่พบฮาร์ดดิสก์ หรือระบบปฏิบัติการบนฮาร์ดดิสก์เสียหาย 
การแก้ไข ตรวจสอบโปรแกรมไบออสว่า บูตฮาร์ดดิสก์ในตา แหน่งที่ถูกต้องหรือไม่ 
หรือติดตั้งระบบปฏิบัติการบนฮาร์ดดิสก์
การแก้ปัญหาเบื้องต้นของพีซี 
3. อ่านหรือเขียนแผ่นซีดี / ดีวีดีไม่ได้ 
สาเหตุหัวอ่านเลเซอร์ของไดร์ฟสกปรก 
การแก้ไข ให้ใช้แผ่นซีดีทา ความสะอาดหัวอ่าน โดยใส่แผ่นซีดีสา หรับทา ความ 
สะอาดเข้าไปในไดร์ฟ แปรงขนาดเล็กที่อยู่ใต้แผ่นซีดีจะปัดทา ความสะอาดหัวอ่านเลเซอร์ 
ของไดร์ฟ 
4. เครื่องรีสตาร์ต (restart) เองขณะใช้งาน 
สาเหตุซีพียูมีความร้อนสูง 
การแก้ไข ตรวจสอบพัดลมของซีพียูว่าทา งานหรือไม่ สายที่ต่ออยู่แน่หรือไม่

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3niramon_gam
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Pak SnakeZa
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์pui3327
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24Ilhyna
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSupanut Boonlert
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Wisawachit
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utilityshadowrbac
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Natsiri Wongchalee
 

What's hot (18)

คูมื่อ E book
คูมื่อ E bookคูมื่อ E book
คูมื่อ E book
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
5555
55555555
5555
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
 
งานโฟม
งานโฟมงานโฟม
งานโฟม
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Similar to บทที่ 3

หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3ratiporn555
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardwarestandbyme mj
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
Information Technology for Business
Information Technology for BusinessInformation Technology for Business
Information Technology for BusinessChairat Jussapalo
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์Sujit Chuajine
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บีหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บีPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บีหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บีPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ปาย1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ปาย1หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ปาย1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ปาย1puangtong
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอนPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดุ่ย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดุ่ยหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดุ่ย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดุ่ยPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดา
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดาหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดา
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดาPheeranan Thetkham
 

Similar to บทที่ 3 (20)

หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardware
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
introduction to computer
introduction to computerintroduction to computer
introduction to computer
 
Information Technology for Business
Information Technology for BusinessInformation Technology for Business
Information Technology for Business
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
Com element
Com elementCom element
Com element
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
Lab
LabLab
Lab
 
Lab
LabLab
Lab
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บีหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บีหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ปาย1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ปาย1หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ปาย1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ปาย1
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดุ่ย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดุ่ยหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดุ่ย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดุ่ย
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดา
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดาหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดา
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดา
 

More from Sudkamon Play

Web server คืออะไร
Web server คืออะไรWeb server คืออะไร
Web server คืออะไรSudkamon Play
 
Cai คืออะไร
Cai คืออะไรCai คืออะไร
Cai คืออะไรSudkamon Play
 
องค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ Lmsองค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ LmsSudkamon Play
 
ประโยชน์ของ E learning
ประโยชน์ของ E learningประโยชน์ของ E learning
ประโยชน์ของ E learningSudkamon Play
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningSudkamon Play
 
ความเป็นมาของระบบ E learning
ความเป็นมาของระบบ E learningความเป็นมาของระบบ E learning
ความเป็นมาของระบบ E learningSudkamon Play
 
E learning คือ
E learning คือE learning คือ
E learning คือSudkamon Play
 

More from Sudkamon Play (13)

Web server คืออะไร
Web server คืออะไรWeb server คืออะไร
Web server คืออะไร
 
Cai คืออะไร
Cai คืออะไรCai คืออะไร
Cai คืออะไร
 
องค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ Lmsองค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ Lms
 
ประโยชน์ของ E learning
ประโยชน์ของ E learningประโยชน์ของ E learning
ประโยชน์ของ E learning
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
 
ความเป็นมาของระบบ E learning
ความเป็นมาของระบบ E learningความเป็นมาของระบบ E learning
ความเป็นมาของระบบ E learning
 
E learning คือ
E learning คือE learning คือ
E learning คือ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

บทที่ 3

  • 3. 3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ (computer) เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์และ ไอซี (Integrated Circuit : IC) ต่างๆ มากมาย ซึ่งสามารถจดจา ประมวลผลข้อมูล เปรียบเทียบ ตัดสินใจทางตรรกศาสตร์คา นวณทางคณิตศาสตร์ สามารถใช้ช่วยในการ ออกแบบและสร้างงานกราฟิกได้ คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐาน 5 หน่วย ได้แก่ - หน่วยรับเข้า (input unit) - หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) - หน่วยความจา (memory unit) หน่วยส่งออก (output unit) - หน่วยเก็บข้อมูล (storage unit) แต่ละหน่วยทา หน้าที่ประสานกันด้ อีกทั้งยังตอบสนองความต้องการด้านอื่นๆ ได้อย่างหลากหลาย
  • 4. 3.2 หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 3.2.1 ซีพียู และการประมวลผลข้อมูล
  • 5. ซีพียู(Central Processing Unit : CPU) มีลักษณะเป็นชิป (chip) ที่ติดตั้งอยู่ บนเมนบอร์ดภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่ง ชิปดังกล่าวเป็นสารกึ่งตัวนาขนาดเล็ก ภายในบรรจุวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ไว้ มากมาย โ ด ย ว ง จ ร จ ะ ป ร ะ ก อ บ ด้ว ย ทรานซิสเตอร์ขนาดเล็กเป็นจานวนมาก บางครั้งจึงเรียก ชิปต่างๆ ว่า ไอซี รูป ตัวอย่างของซีพียู
  • 6. ซีพียู(Central Processing Unit : CPU) ในอดีตซีพียูจะมีขนาดใหญ่ แต่ใน ปัจจุบันเมื่อนา สารกึ่งตัวนา มาใช้ก็ทา ให้ ซีพียูถูกพัฒนาให้มีขนาดเล็กลง โดยรวม วงจรต่างๆ ไว้ในชิปเพียงตัวเดียวเรียกว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ (microprocessor) ซึ่ง กล่าวได้ว่าคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีไมโคร โพรเซสเซอร์เป็นซีพียู ภายในไมโคร โพรเซสเซอร์ประกอบด้วยส่วนประกอบที่ สาคัญสองส่วนคือ หน่วยควบคุม และ หน่วยคา นวณตรรกะ หรือที่เรียกสั้นๆว่า เอ แอลยู
  • 7. วงรอบการทางานของคาสั่ง (machine cycle) วงรอบของการทา คา สั่งของซีพียูประกอบด้วยขั้นตอนการทา งานพื้นฐาน 4 ขั้น 1. ขั้นตอนการรับเข้าข้อมูล (fetch) เริ่มแรกหน่วยควบคุมรับรหัสคา สั่งและ ข้อมูลที่จะประมวลผลจากหน่วยความจา 2. ขั้นตอนการถอดรหัส (decode) เมื่อรหัสคา สั่งเข้ามาอยู่ในซีพียูแล้ว หน่วย ควบคุมจะถอดรหัสคา สั่งแล้วส่งคา สั่งและข้อมูลไปยังหน่วยคา นวณและ ตรรกะ 3. ขั้นตอนการทา งาน (execute) หน่วยคา นวณและตรรกะทา การคา นวณโดย ใช้ข้อมูลที่ได้รับมาถอดรหัสคา สั่ง และทราบแล้วว่าต้องทา อะไร ซีพียูก็จะ ทา ตามคา สั่งนั้น
  • 8. วงรอบการทางานของคาสั่ง (machine cycle) วงรอบของการทา คา สั่งของซีพียูประกอบด้วยขั้นตอนการทา งานพื้นฐาน 4 ขั้น (ต่อ) 4. ข้นัตอนการเก็บ (store) หลังจากทา คา สั่งก็จะเก็บผลลัพธ์ที่ได้ไว้ใน หน่วยความจา ซีพียูยุคเก่า การทา คา สั่งแต่ละคา สั่งจะต้องทา วงรอบคา สั่งให้จบก่อน จากนั้นจึงทา วงรอบคา สั่งของคา สั่งต่อไป สา หรับซีพียูในยุคปัจจุบันได้มี การพัฒนาให้ทา งานได้เร็วขึ้น โดยมีการแบ่งวงรอบคา สั่งนี้เป็นวงรอบย่อยๆ อีก มีการนา เทคนิคการทา งานแบบสายท่อ (pipeline) มาใช้ โดยขณะที่ทา วงรอบคา สั่งแรกอยู่ ก็มีการอ่านรหัสคา สั่งของคา สั่งถัดไปเข้ามาด้วย ซึ่งจะ ทา ให้การทา งานโดยรวมของซีพียูเร็วขึ้นมาก
  • 9. หน่วยควบคุม (Control unit) เป็นหน่วยที่ทาหน้าที่ประสานงาน และควบคุมการทางานของ คอมพิวเตอร์ ควบคุมให้อุปกรณ์รับข้อมูล ส่งข้อมูลไปที่หน่วยความจา ติดต่อกับอุปกรณ์แสดงผลเพื่อสั่งให้นาข้อมูลจากหน่วยความจาไปยัง อุปกรณ์แสดงผล โดยหน่วยควบคุมของคอมพิวเตอร์จะแปลความหมาย ของคาสั่งในโปรแกรมของผู้ใช้ และควบคุมให้อุปกรณ์ต่างๆ ทางาน ตามคา สั่งนั้นๆ
  • 10. หน่วยคานวณและตรรกะ หรือ เอแอลยู (Arithmetic-Logic Unit : ALU) ก า ร ค า น ว ณ ต่า ง ๆ ท า ง คณิตศาสตร์ ได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบทางตรรกะ เพื่อทาการ ตัดสินใจ เช่น การเปรียบเทียบข้อมูล การ เปรียบเทียบว่าจริงหรือเท็จ การทางานของเอแอลยู จะรับ ข้อมูลจากหน่วยความจามาไว้ในที่เก็บ ชั่วคราวของเอแอลยูที่เรียกว่า เรจิสเตอร์ (register) เพื่อทาการคานวณแล้วส่งผล ลัพธ์กลับไปยังหน่วยความจา รูปที่ หน่วยความจา แบบแฟลซท่อียู่บน เมนบอร์ด
  • 11. 3.2 หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 3.2.2 หน่วยความจา และการจัดเก็บข้อมูล
  • 12. หน่วยความจา (memory unit) หน่วยความจาแบ่งออกเป็น 2 ชนิด 1) หน่วยความจาแบบไม่สามารถลบเลือนได้(non volatile memory) เป็น หน่วยความจา ที่สามารถเก็บข้อมูลได้ แม้ว่าไม่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยง ตัวอย่างของ หน่วยความจา ชนิดนี้ เช รอม และหน่วยความจา แบบแฟรซ - รอม (Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยความจา แบบอ่านได้ อย่างเดียวไม่สามารถลบและเขียนข้อมูลใหม่ได้ - หน่วยความจา แบบแฟรซ (flash memory) เป็นหน่วยความจา ที่สามารถ ลบและเขียนข้อมูลใหม่ได้ ในเครื่องคอมพิวเตอร์มีการใช้รอมในการเก็บไบออส (Basic Input Output System : BIOS) ไบออสทา หน้าที่เก็บข้อมูล โปรแกรมและคา สั่งพื้นฐานที่สาคัญในการเริ่มต้น กระบวนการบูต (boot) ของเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนมาใช้หน่วยความจา แบบแฟรซในการเก็บไบออสแทน
  • 13. หน่วยความจา (memory unit) หน่วยความจาแบ่ง ออกเป็น 2 ชนิด 2) หน่วยความจาแบบลบเลือนได้(volatile memory) เป็นหน่วยความจาที่ต้องใช้ กระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเพื่อเก็บข้อมูล หากเกิดไฟฟ้าดับ ข้อมูลและโปรแกรมคา สั่งจะสูญ หายไป หน่วยความจา ชนิดนี้ เช่น แรม แรม (Random Access Memory : RAM) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สแตติกแรม หรือเอสแรม (Static RAM : SRAM) มักพบในตัวซีพียูทา หน้าที่เป็นหน่วยความจา ภายในซีพียูที่เรียกว่าหน่วยความจา แคช ซึ่งจะมีความเร็วสูงกว่าได นามิกแรม 2. ไดนามิกแรม หรือ ดีแรม (Dynamic RAM : DRAM) เป็น หน่วยความจา ที่ใช้ในการจดจา ข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ ที่อยู่ระหว่างการประมวลผลของ คอมพิวเตอร์ เป็นหน่วยความจา ที่มีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือพีซีมากที่สุด เนื่องจากราคาไม่แพงและมีความจุสูง
  • 15. ในการประมวลผล ของคอมพิวเตอร์ เช่น ถ้า ต้องการให้คอมพิวเตอร์ แสดงผลการบวกตัวเลข สองจานวน ซีพียูจะต้อง ติด ต่อ กับ แ ร ม ที่ใ ช้เ ก็บ ชุดคาสั่งและข้อมูลต่าง ไว้
  • 16. 3.2 หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 3.2.3 ระบบบัสกับการทางานร่วมกัน ของคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง
  • 17. ระบบบัส ในเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น มีเมนบอร์ดที่สามารถติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ซีพียู หน่วยความจา และฮาร์ดดิสก์ โดยการส่งข้อมูลและคา สั่งระหว่างอุปกรณ์จะอยู่ในรูป ของสัญญาณไฟฟ้าที่ถูกส่งผ่านระบบส่งถ่ายข้อมูลที่เรียกว่าบัส (bus)
  • 18. ขนาดของบัส (bus width) กาหนดโดยจานวนบิตที่คอมพิวเตอร์สามารถถ่ายโอนข้อมูลได้ในหนึ่งครั้ง ตัวอย่างเช่น บัส 32 บิต สามารถรับส่งข้อมูลได้ครั้งละ 32 บิต บัสขนาด 64 บิต สามารถรับส่งข้อมูลได้ครั้งละ 64 บิต เป็นต้น บัสที่มีจา นวนบิตมากจะทา ให้การรับส่ง ข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ทา ได้เร็วขึ้น การบอกความเร็วบัสมักวัดเป็นจา นวนครั้งที่รับส่งข้อมูลได้ในหนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งมีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ (Hz) เช่น บัสที่มีความเร็ว 1 MHz หมายความว่าบัสนี้สามารถ รับส่งข้อมูลได้หนึ่งล้านครั้งต่อวินาที เครื่องคอมพิวเตอร์ที่พบในปัจจุบันจะมีค่า ความเร็วบัสเป็น 667,800,1066 หรือ 1333 MHz ถ้าความเร็วบัสมีค่ามากหมายความว่า สามารถรับส่งข้อมูลได้เร็ว ก็จะทา ให้เวลาการทา งานของโปรแกรมเร็วขึ้นไปด้วย
  • 20. การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ตามลักษณะของงาน แต่ละประเภท งานเอกสาร หรืองานในสานักงาน เป็นการใช้คอมพิวเตอร์สาหรับจัดการด้านเอกสาร รายงาน ตกแต่งภาพ ทา การ์ดอิเล็กทรอนิกส์ ดูภาพยนตร์หรือสื่อทางการศึกษา ติดต่อสื่อสาร ค้นหา ข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคา และ ซอฟต์แวร์ตารางทา งาน เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานประเภทนี้ไม่จา เป็นต้อง ใช้ซีพียูที่มีความเร็วสูง คือประมาณ 1GHz ขึ้นไป แต่ควรมีแรมอย่างน้อย 1GB และอาจเลือกใช้จอภาพแบบแอลซีดีขนาดใหญ่ 17-19 นิ้วเพื่อถนอมสายตา เนื่องจากลักษณะงานต้องจ้องมองจอภาพตลอดเวลา
  • 21. การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ตามลักษณะของงาน แต่ละประเภท งานกราฟิก เป็นการใช้คอมพิวเตอร์สาหรับการตกแต่งและออกแบบภาพ และมีการ เรียนใช้งานกราฟิกหลายๆ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน ใช้ซอฟต์แวร์กราฟิกในการ สร้างชิ้นงาน เช่น งานสิ่งพิมพ์ งานนาเสนอแบบมัลติมีเดีย สร้างเว็บไซต์ ติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต โดยมีการรับ-ส่งข้อมูลจา นวนมาก ที่มีทั้งภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานประเภทนี้จา เป็นต้องมีซีพียู ที่มีความเร็วอยู่ในระดับปานกลางถึงค่อนข้างสูง ประมาณ 2 GHz ขึ้นไป ใช้แรม อย่างน้อย 2 GB ขึ้นไป และมีฮาร์ดดิสก์ที่มีความจุสูงเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูล จา นวนมาก
  • 22. การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ตามลักษณะของงาน แต่ละประเภท งานออกแบบที่ต้องแสดงผลเป็น 3 มิติ เป็นการใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบภาพ 3 มิติ สร้างภาพยนตร์ สร้าง การ์ตูนแอนิเมชั่น (animation) ตัดต่อวีดิทัศน์ ตัดต่อเพลง เล่นเกมที่มีภาพกราฟฟิก สูง และงานประเภทนี้ต้องการเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการคา นวณ และแสดงภาพความละเอียดสูงสุดได้ ดังนั้น ควรเลือกซีพียูที่มีความเร็วสูงไม่น้อย กว่า 2 GHz มีแรมอย่างน้อย 4 GB การ์ดจอแสดงผลที่สามารถแสดงภาพที่มีความ ละเอียดสูงได้ดี ควรใช้จอภาพขนาดไม่ต่า กว่า 24 นิ้ว และควรมีเครื่องสา รองไฟ เนื่องจากการทา งานประเภทนี้ คอมพิวเตอร์จะต้องใช้เวลาในการประมวลผลนาน ถ้าหากไฟดับหรือไฟกระตุกจะไม่สะดวกในการเริ่มงานใหม่
  • 24.
  • 25. 3.4.1 ซีพียู เป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญที่สุดและ เป็นปัจจัยแรกในการพิจารณาเมื่อคิดที่จะซื้อ หรือประกอบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมีผลต่อ การเลือกซื้ออุปกรณ์อื่น เช่น เมนบอร์ด เป็นต้น และซีพียูยังเป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการ ประมวลผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์อีก ด้วย ในการเลือกซื้อซีพียูสามารถพิจารณา ได้จากหลายปัจจัย เช่น บริษัทผู้ผลิต ความเร็ว ซีพียู แคช ความเร็วบัส
  • 26. ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อซีพียู 1) บริษัทผู้ผลิต ในปัจจุบันมีบริษัทผู้ผลิตซีพียูชั้นนา 2 บริษัท คือ บริษัทอินเทล (Intel Corporation) และบริษัทเอเอ็มดี (Advanced Micro Devices : AMD) โดยทั้งสองบริษัทได้มีการผลิต ซีพียูที่แบ่งตามจา นวนของแกนประมวลผล (Processing core) 2) ความเร็วของซีพียู ความเร็วของซีพียูขึ้นอยู่กับความถี่สัญญาณนาฬิกา ซึ่งเป็น สัญญาณไฟฟ้าที่คอยกา หนดจังหวะการทา งานประสานของวงจรภายในให้สอดคล้องกัน สัญญาณ ดังกล่าวจะมีหน่วยความถี่เป็นเมกะเฮิรตซ์ (megahertz) หรือล้านครั้งต่อวินาที ถึงระดับกิกะเฮิรตซ์ (gigahertz) หรือพันล้านครั้งต่อวินาที 3) หน่วยความจา แคช (cache) ในซีพียูมีหน่วยความจา แคช ซึ่งเป็นหน่วยความจา ความเร็วสูงเพื่อให้การทา งานเร็วขึ้นเนื่องจากแรมมีความเร็วที่ช้ากว่าซีพียูจึงจา เป็นที่ต้องมี หน่วยความจา แคช เป็นที่เก็บข้อมูลชั่วคราวเพื่อให้ซีพียูทา งานร่วมกันได้ดีขึ้น โดยควรพิจารณา เลือกซื้อซีพียูที่มีความจุของหน่วยความจา แคชมาก 4) ความเร็วบัส คือ ความเร็วในการรับส่งข้อมูลระหว่างซีพียูและอุปกรณ์อื่นๆ ควร พิจารณาซีพียูที่มีความเร็วบัสสูงและสอดคล้องกับความเร็วของอุปกรณ์อื่น เช่น เมนบอร์ด และแรม
  • 27. 3.4.2 เมนบอร์ด (mainboard) หรืออาจเรียกว่า มาเธอร์ บอร์ด หรือโมโบ (motherboard : mobo) เป็นแผงวงจรหลักของ คอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปจะ ประกอบด้วยช่องสา หรับติดตั้งซีพียู ไบออส ชิปเซ็ต ช่องสา หรับติดตั้ง หน่วยความจา สายสัญญาณ และบัส ต่างๆ ขั้วต่อสา หรับเชื่อมต่ออุปกรณ์เส รามภายใน เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีไดร์ฟ และพอร์ตต่ออุปกรณ์รอบข้าง เช่น เมาส์ และ คีย์บอร์ด
  • 30. 3.4.3 แรม ใ น ก า ร เ ลือ ก ซื้อ แ ร ม เ พื่อ นามาใช้งรานกับพีซี มักจะเป็นแรมชนิด ดีดีอาร์เอสดีแรม (Double Data Rate Synchronous Dynamic RAM : DDR SDRAM) ซึ่งจะต้องพิจารณาประเภท ของแรมให้ตรงกับสล็อตหน่วยความจา บนเมนบอร์ด และสิ่งที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ทั่วไปควรให้ความสาคัญในลาดับต่อมา คือ ขนาดความจุ และความเร็ว ซึ่งเป็น ปัจจัยสา คัญที่ต้องนา มาพิจารณาด้วย
  • 31. ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อแรม 1) ประเภทของแรม ต้องพิจารณาเลือกซื้อให้ตรงกับสล็อตหน่วยความจา บนเมนบอร์ด แรมที่ใช้ในพีซี เช่น DDR , DDR2 และ DDR3 โดยแรมแต่ละชนิด จะมีตา แหน่งรอยบากที่แตกต่างกัน เพื่อให้สามารถเสียบแรมบนสล็อตได้ถูกต้อง 2) ความจุปัจจุบันแรมมีให้เลือกตั้งแต่ความจุ 256 MB ขึ้นไป เครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานด้านกราฟิกหรือมัลติมีเดียระดับสูง จะใช้แรมที่มีความจุ สูงขึ้นตามไปด้วย สา หรับเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมักจะติดตั้งแรมความจุ 1 GB ขึ้นไป บนเมนบอร์ดของคอมพิวเตอร์จะมีสล็อตสาหรับติดตั้งแรมมากกว่า 1 ช่อง ผู้ใช้สามารถติดตั้งแรมได้หลายตัว แต่ต้องเป็นชนิดเดียวกัน ตามที่สล็อต ติดตั้งจะมีให้ โดยความจุแรมของพีซีจะเท่ากับผลรวมจากความจุของแรมทั้งหมด
  • 32. ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อแรม 3) ความเร็วของแรม ความเร็วของแรม หมายถึง จา นวนครั้งที่สามารถอ่าน เขียนข้อมูลได้ภายในหนึ่งวินาที โดยมีหน่วยวัดเป็น เมกะเฮิรตซ์ (MHz) เช่น DDR3 มี ความเร็ว 1,333 MHz เป็นต้น ผุ้ใช้งานต้องเลือกความเร็วของแรมให้สอดคล้องกับ ความเร็วบัสของเมนบอร์ดด้วย ตัวอย่างเช่น ถ้าระบบบัสบนเมนบอร์ด (FSB) ทา งาน ด้วยความเร็ว 1,066 MHz แต่นาแรมที่มีความเร็ว 1,333 MHz มาใช้งานจะได้สามารถ ทา งานที่ความเร็ว 1,333 MHz ได้ ตัวอย่างของระบบบัสบนเมนบอร์ดกับแรมเปรียบได้ กับการที่รถวิ่งบนถนนเพื่อไปให้ถึงจุดหมาย ในบางครั้งอาจใช้อัตราการถ่ายโอนข้อมูลในการจา แนกรุ่นของแรม เช่น PC2- 5400 คือ แรมชนิด DDR2 – 667 ที่มีค่าอัตราการถ่ายโอนข้อมูลประมาณ 5,400 MB/s หมายถึง ปริมาณข้อมูลที่จะรับส่งได้ภายในหนึ่งวินาที (คา นวณจาก 667 MHz X 8 ไบต์)
  • 33. 3.4.4 ฮาร์ดดิสก์(hard disk) เ ป็น อุป ก ร ณ์ใ น ก า ร เ ก็บ ข้อมูล ฮาร์ดดิสก์ที่ใช้กันในพีซี โดยทั่วไปคือ ฮาร์ดดิสก์ขนาด 3.5 นิ้ว สาหรับฮาร์ดดิสก์ที่มีขนาด 2.5 และ 1.8 นิ้วนั้นนิยมใช้กับโน้ตบุ๊ก
  • 34. การพิจารณาเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์ ก า ร พิจ า ร ณ า เ ลือ ก ซื้อ ฮาร์ดดิสก์ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ด้วยกัน เช่น การเชื่อมต่อ ความจุของ ข้อ มูล แ ล ะ ค ว า ม เ ร็ว ร อ บ ข อ ง ฮาร์ดดิสก์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทาให้ ฮาร์ดดิสก์มีราคาที่แตกต่างกัน
  • 35. ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์ 1) การเชื่อมต่อ มาตรฐานการเชื่อมต่อของฮาร์ดดิสก์ที่ใช้งานอยู่บนพีซี ในปัจจุบัน ใช้มาตรฐาน EIDE และ SATA ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเมนบอร์ดว่ารองรับการ เชื่อมต่อแบบใด 2) ความจุข้อมูล มีหน่วยเป็น กิกะไบท์ (GB) หรือเทระไบต์ (TB) ซึ่ง ขนาดความจุข้อมูลของฮาร์ดดิสก์นั้นขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ใช้งาน 3) ความเร็วรอบ เป็นอัตราเร็วในการหมุนของฮาร์ดดิสก์เพื่อให้หัวอ่าน- เขียน เข้าถึงข้อมูลฮาร์ดดิสก์ที่มีความเร็วรอบสูงจะทา ให้มีอัตราเร็วในการรับส่ง ข้อมูลสูง โดยทั่วไปฮาร์ดดิสก์ของพีซีจะมีความเร็วรอบอยู่ที่ 7,200 รอบต่อนาที (rpm)
  • 36. 3.4.5 การ์ดแสดงผล (display card, graphics card หรือ video card) ทาหน้าที่แปลงข้อมูล ดิจิทัลมาเป็นสัญญาณที่ส่งไปที่จอภาพ การ์ด แสดงผลอาจอยู่ในรูปแบบการ์ดหรืออาจติดตั้งมาบนเมนบอร์ดแล้ว การที่ผู้ใช้ต้องการปรับปรุงการ์ดแสดงผลเนื่องจากต้องการใช้กับงานที่ ต้องการแสดงผลภาพสามมิติได้อย่างคมชัด ซึ่งคอมพิวเตอร์ชุดสา เร็จที่ผู้ขายจัด ให้อาจไม่สามารรถแสดงผลภาพดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ สาหรับปัจจัย ในการพิจารณาเลือกซื้อการ์ดแสดงผล เช่น ชิปประมวลผล กราฟิก การเชื่อมต่อ และความจุของหน่วยความจา บนการ์ด
  • 37. ปัจจัยในการเลือกซื้อการ์ดแสดงผล 1) ชิปประมวลผลกราฟิก หรือจีพียู(graphic processing unit : GPU) เป็นอุปกรณ์ พิเศษที่เพิ่มความเร็วในการแสดงผลโดยลดภาระซีพียูในการคานวณข้อมูลที่จะส่งไปที่ จอภาพ ตัวอย่างการเลือกซื้อจีพียู เช่น ถ้าต้องการประมวลผลภาพสามมิติ อาจใช้ชิปของ บริษัท nVIDIA รุ่นGForce 9 และ GTX2xx หรือชิปของบริษัท ATi รุ่น Radeon HD 4000 2) การเชื่อมต่อ มี 2 แบบ คือ แบบใช้กับบัส PCI Express และบัส AGP โดย PCI Express จะมีประสิทธิภาพสูงที่สุดซึ่งสามารถให้ความเร็วสูงสุดได้ถึง 16 GB/s ส่วน AGP มี ประสิทธิภาพรองลงมา 3) ความจุของหน่วยความจาบนการ์ด หน่วยความจาบนการ์ด (Video RAM) เป็น ส่วนที่ใช้เก็บข้อมูลภาพที่แสดงบนจอคอมพิวเตอร์ ถ้าความจุของหน่วยความจา มาก จะทา ให้ แสดงภาพมัลติมีเดียความละเอียดสูงได้ดี การบอกความจุของหน่วยความจาบนตัวการ์ด เช่น DDR3 512 MB
  • 38. การพิจารณาเลือกซื้อออปติคัลดิสก์ไดร์ฟ 1. ซีดีไดร์ฟ(Compact Disc Drive:CD Drive)ใช้อ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีได้อย่างเดียว 2. ดีวีดีไดร์ฟ (Digital Versatile Disc Drive : DVD Drive) ใช้อ่านข้อมูลได้ทั้งแผ่น ซีดีและแผ่นดีวีดี แต่ไม่สามารถเขียนหรือบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นซีดีหรือดีวีดีได้ 3. ซีดีอาร์ดับบลิวไดร์ฟ (Compact Disc ReWritable Drive : CD-RW Drive) สามารถอ่านและเขียนข้อมูลลงบนแผ่นซีดีได้ มีการระบุค่าความเร็วเช่น 52x/32x/52x หมายความว่า ความเร็วในการเขียน CD-R เท่ากับ 52x ความเร็วในการเขียนซ้า CD-RW เท่ากับ 32x และความเร็วในการอ่าน CD-ROM เท่ากับ 52x 4. คอมโบไดร์ฟ (Combo Drive) สามารถอ่านและเขียนข้อมูลบนแผ่นซีดี และอ่าน ข้อมูลจากแผ่นดีวีดี มีการระบุค่าความเร็ว เช่น 52x/32x/52x/16x 5. ดีวีดีอาร์ดับบลิวไดร์ฟ (Digital Versatile Disc ReWritable Drive : DVD+RW Drive) สามารถอ่านและเขียนข้อมูลได้ทั้งแผ่นซีดีและแผ่นดีวีดี มีการระบุค่าความเร็ว เช่น 20x/12x/20x/8x
  • 39. ออปติคัลดิสก์ไดร์ฟ (optical disk drive) ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น ซีดีไดร์ฟและดีวีดีไดร์ฟ เป็น อุปกรณ์มาตรฐานที่พีซีทุกเครื่อง ควรมี เนื่องจากซีดี/ดีวีดีไดร์ฟมี ราคาถูกลงมากนอกจากนี้สื่อที่ใช้ เก็บบันทึก เช่น แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี มีความจุสูงและมีราคาถูก
  • 40. 3.4.7 เคส (case) โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นกล่องสี่เหลี่ยม ทา หน้าที่เป็นโครงยึดให้กับอุปกรณ์ภายใน ต่างๆ ที่ประกอบกันเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งเมนบอร์ด ฮาร์ดดิสก์ แหล่งจ่ายไฟ เป็นต้น นอกจากนี้ยังทา หน้าที่ในการป้องกันความเสียหายที่จะเกิดกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ภายใน เคส หลักในการพิจารณาเลือกซื้อเคส เช่น - มีช่องระบายอากาศและระบบระบายความร้อน - มีพื้นที่หรือช่องที่จะเพิ่มอุปกรณ์ได้ เช่น การเพิ่มฮาร์ดดิสก์ การเพิ่มซีดี/ดีวีดีไดร์ฟ - ลักษณะของเคส เช่น เคสในแนวนอน ที่เรียกว่า เดสก์ท็อปเคส (desktop case) และเคสในแนวตั้งที่เรียกว่า ทาวเวอร์เคส (tower case) - ในกรณีที่เป็นการใช้งานโดยทั่วไป อาจะเลือกใช้เคสที่มีแหล่งจ่ายไฟ (power supply) ติดตั้งมาให้สา เร็จแล้ว แต่ถ้าต้องการติดตั้งอุปกรณ์ภายในหลายชิ้น เช่น ฮาร์ดดิสก์ การ์ดแสดงผลความเร็วสูง และพอร์ต USB ควรพิจารณาเลือกแหล่งจ่ายไฟที่มีความสามารถ สูงขึ้น
  • 41.
  • 42. 3.4.8 จอภาพ (monitor) ที่พบจะมีอยู่สอง ประเภทคือ จอซีอาร์ที (Cathode Ray Tube : CRT) และจอแอล ซีดี (Liquid Crystal Display : LCD) ซึ่งในปัจจุบันจอแอลซีดี เป็นที่นิยมมากเนื่องจากมีราคา ถูก ถนอมสายตา ประหยัด พลังงาน และใช้พื้นที่ในการจัด วางน้อย
  • 43. ปัจจัยในการเลือกซื้อจอภาพ - ความละเอียดของภาพ (resolution) หมายถึง จานวนจุดหรือพิกเซลบนจอภาพ ถ้า หากมีความละเอียดสูงจะทา ให้ภาพคมชัดมากขึ้น ตัวอย่างเช่น จอภาพที่มีความละเอียด 1680 x 1050 เป็นจอภาพที่มีจุดภาพในแนวนอน 1680 จุด และมีจุดภาพในแนวตั้ง 1050 จุด - ขนาด (size) ขนาดของจอภาพจะวัดเป็นแนวทแยงมุม เช่น จอ 19 นิ้ว และแบบ 21 นิ้ว นอกจากนี้จอภาพยังสามารถเลือกความสว่าง (brightness) และความเปรียบเทียบ ต่าง (contrast) ได้อีกด้วย การแสดงผลของจอภาพนั้นจะต้องมีการ์ดแสดงผล เป็นตัว ประสานงานระหว่างซีพียูกับจอภาพ โดยสัญญาณภาพจะถูกส่งออกมาจากการ์ดแสดงผลนี้ จอภาพโดยทั่วไปจะมีพอร์ตต่อแบบวีจีเอ (Video Graphics Array : VGA) ซึ่งเป็นตัวรับ สัญญาณแอนะล็อกมาจากการ์ดแสดงผล จอภาพบางรุ่นจะมีพอร์ตต่อแบบดีวีไอ (Digital Video Interface : DVI) ซึ่งเป็นการรับข้อมูลภาพแบบดิจิทัลซึ่งจะให้ภาพที่คมชัดกว่า
  • 45. 3.5 การรับประกันอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์จะมีการรับประกันอายุการใช้งาน อุปกรณ์แต่ละ ชนิดจะมีระยะเวลารับประกันต่างกัน เช่น แรม รับประกันตลอดอายุการใช้งาน (life time) และฮาร์ดดิสก์อาจรับประกัน 1-5 ปี โดยอายุของการรับประกันที่นาน ขึ้น อาจมีผลทา ให้ราคาสูงขึ้น บนอุปกรณ์บางชนิดจะมีสติ๊กเกอร์รับประกันติด อยู่บนตัวอุปกรณ์ซึ่งหากมีการฉีกขาด การรับประกันจะสิ้นสุดลงทันที ดังนั้นจึง ควรระมัดระวังเมื่อเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆ
  • 46. 3.6 ข้อแนะนา การดูแลและบารุงรักษา เครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
  • 47. 3.6 ข้อแนะนาการดูแลและบารุงรักษา เครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น 1. ไม่ควรเปิดฝาคอมพิวเตอร์โดยไม่จา เป็น เนื่องจากอาจมีโลหะที่นา ไฟฟ้าเข้าไปในเครื่องทา ให้เกิด การลัดวงจร หรือมีฝุ่นเข้าไปในตัวเครื่อง ฝุ่นนี้จะเป็นตัวเก็บความชื้นทา ให้วงจรคอมพิวเตอร์ทา งานผิดพลาดได้ 2. ไม่ควรตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ไว้ในสถานที่ที่มีอุณหภูมิสูง เนื่องจากจะส่งผลให้ชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์เสื่อมสภาพเร็วขึ้น 3. ไม่ควรตั้งคอมพิวเตอร์ใกล้กับประตูหรือหน้าต่าง เนื่องจากอาจโดนแสดงแดดหรือฝนสาดเข้ามาได้ 4. ไม่ควรวางจอคอมพิวเตอร์ใกล้กับสนามแม่เหล็ก หรือลา โพงตัวใหญ่ๆ เนื่องจากสนามแม่เหล็กจะ ทา ให้การแสดงภาพผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริง 5. ถ้าหากที่บ้านไฟตกหรือมีไฟกระชาก ควรมีเครื่องสารองไฟยูพีเอส (Uninterruptible power supply : UPS) 6. ควรตั้งโหมดประหยัดพลังงานให้กับเครื่อง เพื่อถนอมอายุการใช้งานเครื่อง การทา งานในโหมดนี้ จะทา ให้ฮาร์ดดิสก์และซีพียูทา งานน้อยลงเมื่อไม่มีการใช้เครื่องในระยะเวลาที่กา หนด 7. ไม่ควรวางของเหลวใกล้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ 8. ไม่ควรปิดเครื่องโดยการกดสวิตซ์ปิด ควรใช้คา สั่งปิดระบบปฏิบัติการ เนื่องจากระบบปฏิบัติการ ต้องดา เนินการตรวจสอบสถานการณ์ทา งานต่างๆ ของฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ก่อนจะหยุดการทา งาน
  • 49. การแก้ปัญหาเบื้องต้นของพีซี 1. เครื่องหยุดทา งานขณะใช้งานอยู่ สาเหตุแหล่งจ่ายไฟจ่ายกา ลังไฟฟ้าไม่พอ อาจเกิดจากมีอุปกรณ์ต่อพ่วงอยู่กับ คอมพิวเตอร์เป็นจา นวนมาก การแก้ไข นา อุปกรณ์ที่ไม่จา เป็นที่ต่อพ่วงอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ออกไป หรือ เปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟที่มีกา ลังไฟฟ้ามากขึ้น 2. เปิดเครื่องแล้วปรากฏข้อความว่า “DISK BOOT fAILURE, INSERT DISK SYSTEM PRESS ENTER” สาเหตุเครื่องบูตไม่พบฮาร์ดดิสก์ หรือระบบปฏิบัติการบนฮาร์ดดิสก์เสียหาย การแก้ไข ตรวจสอบโปรแกรมไบออสว่า บูตฮาร์ดดิสก์ในตา แหน่งที่ถูกต้องหรือไม่ หรือติดตั้งระบบปฏิบัติการบนฮาร์ดดิสก์
  • 50. การแก้ปัญหาเบื้องต้นของพีซี 3. อ่านหรือเขียนแผ่นซีดี / ดีวีดีไม่ได้ สาเหตุหัวอ่านเลเซอร์ของไดร์ฟสกปรก การแก้ไข ให้ใช้แผ่นซีดีทา ความสะอาดหัวอ่าน โดยใส่แผ่นซีดีสา หรับทา ความ สะอาดเข้าไปในไดร์ฟ แปรงขนาดเล็กที่อยู่ใต้แผ่นซีดีจะปัดทา ความสะอาดหัวอ่านเลเซอร์ ของไดร์ฟ 4. เครื่องรีสตาร์ต (restart) เองขณะใช้งาน สาเหตุซีพียูมีความร้อนสูง การแก้ไข ตรวจสอบพัดลมของซีพียูว่าทา งานหรือไม่ สายที่ต่ออยู่แน่หรือไม่