SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
โครงงานคอมพิวเตอร์
หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการ
ดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์
และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทา
โครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียน
สามารถทาโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนา
โปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสาคัญของการทาโครงงานเป็นการ
เปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือ
ค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่าง
โครงงานคอมพิวเตอร์
ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
• ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถที่เกิดจากการที่
นักเรียนเป็นผู้ทาโครงงานต้องนาเสนอผลงานให้ ครูและเพื่อนนักเรียน
ให้เข้าใจโครงงานคอมพิวเตอร์ได้อย่างชัดเจน ดังนั้น ผู้ทาโครงงาน
ต้องสื่อสารความคิดในการสร้างสรรค์โครงงานด้วยการเขียน หรือด้วย
ปากเปล่า รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่ออย่างมีประสิทธิภาพเพื่อ
นาเสนอแนวคิดในการจัด โครงงานให้ผู้อื่นได้เข้าใจ
• ความสามารถในการคิด ซึ่งผู้เรียนจะมีการคิดในลักษณะต่าง ๆ
ดังนี้
1.การคิดวิเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องวิเคราะห์ปัญหาและ
แยกแยะสาเหตุว่าเกิดเนื่องจากอะไร
2.การคิดสังเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องนาความรู้ต่าง ๆ ที่เรียนมา
รวมทั้งความรู้จากการค้นหาข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการ
สร้างสรรค์โครงงาน
3.การคิดอย่างสร้างสรรค์ เกิดจากการที่ผู้เรียนนาความรู้มาสร้างสรรค์
ผลงานใหม่ ๆ
4.การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เกิดจากการที่ผู้เรียนได้มีการคิดไตร่ตรอง
ว่าควรทาโครงงานใดและไม่ควรทาโครง งานใด เนื่องจากโครงงานที่
สร้างขึ้นอาจส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวม เช่น โครงงานระบบคานวณ
เลขหวย สาหรับหาเลขที่คาดว่าสลากกินแบ่งรัฐบาลจะออกในแต่ละงวด
อาจส่งผลกระทบต่อสังคม ทาให้คนในสังคมเกิดความหมกมุ่นในกับการ
ใช้เงินเล่นหวยมากขึ้น
5.การคิดอย่างเป็นระบบ เกิดจากการที่ผู้เรียนคิดแก้ปัญหาอย่างเป็น
ขั้นตอน โดยใช้ขั้นตอนในการพัฒนาโครงงาน คือ ผู้เรียนเป็นผู้วางแผน
ในการศึกษา ค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูล พัฒนา หรือประดิษฐ์คิดค้น
ผลงาน รวมทั้งการสรุปผลและการนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง โดยมีผู้สอนและผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้ให้คาปรึกษา
• ความสามารถในการแก้ปัญหา เกิดจากการที่ผู้เรียนวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ และ
อธิบายปัญหาทางด้านคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้
เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
• ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เกิดจากการที่ผู้เรียนได้นาความรู้และ
กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการพัฒนาโครงงาน และนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม รวมถึงการพัฒนาโครงงาน ก่อให้เกิดการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง อันนาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต
• ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เกิดจากการที่ผู้เรียนสามารถเลือกใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหาได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม และมี
คุณธรรม
โครงงานคอมพิวเตอร์ ขอบข่ายของโครงงาน ดาเนินงานโดยนักเรียน เป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์และครูอาจารย์เป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษา มี
องค์ประกอบดังนี้
1. เป็นกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติดัวยตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการทางทฤษฎีตามเนื้อหาโครงงานนั้นๆ หรือจาก
ประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นมากแล้ว
2. นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทาโครงงานด้วยตนเอง หรือเป็นกลุ่มโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ เป็นภาคเรียน หรือมากว่าก็ได้ แล้วแต่โครงงานเล็ก
หรือใหญ่
3. นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์ คัดเลือกโครงงานที่จะศึกษาค้นคว้าปฏิบัติด้วยตนเองตามความถนัด สนใจ และความพร้อม
4. นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงาน รายละเอียดของโครงงาน แผนปฏิบัติงานและการแปลผล รายงานผลต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อดาเนินงาน
ร่วมกันให้บรรลุตามจุดหมายที่กาหนดไว้
5. เป็นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักเรียนตามวัยและสติปัญญา รวมทั้งการใช้จ่ายเงินดาเนินงานด้วย
ประเภทของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์สามารถจาแนกได้หลายประเภท ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความแตกต่างของขนาดเครื่องความเร็วในการ
ประมวลผล และราคาเป็นข้อพิจารณาหลัก ซึ่งโดยทั่วไปนิยมจาแนกประเภทคอมพิวเตอร์เป็น 7ประเภท
ดังนี้ คือ
1. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ( Supercomputer)
2. คอมพิวเตอร์เมนเฟรม (Mainframe computer)
3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)
4. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop computer)
5. โน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ (Notebook computer)
6. คอมพิวเตอร์พกพาขนาดฝ่ามือ (Hand-held Personal computer)
7. คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded computer) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
• 1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มี
ประสิทธิภาพในการทางานสูงสุด จึงมีราคาแพงมาก ความสามารถในการประมวลผลที่
ทาได้ถึงพันล้านคาสั่งต่อวินาที ตัวอย่างการใช้งานคอมพิวเตอร์ประเภทนี้เช่น การ
พยากรณ์อากาศ การทดสอบทางอวกาศ และงานอื่นๆ ที่มีการคานวณที่ซับ
ซอน ปัจจุบันมีการนาซูเปอร์คอมพิวเตอร์ไปใช้กับงานออกแบบชิ่นส่วนรถยนต์ งาน
วิเคราะห์สิงค้าคงคลัง หรือแม้แต่การออกแบบงานด้านศิลปะ หน่วยงานที่มีการใช้ซูเปอร์
คอมพิวเตอร์ ได้แก่ องค์การนาซา (NASA) และหน่วยงานธุรกิจขนาดใหญ่
ตัวอย่างเช่น บริษัท General Motors และ AT&T เป็นต้น
• 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) หรือ
คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพรองจากซูเปอร์
คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับการทางานจากผู้ใช้ได้หลายร้อยคนในเวลา
เดียวกัน ประมวลผลด้วยความเร็วสูง มีหน่วยความจาหลักขนาดใหญ่ ตลอดจนการจัดเก็บ
ข้อมูลได้เป็นจานวนมาก คอมพิวเตอร์เมนเฟรมนิยมใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ที่มีการเข้าถึง
ข้อมูลผู้ใช้จานวนมากในเวลาเดียวกัน (Multiple Users)
ตัวอย่างเช่น งานธนาคาร การจองตั๋ว เครื่องบิน
การลงทะเบียนและการตรวจสอบผลการเรียนของนักศึกษาเป็นต้น
• 3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) หรือคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง เป็น
คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทางานด้านความเร็วและความสามารถในการจัดเก็บ
ข้อมูลน้อยกว่าเมนเฟรม แต่สูงกว่าคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ(Desktop computer) และ
สามารถรองรับการทางานจากผู้ใช้ได้หลายคนในการทางานที่แตกต่างกัน จากจุดเริ่มต้นใน
การพัฒนาที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ทางานเฉพาะอย่าง เช่น บริษัทที่ให้บริการ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ ตลาดหลักทรัพย์สถานศึกษา รวมทั้งการให้บริการ
ข้อมูลแก้ลูกค้า
ตัวอย่างเช่น การจองห้องพักของโรงแรม เป็นต้น
• 4. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) หรือเดสก์ท็อป
เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer หรือ PC) ที่มีขนาด
เล็กเหมาะกับโต๊ะทางานในสานักงาน สถานศึกษา และที่บ้าน รูปทรง ของ
ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์จะมีทั้งแบบวางนอน และแบบแนวตั้งที่เรียกว่าทาวเวอร์
(Tower) เพื่อประหยัดเนื้อที่เป็นการวางทั้งบนโต๊ะและที่พื้น
ตัวอย่างเช่น
การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์
ตั้งโต๊ะยังจาแนกได้ดั้งนี้
1.All-in Computer
2.Workstation
3.Stand-alone Computer
4.Server Computer
• 5. คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค (Notebook Computer) หรือบางครั้งเรียกว่า แลปท็อป
คอมพิวเตอร์ (Laptop Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าเครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะ
น้าหนักเบา จึงสามารถนาติดตัวไปยังสถานที่ต่างๆ ได้ เครื่องโน้ตบุ๊คมีสมรรถนะในการทางานเทียบเท่า
เครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะ และมีแผงแป้นพิมพ์และจอภาพติดกับตัวเครื่องรวมทั้งมีแบตเตอรี่ภายในเครื่อง จึง
สามารถทางานได้ในช่วงเวลาหนึ่งโดยไม่ต้องใช้ไฟบ้าน เหมาะกับงานส่วนบุคคลและงานสานักงานที่
จาเป็นต้องออกนอกสถานที่
ตัวอย่างเช่น Tablet PC ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดกาลังเหมาะ น้าหนักเบา หมุนได้180 องศา มี
ทั้งแบบมีแป้นพิมพ์ในตัว และแบบไม่มีแป้นพิมพ์ในตัวแต่มีแป้นพิมพ์แยกต่างหาก การรับข้อมูล
(Input) สามารถใช้ทั้งแบบสัมผัสและใช้ปากกาชนิดพิเศษ(Stylus)เขียนแบบจอภาพได้ หรือแม้กระทั้ง
เสียงพูด ระบบเชื่อมต่อเครือข่ายทั้งแบบแลง (LAN) และแบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
• คอมพิวเตอร์ฝ่ามือ (Hand-held Personal Computer) หรือ
เครื่องพีซีขนาดมือถือ หรือเครื่องพีดีเอ(Personal Digital Assistant-PDA) เป็นเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับเครื่องคิดเลขขนาดเล็ก น้าหนักเบามาก จึงสามารถวางบนฝ่ามือได้โดย
มีสมรรถนะในการทางานเฉพาะกับโปรแกรมสาหรับงานส่วนบุคคล เช่น การรับส่งอีเมล์ การบันทึก
ตารางนัดหมาย และการเข้าถึงข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต เครื่อง PDA
ตัวอย่างเช่น (Personal Digital Assistant) บางครั้งก็ เรียกว่า Pen-
based Computer เนื่องจากเป็นคอมพิวเตอร์แบบพกพาที่ใช้ปากกาที่เรียกว่า สไตลัส
(Stylus) เป็นอุปกรณ์ในการบันทึกข้อมูล ในบางครั้งก็จะใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลด้วยลายมือลง
บนหน้าจอ และในบางครั้งอาจจะใช้ปากกานี้สาหรับเป็นอุปกรณ์เพื่อเลือกการทางานบนจอภาพ
• 7. คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded Computer) หรือ
ไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมากที่ใช้ไมโคร
โพรเซสเซอร์ชนิดพิเศษเพื่อฝัง (Embed) ไว้ในอุปกรณ์ประเภทต่างๆ
ตัวอย่างเช่น บัตรสมาร์ทการ์ด (Smart Card ) โทรศัพท์มือถือ ตู้เย็น เตาไมโครเวฟ และ
รถยนต์ ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณลักษณะและความสามารถพิเศษบางประการ เช่น การเก็บข้อมูลส่วน
บุคคล การให้บริการด้านบันเทิง การค้นหาข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การควบคุมเรื่องเวลา
และอุณหภูมิ และการให้ข้อมูลเพื่อช่วยในการเดินทาง เป็นต้น

More Related Content

What's hot

ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
Kansiri Sai-ud
 
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
Nataya Younyee
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญ
Lupin F'n
 
ใบงานคอมพ วเตอร 2-8
ใบงานคอมพ วเตอร  2-8 ใบงานคอมพ วเตอร  2-8
ใบงานคอมพ วเตอร 2-8
Peeranut Poungsawud
 
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8
ploypapas45091
 
หมูนวมงานคอม (1)
หมูนวมงานคอม (1)หมูนวมงานคอม (1)
หมูนวมงานคอม (1)
Aom Nachanok
 

What's hot (19)

ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Presentation607.45
Presentation607.45Presentation607.45
Presentation607.45
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญ
 
กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1
 
Phuwanon22
Phuwanon22Phuwanon22
Phuwanon22
 
3 tp
3 tp3 tp
3 tp
 
ใบงานคอมพ วเตอร 2-8
ใบงานคอมพ วเตอร  2-8 ใบงานคอมพ วเตอร  2-8
ใบงานคอมพ วเตอร 2-8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8
 
1. ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
1. ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์1. ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
1. ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 2-609
กิจกรรมที่ 2-609กิจกรรมที่ 2-609
กิจกรรมที่ 2-609
 
หมูนวมงานคอม (1)
หมูนวมงานคอม (1)หมูนวมงานคอม (1)
หมูนวมงานคอม (1)
 

Similar to งานนำเสนอ1

เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานเรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
Best Deelai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Khem Chanathip
 
โครงงานคอมพิวเตอร์V
โครงงานคอมพิวเตอร์Vโครงงานคอมพิวเตอร์V
โครงงานคอมพิวเตอร์V
Piyabud Tang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Filmm Vsr
 
New microsoft office word document
New microsoft office word documentNew microsoft office word document
New microsoft office word document
Kingkan Kaikaew
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
A'Aea Eykol
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Buntharee Setapongsat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Buntharee Setapongsat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์.Pdf
โครงงานคอมพิวเตอร์.Pdfโครงงานคอมพิวเตอร์.Pdf
โครงงานคอมพิวเตอร์.Pdf
Buntharee Setapongsat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Laughter' Meepoom
 

Similar to งานนำเสนอ1 (20)

เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานเรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Work2 nc
Work2 nc Work2 nc
Work2 nc
 
611 08
611 08611 08
611 08
 
Computer project.
Computer project.Computer project.
Computer project.
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์V
โครงงานคอมพิวเตอร์Vโครงงานคอมพิวเตอร์V
โครงงานคอมพิวเตอร์V
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
โครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 1โครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
โครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
 
Project computer
Project computerProject computer
Project computer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
New microsoft office word document
New microsoft office word documentNew microsoft office word document
New microsoft office word document
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์.Pdf
โครงงานคอมพิวเตอร์.Pdfโครงงานคอมพิวเตอร์.Pdf
โครงงานคอมพิวเตอร์.Pdf
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

งานนำเสนอ1

  • 2. หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการ ดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทา โครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียน สามารถทาโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนา โปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสาคัญของการทาโครงงานเป็นการ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือ ค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่าง โครงงานคอมพิวเตอร์
  • 3. ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ • ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถที่เกิดจากการที่ นักเรียนเป็นผู้ทาโครงงานต้องนาเสนอผลงานให้ ครูและเพื่อนนักเรียน ให้เข้าใจโครงงานคอมพิวเตอร์ได้อย่างชัดเจน ดังนั้น ผู้ทาโครงงาน ต้องสื่อสารความคิดในการสร้างสรรค์โครงงานด้วยการเขียน หรือด้วย ปากเปล่า รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่ออย่างมีประสิทธิภาพเพื่อ นาเสนอแนวคิดในการจัด โครงงานให้ผู้อื่นได้เข้าใจ • ความสามารถในการคิด ซึ่งผู้เรียนจะมีการคิดในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ 1.การคิดวิเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องวิเคราะห์ปัญหาและ แยกแยะสาเหตุว่าเกิดเนื่องจากอะไร 2.การคิดสังเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องนาความรู้ต่าง ๆ ที่เรียนมา รวมทั้งความรู้จากการค้นหาข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการ สร้างสรรค์โครงงาน 3.การคิดอย่างสร้างสรรค์ เกิดจากการที่ผู้เรียนนาความรู้มาสร้างสรรค์ ผลงานใหม่ ๆ 4.การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เกิดจากการที่ผู้เรียนได้มีการคิดไตร่ตรอง ว่าควรทาโครงงานใดและไม่ควรทาโครง งานใด เนื่องจากโครงงานที่ สร้างขึ้นอาจส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวม เช่น โครงงานระบบคานวณ เลขหวย สาหรับหาเลขที่คาดว่าสลากกินแบ่งรัฐบาลจะออกในแต่ละงวด อาจส่งผลกระทบต่อสังคม ทาให้คนในสังคมเกิดความหมกมุ่นในกับการ ใช้เงินเล่นหวยมากขึ้น 5.การคิดอย่างเป็นระบบ เกิดจากการที่ผู้เรียนคิดแก้ปัญหาอย่างเป็น ขั้นตอน โดยใช้ขั้นตอนในการพัฒนาโครงงาน คือ ผู้เรียนเป็นผู้วางแผน ในการศึกษา ค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูล พัฒนา หรือประดิษฐ์คิดค้น ผลงาน รวมทั้งการสรุปผลและการนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง โดยมีผู้สอนและผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้ให้คาปรึกษา
  • 4. • ความสามารถในการแก้ปัญหา เกิดจากการที่ผู้เรียนวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ และ อธิบายปัญหาทางด้านคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้ เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา • ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เกิดจากการที่ผู้เรียนได้นาความรู้และ กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการพัฒนาโครงงาน และนาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม รวมถึงการพัฒนาโครงงาน ก่อให้เกิดการ เรียนรู้ด้วยตนเอง อันนาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต • ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เกิดจากการที่ผู้เรียนสามารถเลือกใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหาได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม และมี คุณธรรม
  • 5. โครงงานคอมพิวเตอร์ ขอบข่ายของโครงงาน ดาเนินงานโดยนักเรียน เป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์และครูอาจารย์เป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษา มี องค์ประกอบดังนี้ 1. เป็นกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติดัวยตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการทางทฤษฎีตามเนื้อหาโครงงานนั้นๆ หรือจาก ประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นมากแล้ว 2. นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทาโครงงานด้วยตนเอง หรือเป็นกลุ่มโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ เป็นภาคเรียน หรือมากว่าก็ได้ แล้วแต่โครงงานเล็ก หรือใหญ่ 3. นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์ คัดเลือกโครงงานที่จะศึกษาค้นคว้าปฏิบัติด้วยตนเองตามความถนัด สนใจ และความพร้อม 4. นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงาน รายละเอียดของโครงงาน แผนปฏิบัติงานและการแปลผล รายงานผลต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อดาเนินงาน ร่วมกันให้บรรลุตามจุดหมายที่กาหนดไว้ 5. เป็นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักเรียนตามวัยและสติปัญญา รวมทั้งการใช้จ่ายเงินดาเนินงานด้วย
  • 6. ประเภทของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์สามารถจาแนกได้หลายประเภท ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความแตกต่างของขนาดเครื่องความเร็วในการ ประมวลผล และราคาเป็นข้อพิจารณาหลัก ซึ่งโดยทั่วไปนิยมจาแนกประเภทคอมพิวเตอร์เป็น 7ประเภท ดังนี้ คือ 1. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ( Supercomputer) 2. คอมพิวเตอร์เมนเฟรม (Mainframe computer) 3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) 4. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop computer) 5. โน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ (Notebook computer) 6. คอมพิวเตอร์พกพาขนาดฝ่ามือ (Hand-held Personal computer) 7. คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded computer) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
  • 7. • 1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มี ประสิทธิภาพในการทางานสูงสุด จึงมีราคาแพงมาก ความสามารถในการประมวลผลที่ ทาได้ถึงพันล้านคาสั่งต่อวินาที ตัวอย่างการใช้งานคอมพิวเตอร์ประเภทนี้เช่น การ พยากรณ์อากาศ การทดสอบทางอวกาศ และงานอื่นๆ ที่มีการคานวณที่ซับ ซอน ปัจจุบันมีการนาซูเปอร์คอมพิวเตอร์ไปใช้กับงานออกแบบชิ่นส่วนรถยนต์ งาน วิเคราะห์สิงค้าคงคลัง หรือแม้แต่การออกแบบงานด้านศิลปะ หน่วยงานที่มีการใช้ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ ได้แก่ องค์การนาซา (NASA) และหน่วยงานธุรกิจขนาดใหญ่ ตัวอย่างเช่น บริษัท General Motors และ AT&T เป็นต้น • 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) หรือ คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพรองจากซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับการทางานจากผู้ใช้ได้หลายร้อยคนในเวลา เดียวกัน ประมวลผลด้วยความเร็วสูง มีหน่วยความจาหลักขนาดใหญ่ ตลอดจนการจัดเก็บ ข้อมูลได้เป็นจานวนมาก คอมพิวเตอร์เมนเฟรมนิยมใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ที่มีการเข้าถึง ข้อมูลผู้ใช้จานวนมากในเวลาเดียวกัน (Multiple Users) ตัวอย่างเช่น งานธนาคาร การจองตั๋ว เครื่องบิน การลงทะเบียนและการตรวจสอบผลการเรียนของนักศึกษาเป็นต้น
  • 8. • 3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) หรือคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง เป็น คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทางานด้านความเร็วและความสามารถในการจัดเก็บ ข้อมูลน้อยกว่าเมนเฟรม แต่สูงกว่าคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ(Desktop computer) และ สามารถรองรับการทางานจากผู้ใช้ได้หลายคนในการทางานที่แตกต่างกัน จากจุดเริ่มต้นใน การพัฒนาที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ทางานเฉพาะอย่าง เช่น บริษัทที่ให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ ตลาดหลักทรัพย์สถานศึกษา รวมทั้งการให้บริการ ข้อมูลแก้ลูกค้า ตัวอย่างเช่น การจองห้องพักของโรงแรม เป็นต้น • 4. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) หรือเดสก์ท็อป เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer หรือ PC) ที่มีขนาด เล็กเหมาะกับโต๊ะทางานในสานักงาน สถานศึกษา และที่บ้าน รูปทรง ของ ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์จะมีทั้งแบบวางนอน และแบบแนวตั้งที่เรียกว่าทาวเวอร์ (Tower) เพื่อประหยัดเนื้อที่เป็นการวางทั้งบนโต๊ะและที่พื้น ตัวอย่างเช่น การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ ตั้งโต๊ะยังจาแนกได้ดั้งนี้ 1.All-in Computer 2.Workstation 3.Stand-alone Computer 4.Server Computer
  • 9. • 5. คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค (Notebook Computer) หรือบางครั้งเรียกว่า แลปท็อป คอมพิวเตอร์ (Laptop Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าเครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะ น้าหนักเบา จึงสามารถนาติดตัวไปยังสถานที่ต่างๆ ได้ เครื่องโน้ตบุ๊คมีสมรรถนะในการทางานเทียบเท่า เครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะ และมีแผงแป้นพิมพ์และจอภาพติดกับตัวเครื่องรวมทั้งมีแบตเตอรี่ภายในเครื่อง จึง สามารถทางานได้ในช่วงเวลาหนึ่งโดยไม่ต้องใช้ไฟบ้าน เหมาะกับงานส่วนบุคคลและงานสานักงานที่ จาเป็นต้องออกนอกสถานที่ ตัวอย่างเช่น Tablet PC ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดกาลังเหมาะ น้าหนักเบา หมุนได้180 องศา มี ทั้งแบบมีแป้นพิมพ์ในตัว และแบบไม่มีแป้นพิมพ์ในตัวแต่มีแป้นพิมพ์แยกต่างหาก การรับข้อมูล (Input) สามารถใช้ทั้งแบบสัมผัสและใช้ปากกาชนิดพิเศษ(Stylus)เขียนแบบจอภาพได้ หรือแม้กระทั้ง เสียงพูด ระบบเชื่อมต่อเครือข่ายทั้งแบบแลง (LAN) และแบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN) • คอมพิวเตอร์ฝ่ามือ (Hand-held Personal Computer) หรือ เครื่องพีซีขนาดมือถือ หรือเครื่องพีดีเอ(Personal Digital Assistant-PDA) เป็นเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับเครื่องคิดเลขขนาดเล็ก น้าหนักเบามาก จึงสามารถวางบนฝ่ามือได้โดย มีสมรรถนะในการทางานเฉพาะกับโปรแกรมสาหรับงานส่วนบุคคล เช่น การรับส่งอีเมล์ การบันทึก ตารางนัดหมาย และการเข้าถึงข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต เครื่อง PDA ตัวอย่างเช่น (Personal Digital Assistant) บางครั้งก็ เรียกว่า Pen- based Computer เนื่องจากเป็นคอมพิวเตอร์แบบพกพาที่ใช้ปากกาที่เรียกว่า สไตลัส (Stylus) เป็นอุปกรณ์ในการบันทึกข้อมูล ในบางครั้งก็จะใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลด้วยลายมือลง บนหน้าจอ และในบางครั้งอาจจะใช้ปากกานี้สาหรับเป็นอุปกรณ์เพื่อเลือกการทางานบนจอภาพ
  • 10. • 7. คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded Computer) หรือ ไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมากที่ใช้ไมโคร โพรเซสเซอร์ชนิดพิเศษเพื่อฝัง (Embed) ไว้ในอุปกรณ์ประเภทต่างๆ ตัวอย่างเช่น บัตรสมาร์ทการ์ด (Smart Card ) โทรศัพท์มือถือ ตู้เย็น เตาไมโครเวฟ และ รถยนต์ ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณลักษณะและความสามารถพิเศษบางประการ เช่น การเก็บข้อมูลส่วน บุคคล การให้บริการด้านบันเทิง การค้นหาข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การควบคุมเรื่องเวลา และอุณหภูมิ และการให้ข้อมูลเพื่อช่วยในการเดินทาง เป็นต้น