SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
ประเทศไทยได้มีการนาคอมพิวเตอร์ มาใช้เป็นเครื่องมือในการ 
สร้างสื่อการเรียน การถ่ายทอดความรู้เป็นระยะเวลานานพอสมควร โดย 
อาจจะนับได้ว่า จุดเริ่มต้นตั้งแต่การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการ 
เรียนการสอน วิชาคอมพิวเตอร์ จากนั้นก็มีการสร้างสื่อการเรียนการ 
สอนรูปแบบใหม่ แทนที่เอกสารหนังสือ ที่เรียกว่า สื่อคอมพิวเตอร์ช่วย 
สอน หรือ CAI (Computer Aided Instruction) ซึ่งมีซอฟต์แวร์ที่เป็น 
เครื่องมือให้เลือกใช้งานได้หลากหลาย ทั้งที่ทางานบนระบบปฏิบัติการ 
ดอส เช่น โปรแกรมจุฬาซีเอไอ (Chula CAI) ที่พัฒนาโดยแพทย์จาก 
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โปรแกรม ThaiTas ได้รับ 
การสนับสนุนจาก ศูนย์เทคโนโลยีเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ 
แห่งชาติ รวมถึงซอฟต์แวร์สาเร็จรูปจากต่างประเทศ เช่น ShowPartnet 
F/X, ToolBook, Authorware
ใ น ปัจ จุบัน เ ท ค โ น โ ล ยีค อ ม พิว เ ต อ ร์ แ ล ะ 
อินเทอร์เน็ตได้พัฒนาเติบโตอย่างรวดเร็ว และได้ก้าวมา 
เป็นเครื่องมือชิ้นสาคัญ ที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียน 
การสอน การฝึกอบรม รวมทงั้การถ่ายทอดความรู้ โดย 
พัฒนา CAI เดิมๆ ให้เป็น WBI (Web Based Instruction) 
หรือการเรียนการสอนผ่านบริการเว็บเพจ ส่งผลให้ข้อมูล 
ในรูปแบบ WBI สามารถเผยแพร่ได้รวดเร็ว และกว้างไกล 
กว่าสื่อ CAI ปกติ ทงั้นี้ก็มาจากประเด็นสาคัญอีก 2 
ประการ
1. ประเด็นแรกได้แก่ สามารถประหยัดเงินที่ต้อง 
ลงทุนในการจัดหาซอฟต์แวร์สร้างสื่อ(Authoring Tools) 
ไม่จาเป็นต้องซื้อโปรแกรมราคาแพงๆ มาใช้เป็น 
เครื่องมือในการสร้างสื่อการเรียนการสอน เพราะ 
สามารถใช้ Notepad ที่มาพร้อมกับ Microsoft 
Windows ทุกรุ่น หรือ Text Editor ใดๆ ก็ได้ลงรหัส 
HTML (Hypertext Markup Language) สร้างเอกสาร 
HTML ที่มีลักษณะการถ่ายทอดความรู้ด้านการศึกษา
2. ประเด็นที่สองเนื่องจากคุณสมบัติของ 
เอกสาร HTML ที่สามารถนาเสนอข้อมูลได้ทั้ง 
ข้อความ ภาพ เสียง VDO และสามารถสร้างจุด 
เชื่อมโยงไปตาแหน่งต่างๆ ได้ตามความต้องการของ 
ผู้พัฒนาส่งผลให้การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนใน 
รูปแบบ WBI เป็นที่นิยมอย่างสูง และได้รับการพัฒนา 
ปรับปรุงรูปแบบมาเป็นสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ 
e-Learning (Electronis Learning) ซึ่งกาลังได้รับ 
ความนิยมอย่างสูงในปัจจุบัน
สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ e-Learning สามารถกล่าว 
ได้ว่าเป็นรูปแบบที่พัฒนาต่อเนื่องมาจาก WBI โดยมีจุดเริ่มต้นจาก 
แผนเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของชาติ สหรัฐอเมริกา (The 
National Educational Technology Plan'1996) ของ 
กระทรวงศึกษาธิการสหรัฐอเมริกา ที่ต้องการพัฒนารูปแบบการ 
เรียนของนักเรียนให้เข้ากับศตวรรษที่ 21 การพัฒนาระบบการ 
เรียนรู้จึงมีการนาเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตมาช่วยเสริมอย่างเป็นจริง 
เป็นจัง ดังนนั้สามารถกล่าวได้ว่า e-Learning คือ การนาเทคโนโลยี 
อินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะบริการด้านเว็บเพจเข้ามาช่วยในการเรียน 
การสอน การถ่ายทอดความรู้ และการอบรม ทงั้นี้สามารถแบ่งยุค 
ของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้ ดังนี้
• ยุคคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและฝึกอบรม (Instructor Led 
Training Era) เป็นยุคที่อยู่ในช่วงเริ่มใช้คอมพิวเตอร์ในวง 
การศึกษา จนถึงปี ค.ศ. 1983 
• ยุคมัลติมีเดีย (Multimedia Era) อยู่ในช่วงปี ค.ศ. 
1984 - 1993 ตรงกับช่วงที่มีการใช้Microsoft Windows 
3.1 อย่างกว้างขวาง มีการใช้ซีดีรอมในการเก็บบันทึกข้อมูล 
มีการใช้โปรแกรม PowerPoint สร้างสื่อนาเสนอ ทั้งทางธุรกิจ 
และการศึกษา โดยนามาประยุกต์สร้างสื่อการสอน บทเรียน 
พร้อมบันทึกในแผ่นซีดี สามารถนาไปใช้สอนและเรียนได้ตาม 
เวลาและสถานที่ที่มีความสะดวก
• ยุคเว็บเริ่มต้น (Web Infancy) อยู่ในช่วงปี ค.ศ. 
1994 - 1999 มีการนาเทคโนโลยีเว็บเข้ามาเป็น 
บริการหนึ่งของอินเทอร์เน็ต มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 
เว็บสร้างบทเรียนช่วยสอนและฝึกอบรม รวมทงั้ 
เทคโนโลยีมัลติมีเดียบนเว็บ 
• ยุคเว็บใหม่ (Next Generation Web) เริ่มตั้งแต่ปี 
ค.ศ. 2000 เป็นต้นไป มีการนาสื่อข้อมูล และเครื่องมือ 
ต่างๆ มาประยุกต์สร้างบทเรียน เป็นการก้าวสู่ระบบ 
e-Learning อย่างแท้จริง

More Related Content

What's hot

What's hot (12)

K4
K4K4
K4
 
K4 2
K4 2K4 2
K4 2
 
K4
K4K4
K4
 
3
33
3
 
ใบงานที่ 4 โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 โครงงานประเภท  การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่ 4 โครงงานประเภท  การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงานท 3
ใบงานท   3ใบงานท   3
ใบงานท 3
 
4 120816125045-phpapp01
4 120816125045-phpapp014 120816125045-phpapp01
4 120816125045-phpapp01
 
K4
K4K4
K4
 
K3
K3K3
K3
 
ใบงาน3 แก้
ใบงาน3 แก้ใบงาน3 แก้
ใบงาน3 แก้
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายของโครงงาน
 

Similar to ความเป็นมาของระบบ E learning

ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4Kubgife Yrc
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4Kubgife Yrc
 
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)krooprakarn
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์Mook Sunita
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมpaponteein
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน Nongnut Wasikarn
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”Justice MengKing
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Pum Pep
 
โครงงานประภทพัฒนาเอการสื่อสาร
โครงงานประภทพัฒนาเอการสื่อสารโครงงานประภทพัฒนาเอการสื่อสาร
โครงงานประภทพัฒนาเอการสื่อสารNuTty Quiz
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thep-in123456
 
ใบงานที่2 16
ใบงานที่2   16ใบงานที่2   16
ใบงานที่2 16PrinceKs
 
ใบงานที่2-16
ใบงานที่2-16ใบงานที่2-16
ใบงานที่2-16PrinceKs
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 

Similar to ความเป็นมาของระบบ E learning (20)

ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)
 
Project 3 presentation
Project 3 presentationProject 3 presentation
Project 3 presentation
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
 
K4 2
K4 2K4 2
K4 2
 
K4
K4K4
K4
 
K4 2
K4 2K4 2
K4 2
 
K4
K4K4
K4
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Work3 comclass
Work3 comclassWork3 comclass
Work3 comclass
 
โครงงานประภทพัฒนาเอการสื่อสาร
โครงงานประภทพัฒนาเอการสื่อสารโครงงานประภทพัฒนาเอการสื่อสาร
โครงงานประภทพัฒนาเอการสื่อสาร
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่2 16
ใบงานที่2   16ใบงานที่2   16
ใบงานที่2 16
 
ใบงานที่2-16
ใบงานที่2-16ใบงานที่2-16
ใบงานที่2-16
 
28 supamongkol
28 supamongkol28 supamongkol
28 supamongkol
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 

More from Sudkamon Play

Web server คืออะไร
Web server คืออะไรWeb server คืออะไร
Web server คืออะไรSudkamon Play
 
Cai คืออะไร
Cai คืออะไรCai คืออะไร
Cai คืออะไรSudkamon Play
 
องค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ Lmsองค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ LmsSudkamon Play
 
ประโยชน์ของ E learning
ประโยชน์ของ E learningประโยชน์ของ E learning
ประโยชน์ของ E learningSudkamon Play
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningSudkamon Play
 
E learning คือ
E learning คือE learning คือ
E learning คือSudkamon Play
 

More from Sudkamon Play (13)

Web server คืออะไร
Web server คืออะไรWeb server คืออะไร
Web server คืออะไร
 
Cai คืออะไร
Cai คืออะไรCai คืออะไร
Cai คืออะไร
 
องค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ Lmsองค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ Lms
 
ประโยชน์ของ E learning
ประโยชน์ของ E learningประโยชน์ของ E learning
ประโยชน์ของ E learning
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
 
E learning คือ
E learning คือE learning คือ
E learning คือ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

ความเป็นมาของระบบ E learning

  • 1.
  • 2. ประเทศไทยได้มีการนาคอมพิวเตอร์ มาใช้เป็นเครื่องมือในการ สร้างสื่อการเรียน การถ่ายทอดความรู้เป็นระยะเวลานานพอสมควร โดย อาจจะนับได้ว่า จุดเริ่มต้นตั้งแต่การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการ เรียนการสอน วิชาคอมพิวเตอร์ จากนั้นก็มีการสร้างสื่อการเรียนการ สอนรูปแบบใหม่ แทนที่เอกสารหนังสือ ที่เรียกว่า สื่อคอมพิวเตอร์ช่วย สอน หรือ CAI (Computer Aided Instruction) ซึ่งมีซอฟต์แวร์ที่เป็น เครื่องมือให้เลือกใช้งานได้หลากหลาย ทั้งที่ทางานบนระบบปฏิบัติการ ดอส เช่น โปรแกรมจุฬาซีเอไอ (Chula CAI) ที่พัฒนาโดยแพทย์จาก คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โปรแกรม ThaiTas ได้รับ การสนับสนุนจาก ศูนย์เทคโนโลยีเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ รวมถึงซอฟต์แวร์สาเร็จรูปจากต่างประเทศ เช่น ShowPartnet F/X, ToolBook, Authorware
  • 3. ใ น ปัจ จุบัน เ ท ค โ น โ ล ยีค อ ม พิว เ ต อ ร์ แ ล ะ อินเทอร์เน็ตได้พัฒนาเติบโตอย่างรวดเร็ว และได้ก้าวมา เป็นเครื่องมือชิ้นสาคัญ ที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียน การสอน การฝึกอบรม รวมทงั้การถ่ายทอดความรู้ โดย พัฒนา CAI เดิมๆ ให้เป็น WBI (Web Based Instruction) หรือการเรียนการสอนผ่านบริการเว็บเพจ ส่งผลให้ข้อมูล ในรูปแบบ WBI สามารถเผยแพร่ได้รวดเร็ว และกว้างไกล กว่าสื่อ CAI ปกติ ทงั้นี้ก็มาจากประเด็นสาคัญอีก 2 ประการ
  • 4. 1. ประเด็นแรกได้แก่ สามารถประหยัดเงินที่ต้อง ลงทุนในการจัดหาซอฟต์แวร์สร้างสื่อ(Authoring Tools) ไม่จาเป็นต้องซื้อโปรแกรมราคาแพงๆ มาใช้เป็น เครื่องมือในการสร้างสื่อการเรียนการสอน เพราะ สามารถใช้ Notepad ที่มาพร้อมกับ Microsoft Windows ทุกรุ่น หรือ Text Editor ใดๆ ก็ได้ลงรหัส HTML (Hypertext Markup Language) สร้างเอกสาร HTML ที่มีลักษณะการถ่ายทอดความรู้ด้านการศึกษา
  • 5. 2. ประเด็นที่สองเนื่องจากคุณสมบัติของ เอกสาร HTML ที่สามารถนาเสนอข้อมูลได้ทั้ง ข้อความ ภาพ เสียง VDO และสามารถสร้างจุด เชื่อมโยงไปตาแหน่งต่างๆ ได้ตามความต้องการของ ผู้พัฒนาส่งผลให้การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนใน รูปแบบ WBI เป็นที่นิยมอย่างสูง และได้รับการพัฒนา ปรับปรุงรูปแบบมาเป็นสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ e-Learning (Electronis Learning) ซึ่งกาลังได้รับ ความนิยมอย่างสูงในปัจจุบัน
  • 6. สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ e-Learning สามารถกล่าว ได้ว่าเป็นรูปแบบที่พัฒนาต่อเนื่องมาจาก WBI โดยมีจุดเริ่มต้นจาก แผนเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของชาติ สหรัฐอเมริกา (The National Educational Technology Plan'1996) ของ กระทรวงศึกษาธิการสหรัฐอเมริกา ที่ต้องการพัฒนารูปแบบการ เรียนของนักเรียนให้เข้ากับศตวรรษที่ 21 การพัฒนาระบบการ เรียนรู้จึงมีการนาเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตมาช่วยเสริมอย่างเป็นจริง เป็นจัง ดังนนั้สามารถกล่าวได้ว่า e-Learning คือ การนาเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะบริการด้านเว็บเพจเข้ามาช่วยในการเรียน การสอน การถ่ายทอดความรู้ และการอบรม ทงั้นี้สามารถแบ่งยุค ของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้ ดังนี้
  • 7. • ยุคคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและฝึกอบรม (Instructor Led Training Era) เป็นยุคที่อยู่ในช่วงเริ่มใช้คอมพิวเตอร์ในวง การศึกษา จนถึงปี ค.ศ. 1983 • ยุคมัลติมีเดีย (Multimedia Era) อยู่ในช่วงปี ค.ศ. 1984 - 1993 ตรงกับช่วงที่มีการใช้Microsoft Windows 3.1 อย่างกว้างขวาง มีการใช้ซีดีรอมในการเก็บบันทึกข้อมูล มีการใช้โปรแกรม PowerPoint สร้างสื่อนาเสนอ ทั้งทางธุรกิจ และการศึกษา โดยนามาประยุกต์สร้างสื่อการสอน บทเรียน พร้อมบันทึกในแผ่นซีดี สามารถนาไปใช้สอนและเรียนได้ตาม เวลาและสถานที่ที่มีความสะดวก
  • 8. • ยุคเว็บเริ่มต้น (Web Infancy) อยู่ในช่วงปี ค.ศ. 1994 - 1999 มีการนาเทคโนโลยีเว็บเข้ามาเป็น บริการหนึ่งของอินเทอร์เน็ต มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เว็บสร้างบทเรียนช่วยสอนและฝึกอบรม รวมทงั้ เทคโนโลยีมัลติมีเดียบนเว็บ • ยุคเว็บใหม่ (Next Generation Web) เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 เป็นต้นไป มีการนาสื่อข้อมูล และเครื่องมือ ต่างๆ มาประยุกต์สร้างบทเรียน เป็นการก้าวสู่ระบบ e-Learning อย่างแท้จริง