SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ระบบบริการสุขภาพ 
กำลังคนด้านสุขภาพ 
ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ 
เทคโนโลยีทางการแพทย์ 
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ 
การเข้าถึงและความครอบคลุมของบริการ 
คุณภาพและความปลอดภัย 
สุขภาพและความเป็นธรรม 
การป้องกันความเสี่ยงทางสังคมและทางการเงิน 
ประสิทธิภาพบริการ
โครงสร้างของระบบบริการสาธารณสุขประกอบด้วย ระบบต่างๆ 
6 ด้าน คือ 1 ระบบบริการ ได้แก่ การบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ 
ทุติยภูมิ และ ตติยภูมิ 2 กำลังคนด้านสุขภาพ 3 ระบบข้อมูลข่าว 
สารสุขภาพ 4 เทคโนโลยีด้านการแพทย์ ได้แก่ ยา และเวชภัณฑ์ 
เครื่องมือในการตรวจวินิจฉัยโรค และเครื่องมือในการรักษา 
5 งบประมาณค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ และ 6 ภาวะผู้นำและธรรมาภิบาล 
ของระบบ 
ระบบบริการสาธารณสุขทั้ง 6 ด้าน นี้ มีเป้าหมายที่ต้องการบรรลุอยู่ 4 ประการ คือ 
1. เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมระหว่างประชากรกลุ่มต่างๆ ในการได้รับบริการ และการมีสุข 
ภาวะที่ดี 2. เพื่อทำให้มั่นใจว่าการบริการสุขภาพนั้นได้ตอบสนองความต้องการของ 
ประชาชนในระดับที่น่าพอใจ 3. เพื่อให้มั่นใจว่ามีระบบป้องกันความเสี่ยงด้านสังคมและ 
การเงินจากค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ และ 4. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการบริการในด้าน 
การจัดสรรทรัพยากรและเทคโนโลยี 
การบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ทั้ง 4 ประการนี้จำเป็นต้องคำนึงถึง การเข้าถึงบริการ 
และความครอบคลุมของบริการสาธารณสุข และบริการต่างๆ ที่มีคุณภาพได้ 
มาตรฐานและมีความปลอดภัย 
ระบบบริการสาธารณสุขของไทยนับได้ว่าพัฒนาไปในทุกมิติ โดยการจัดบริการด้าน 
สุขภาพนั้น ประเทศไทยได้ขยายบริการออกไปทุกระดับ ครอบคลุมทุกพื้นที่และมีระบบ 
การส่งต่อที่ดี ทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้โดยสะดวก ประกอบกับประเทศไทยได้จัด 
หลักประกันสุขภาพครอบคลุมประชากรทุกคน ตั้งแต่ปี 2544 เป็นต้นมา มีผลทำให้เกิด 
ความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการอย่างถ้วนหน้า ประชาชนได้รับการรักษาพยาบาล 
และการป้องกันโรคที่จำเป็นอย่างทั่วถึง นอกจากนี้ ยังถือว่าเป็นการป้องกันความเสี่ยง 
ทางสังคมและการเงินให้ประชาชนทางหนึ่ง เนื่องจากช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายของ 
ครัวเรือนลง 
แต่อย่างไรก็ตามยังคงมีบริการที่ความครอบคลุมต่ำ คือการตรวจคัดกรองโรค 
เช่น การตรวจมะเร็งปากมดลูก การตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน 
และไขมันในเลือดสูง เป็นต้น ซึ่งหากพบในระยะเริ่มแรก จะทำให้ได้รับการรักษา 
แต่เนิ่นๆ
£­š„§²¡„´”m£°ššš£´²£ª²˜²£“ª¸‚n 
การเข้าถึง 
และครอบคลุม 
ของการบริการ 
คุณภาพและ 
ความปลอดภัย 
ระบบบริการ 
กำลังคนด้านสุขภาพ 
ระบบข้อมูลข่าวสาร 
เทคโนโลยีทางการแพทย์ 
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ 
ภาวะผู้นำและธรรมาภิบาล 
ที่มา : WHO. Everybody Business: Strengthening Health System to Improve Health Outcomes: 
WHO’s Framework for Action. 2007. Geneva, World Health Organization. 
ความเป็นธรรม 
การตอบสนองต่อความต้องการ 
การป้องกันความเสี่ยงทางสังคมและการเงิน 
ประสิทธิภาพการบริการ 
ที่มา : World Health Organization 2007. 
ประเด็นด้านการจัดระบบบริการที่ยังต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่อง คือการกระจายทรัพยากรให้เหมาะสม 
เพื่อไม่ให้เกิดความเหลื่อมล้ำระหว่างชนบทกับเมือง และระหว่างเมืองใหญ่ที่มีความพร้อมทาง 
เศรษฐกิจและสังคม กับเมืองที่ระดับความพร้อมยังต่ำ เนื่องจากพบว่าบุคลากรทางการแพทย์และ 
สาธารณสุข และเครื่องมือและเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ก้าวหน้า มักกระจุกตัวอยู่ในเมืองใหญ่ 
ในขณะที่เมืองขนาดเล็กและชนบท ยังมีความขาดแคลนอยู่ มาตรการในการสร้างแรงจูงใจ ความ 
ภาคภูมิใจให้กับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในการทำงานในชนบท เป็นสิ่งที่รัฐควรให้ 
ความสนใจ เช่นเดียวกับเทคโนโลยีทางการแพทย์ ควรมีการประเมินความคุ้มค่าของเทคโนโลยีทั้งใน 
มุมมองของการวินิจฉัย การรักษาโรค ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น และการกระจายท่เีหมาะสม 
นอกจากนี้ คุณภาพและความปลอดภัยของการให้บริการด้านสาธารณสุข เป็นสิ่งสำคัญต่อชีวิต 
ประชาชน เพราะความผิดพลาดของการบริการมีผลต่อชีวิตของผู้ป่วย จากจำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิต 
ในโรงพยาบาลทั้งหมด พบว่ามีภาวะที่ไม่พึงประสงค์เกิดขึ้นถึงร้อยละ 35 และประมาณครึ่งของการ 
ตายที่เกิดจากภาวะไม่พึงประสงค์นี้สามารถป้องกันได้ เพราะส่วนใหญ่เสียชีวิตเพราะการติดเชื้อใน 
โรงพยาบาล ดังนั้นจึงควรเน้นด้านมาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อท่มีปีระสิทธิภาพให้มากยิ่งขึ้น 
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประเทศนั้นเพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมา คือจาก 
147,837 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2538 เป็น 248,079 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2548 โดย 3 ใน 4 ของ 
ค่าใช้จ่ายสุขภาพเป็นการรักษาพยาบาล มีเพียงร้อยละ 5 เท่านั้นที่ใช้ในการป้องกันโรค 
และส่งเสริมสุขภาพ ดังนั้นการลงทุนเกี่ยวกับโครงการด้านการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค 
น่าจะเป็นมาตรการที่สำคัญที่ควรจะจัดสรรในสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น 
ในด้านข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ ประเทศไทยมีระบบข้อมูลด้านสุขภาพที่ดีและมีผลต่อ 
การนำไปสู่การกำหนดนโยบายที่ตรงต่อสถานการณ์ได้ในระดับหนึ่ง แต่สิ่งที่ควรปรับปรุงคือ 
การพัฒนาด้านความครอบคลุมและคุณภาพของข้อมูลให้มีความถูกต้อง และทันต่อ 
เหตุการณ์มากขึ้น
ระบบบริการสุขภาพ 
ป ระเทศไทยลงทุนทางด้านสุขภาพในทุกๆ ด้าน รวมทั้งการขยายบริการทุกระดับ 
ทำให้ผู้ป่วยมาใช้บริการในระดับชุมชนถึงประมาณ 4 ใน 5 ของการใช้บริการ 
ผู้ป่วยนอกทั้งหมด แต่ความแตกต่างระหว่างพื้นที่ยังคงมีอยู่ โดยเฉพาะระหว่าง 
กรุงเทพฯ กับภาคอื่นๆ 
ระบบบริการสุขภาพของไทย มีการขยายตัวของการให้บริการสุขภาพในระดับต่างๆ ทั้งในส่วนของบริการ 
สุขภาพระดับต้น หรือระดับปฐมภูมิ (Primary care) ที่ให้บริการสุขภาพแก่ประชาชนในด้านการรักษา 
พยาบาลเบื้องต้น การส่งเสริมสุขภาพทั่วไป และการป้องกันโรค โดยเป็นสถานบริการสุขภาพ 
ที่อยู่ใกล้ประชาชนมากที่สุด และมีการกระจายที่ครอบคลุมทั่วถึงที่สุด ได้แก่ สถานีอนามัย ที่กระจาย 
อยู่ทุกตำบล (9,000 กว่าแห่งทั่วประเทศ) และโรงพยาบาลชุมชน ที่กระจายอยู่ทุกอำเภอ (700 กว่าแห่ง 
ทั่วประเทศ) ไปจนถึงสถานบริการสุขภาพระดับสูง หรือระดับตติยภูมิ (Tertiary care) ที่เป็น 
โรงพยาบาลที่ให้บริการรักษาพยาบาลในโรคที่มีความสลับซับซ้อน ต้องการความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษ 
และต้องใช้เครื่องมือทางการแพทย์ที่มีราคาแพง จากการขยายตัวดังกล่าว ทำให้การใช้บริการของ 
ประชาชนส่วนใหญ่เป็นการใช้บริการที่ระดับสถานีอนามัย และโรงพยาบาลชุมชนประมาณ 4 ใน 5 ของ 
การใช้บริการผู้ป่วยนอกของภาครัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข 
ในด้านความเท่าเทียมกันในการกระจายของโรงพยาบาลในภูมิภาคต่างๆ ยังคงมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับ 
ศักยภาพทางเศรษฐกิจสังคมของพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งโรงพยาบาลเอกชน ซึ่งในกรุงเทพมหานคร 
มีสัดส่วนเป็น 2 ใน 3 ของโรงพยาบาลทั้งหมดในกรุงเทพฯ รองลงมาคือ ภาคกลาง มีโรงพยาบาลเอกชน 
ประมาณร้อยละ 30 จากความแตกต่างด้านศักยภาพทางเศรษฐกิจของพื้นที่นี้เอง ที่ทำให้เกิดความ 
แตกต่างของการกระจายสถานบริการสุขภาพระหว่างภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งจำนวนโรงพยาบาลและ 
จำนวนเตียงของโรงพยาบาล โดยในภาคตะวนัออกเฉียงเหนอื มีจำนวนเตียงตอ่ประชากรนอ้ยที่สดุ กลา่วคอื 
มี 1 เตียง ต่อประชากร 740 คน ในขณะที่กรุงเทพมหานคร มี 1 เตียง ต่อประชากรเพียง 223 คน หรือ 
ต่างกันถึง 3 เท่า ส่วนหนึ่งของความแตกต่างดังกล่าว เกิดขึ้นจากการมีโรงพยาบาลเอกชนในกรุงเทพฯ 
มากกว่าภาคอื่นๆ และเป็นโรงพยาบาลขนาดใหญ่ ที่มีเตียงมากกว่า 200 เตียง ถึง 1 ใน 4 ของโรงพยาบาล 
เอกชนทั้งหมดในกรุงเทพมหานคร ในขณะที่ในภูมิภาค มีโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น 
ในระดับจังหวัดก็มีความแตกต่างในด้านการกระจายด้วยเช่นเดียวกัน โดยจังหวัดที่มีภาวะเศรษฐกิจต่ำ จะมี 
จำนวนโรงพยาบาลและจำนวนเตียงต่อประชากรต่ำกว่าจังหวัดที่มีภาวะเศรษฐกิจที่ดีกว่า ถึงแม้จะอยู่ใน 
ภาคเดียวกัน ส่วนหนึ่งเนื่องจากการมีโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ในจังหวัดที่เป็นศูนย์กลางของภาค การมี 
ความแตกต่างของสถานบริการสุขภาพนั้น มีส่วนทำให้เกิดความแตกต่างของการใช้บริการสุขภาพตามมา 
โดยจังหวัดที่มีจำนวนเตียงมากกว่า ก็จะมีจำนวนผู้ป่วยที่นอนในโรงพยาบาลที่มากกว่าด้วย หรือหมายถึงการ 
เข้าถึงบริการและใช้บริการที่มากกว่านั่นเอง ซึ่งอาจจะสะท้อนถึงความไม่เสมอภาคของการเข้าถึงบริการได้ 
ในระดับหนึ่ง
11 
ที่มา: รายงานการสำรวจทรัพยากรสุขภาพ อ้างในการสาธารณสุขไทย 2548-2550 ต่อ 1 เตียง 
พ.ศ. 
โรงพยาบาลตามสังกัด จำแนกตามภาค ปี 2548 
เอกชน 
ราชการส่วนท้องถิ่น 
รัฐวิสาหกิจ 
กระทรวงอื่นๆ 
กระทรวงสาธารณสุข 
แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยนอกตามระดับของสถานบริการ 
สังกัดกระทรวงสาธารณสุข 
สถานีอนามัย (สอ.), 
สถานบริการสาธารณสุขชุมชน (สสช.) 
โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) 
โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.), 
โรงพยาบาลทั่วไป (รพท.) 
2538 
2539 
2540 
2541 
2542 
2543 
2544 
2545 
2546 
2547 
2548 
2549 
ที่มา: สำนักพัฒนาระบบการบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข อ้างในการสาธารณสุขไทย 2548-2550 
จำนวนสถานบริการสุขภาพภาครัฐ 
จำแนกตามระดับของสถานบริการ 
ปี 2550 (ไม่รวมกรุงเทพฯ) 
โรงพยาบาลเฉพาะทาง 
และโรงเรียนแพทย์ 
53 แห่ง 
โรงพยาบาลทั่วไป 
โรงพยาบาลศูนย์ 
155 แห่ง 
โรงพยาบาลชุมชน 
730 แห่ง 
สถานีอนามัย 
9,762 แห่ง 
ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน 69,331 แห่ง 
70 
60 
40 
40 
32.4 
30 
26.1 
20 
14.6 
10 
0 
จำนวนผู้ป่วยนอก (ล้านครั้ง) 
สัดส่วน (%) 
60.4 
55.6 
27.1 
60.2 
58.9 
29.3 
60.9 สอ., สสช. 
รพช. 
ภาคกลาง 
388 คน 
ต่อ 1 เตียง 
รพศ., รพท. 
57.4 
29.8 
62.4 
43.7 
23.0 
51.8 
40.2 
20.4 
46.8 
36.7 
19.4 
44.5 
33.9 
18.1 
41.5 
29.6 
16.8 
35.4 
28.0 
15.5 
กรุงเทพฯ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ อีสาน 
120 
100 
80 
60 
40 
20 
0 
66.9 
7.3 
4.0 
12.1 
9.7 
30.1 
0.0 
1.7 
6.2 
62.0 
20.2 
0.4 
0.0 
6.0 
73.4 
15.4 
0.0 
0.5 
6.1 
78.0 
11.4 
0.0 
0.0 
4.1 
84.5 
จำนวนประชากรต่อ 1 เตียง 
รายภาค ปี 2548 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
740 คน ต่อ 1 เตียง 
กรุงเทพฯ 223 คน 
ต่อ 1 เตียง 
ที่มา: การสาธารณสุขไทย 2548-2550 
จำนวนประชากรต่อ 1 เตียง 
รายจังหวัด ปี 2547 
จำนวนประชากรต่อ 1 เตียง 
224-381 
396-504 
506-591 
593-766 
794-1,135 
ภาคเหนือ 
498 คน 
ต่อ 1 เตียง 
ภาคใต้ 
498 คน 
ที่มา: การสาธารณสุขไทย 2548-2550 
ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนเตียงกับการนอนโรงพยาบาล ปี 2547 30 
ปี 
อต่น 25 
ค100 ร ก20 
ชาระปอต่15 
ในยวป่ผู้น10 
วนจำ5 
จำนวนประชากร 
ต่อ 1 เตียง 
1 หมายถึง 1 จังหวัด 
จังหวัดที่มีเตียงน้อย 
มีอัตราการนอนโรงพยาบาลน้อย 
จังหวัดที่มีเตียงมาก 
มีอัตราการนอนโรงพยาบาลมาก 
0 200 400 600 800 1,000 1,200 
ที่มา: การสาธารณสุขไทย 2548-2550 ที่มา: รายงานการสำรวจทรัพยากรสุขภาพ อ้างในการสาธารณสุขไทย 2548-2550

More Related Content

What's hot

ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพChuchai Sornchumni
 
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีTuang Thidarat Apinya
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจรการประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจรCAPD AngThong
 
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartokสุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
ถอดบทเรียนระบบวิจัยสุขภาพ 8 ประเทศ
ถอดบทเรียนระบบวิจัยสุขภาพ 8 ประเทศถอดบทเรียนระบบวิจัยสุขภาพ 8 ประเทศ
ถอดบทเรียนระบบวิจัยสุขภาพ 8 ประเทศThira Woratanarat
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขChuchai Sornchumni
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างSuradet Sriangkoon
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพweeraboon wisartsakul
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิSunisa Sudsawang
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพsoftganz
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยSurasak Tumthong
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์หมอปอ ขจีรัตน์
 

What's hot (20)

ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพ
 
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
 
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจรการประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
 
การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559
 
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartokสุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
 
ถอดบทเรียนระบบวิจัยสุขภาพ 8 ประเทศ
ถอดบทเรียนระบบวิจัยสุขภาพ 8 ประเทศถอดบทเรียนระบบวิจัยสุขภาพ 8 ประเทศ
ถอดบทเรียนระบบวิจัยสุขภาพ 8 ประเทศ
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิ
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
 

Viewers also liked

"เจาะเทรนด์โลก 2014 โดย TCDC: แฟชั่น วัสดุ เทคโนโลยี สี พื้นที่ และการใช้ชีวิต"
"เจาะเทรนด์โลก 2014 โดย TCDC: แฟชั่น วัสดุ เทคโนโลยี สี พื้นที่ และการใช้ชีวิต""เจาะเทรนด์โลก 2014 โดย TCDC: แฟชั่น วัสดุ เทคโนโลยี สี พื้นที่ และการใช้ชีวิต"
"เจาะเทรนด์โลก 2014 โดย TCDC: แฟชั่น วัสดุ เทคโนโลยี สี พื้นที่ และการใช้ชีวิต"Utai Sukviwatsirikul
 
The diabetes epidemic and its impact on thailand 2013
The diabetes epidemic and its impact on thailand  2013The diabetes epidemic and its impact on thailand  2013
The diabetes epidemic and its impact on thailand 2013Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Practice Guideline for Neuropathic Pain
Clinical Practice Guideline for Neuropathic PainClinical Practice Guideline for Neuropathic Pain
Clinical Practice Guideline for Neuropathic PainUtai Sukviwatsirikul
 
Third Report of the National Cholesterol Education Program (NCEP) Expert Pane...
Third Report of the National Cholesterol Education Program (NCEP) Expert Pane...Third Report of the National Cholesterol Education Program (NCEP) Expert Pane...
Third Report of the National Cholesterol Education Program (NCEP) Expert Pane...Utai Sukviwatsirikul
 
ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน EMS Emergency Medical System
ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน EMS Emergency Medical Systemระบบการแพทย์ฉุกเฉิน EMS Emergency Medical System
ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน EMS Emergency Medical SystemUtai Sukviwatsirikul
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคเดงกี
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคเดงกีแนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคเดงกี
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคเดงกีUtai Sukviwatsirikul
 
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545Utai Sukviwatsirikul
 
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaThailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaUtai Sukviwatsirikul
 
Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Utai Sukviwatsirikul
 
Retailing 2015: New Frontiers 2007 PricewaterhouseCoopers
Retailing 2015: New Frontiers	2007 PricewaterhouseCoopersRetailing 2015: New Frontiers	2007 PricewaterhouseCoopers
Retailing 2015: New Frontiers 2007 PricewaterhouseCoopersUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical practice guideline for cancer pain
Clinical practice guideline for cancer painClinical practice guideline for cancer pain
Clinical practice guideline for cancer painUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Utai Sukviwatsirikul
 
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการขอโฆษณายา อย.
คู่มือการขอโฆษณายา อย. คู่มือการขอโฆษณายา อย.
คู่มือการขอโฆษณายา อย. Utai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (20)

"เจาะเทรนด์โลก 2014 โดย TCDC: แฟชั่น วัสดุ เทคโนโลยี สี พื้นที่ และการใช้ชีวิต"
"เจาะเทรนด์โลก 2014 โดย TCDC: แฟชั่น วัสดุ เทคโนโลยี สี พื้นที่ และการใช้ชีวิต""เจาะเทรนด์โลก 2014 โดย TCDC: แฟชั่น วัสดุ เทคโนโลยี สี พื้นที่ และการใช้ชีวิต"
"เจาะเทรนด์โลก 2014 โดย TCDC: แฟชั่น วัสดุ เทคโนโลยี สี พื้นที่ และการใช้ชีวิต"
 
The diabetes epidemic and its impact on thailand 2013
The diabetes epidemic and its impact on thailand  2013The diabetes epidemic and its impact on thailand  2013
The diabetes epidemic and its impact on thailand 2013
 
Clinical Practice Guideline for Neuropathic Pain
Clinical Practice Guideline for Neuropathic PainClinical Practice Guideline for Neuropathic Pain
Clinical Practice Guideline for Neuropathic Pain
 
Trend 2015 by_tcdc
Trend 2015 by_tcdcTrend 2015 by_tcdc
Trend 2015 by_tcdc
 
Adult vaccine recommendation 2014
Adult vaccine recommendation 2014Adult vaccine recommendation 2014
Adult vaccine recommendation 2014
 
Third Report of the National Cholesterol Education Program (NCEP) Expert Pane...
Third Report of the National Cholesterol Education Program (NCEP) Expert Pane...Third Report of the National Cholesterol Education Program (NCEP) Expert Pane...
Third Report of the National Cholesterol Education Program (NCEP) Expert Pane...
 
ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน EMS Emergency Medical System
ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน EMS Emergency Medical Systemระบบการแพทย์ฉุกเฉิน EMS Emergency Medical System
ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน EMS Emergency Medical System
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคเดงกี
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคเดงกีแนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคเดงกี
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคเดงกี
 
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
 
Cpg superficial fungal infection
Cpg superficial fungal infectionCpg superficial fungal infection
Cpg superficial fungal infection
 
inspire my life MAGAZINE no.4
inspire my life MAGAZINE no.4inspire my life MAGAZINE no.4
inspire my life MAGAZINE no.4
 
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaThailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
 
Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554
 
Retailing 2015: New Frontiers 2007 PricewaterhouseCoopers
Retailing 2015: New Frontiers	2007 PricewaterhouseCoopersRetailing 2015: New Frontiers	2007 PricewaterhouseCoopers
Retailing 2015: New Frontiers 2007 PricewaterhouseCoopers
 
Guidline ebola 1_aug_2014
Guidline ebola 1_aug_2014Guidline ebola 1_aug_2014
Guidline ebola 1_aug_2014
 
Clinical practice guideline for cancer pain
Clinical practice guideline for cancer painClinical practice guideline for cancer pain
Clinical practice guideline for cancer pain
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
 
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
 
คู่มือการขอโฆษณายา อย.
คู่มือการขอโฆษณายา อย. คู่มือการขอโฆษณายา อย.
คู่มือการขอโฆษณายา อย.
 

Similar to Thai2009 2

ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้าทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้าChuchai Sornchumni
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...Pattie Pattie
 
ปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsCddthai Thailand
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527Chuchai Sornchumni
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health promotion practices in asean university network(aun)
Health promotion practices in asean university network(aun)Health promotion practices in asean university network(aun)
Health promotion practices in asean university network(aun)pattarawalai talungchit
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโปรตอน บรรณารักษ์
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospitalDMS Library
 
Introduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of EpidemiologyIntroduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of EpidemiologyUltraman Taro
 
Presentation Consumersouth
Presentation ConsumersouthPresentation Consumersouth
Presentation Consumersouthguest78694ed
 

Similar to Thai2009 2 (20)

ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้าทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
 
ปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhs
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
Health promotion practices in asean university network(aun)
Health promotion practices in asean university network(aun)Health promotion practices in asean university network(aun)
Health promotion practices in asean university network(aun)
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
 
Introduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of EpidemiologyIntroduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of Epidemiology
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
Presentation Consumersouth
Presentation ConsumersouthPresentation Consumersouth
Presentation Consumersouth
 
ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Thai2009 2

  • 1. ระบบบริการสุขภาพ กำลังคนด้านสุขภาพ ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ เทคโนโลยีทางการแพทย์ ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ การเข้าถึงและความครอบคลุมของบริการ คุณภาพและความปลอดภัย สุขภาพและความเป็นธรรม การป้องกันความเสี่ยงทางสังคมและทางการเงิน ประสิทธิภาพบริการ
  • 2.
  • 3. โครงสร้างของระบบบริการสาธารณสุขประกอบด้วย ระบบต่างๆ 6 ด้าน คือ 1 ระบบบริการ ได้แก่ การบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และ ตติยภูมิ 2 กำลังคนด้านสุขภาพ 3 ระบบข้อมูลข่าว สารสุขภาพ 4 เทคโนโลยีด้านการแพทย์ ได้แก่ ยา และเวชภัณฑ์ เครื่องมือในการตรวจวินิจฉัยโรค และเครื่องมือในการรักษา 5 งบประมาณค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ และ 6 ภาวะผู้นำและธรรมาภิบาล ของระบบ ระบบบริการสาธารณสุขทั้ง 6 ด้าน นี้ มีเป้าหมายที่ต้องการบรรลุอยู่ 4 ประการ คือ 1. เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมระหว่างประชากรกลุ่มต่างๆ ในการได้รับบริการ และการมีสุข ภาวะที่ดี 2. เพื่อทำให้มั่นใจว่าการบริการสุขภาพนั้นได้ตอบสนองความต้องการของ ประชาชนในระดับที่น่าพอใจ 3. เพื่อให้มั่นใจว่ามีระบบป้องกันความเสี่ยงด้านสังคมและ การเงินจากค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ และ 4. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการบริการในด้าน การจัดสรรทรัพยากรและเทคโนโลยี การบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ทั้ง 4 ประการนี้จำเป็นต้องคำนึงถึง การเข้าถึงบริการ และความครอบคลุมของบริการสาธารณสุข และบริการต่างๆ ที่มีคุณภาพได้ มาตรฐานและมีความปลอดภัย ระบบบริการสาธารณสุขของไทยนับได้ว่าพัฒนาไปในทุกมิติ โดยการจัดบริการด้าน สุขภาพนั้น ประเทศไทยได้ขยายบริการออกไปทุกระดับ ครอบคลุมทุกพื้นที่และมีระบบ การส่งต่อที่ดี ทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้โดยสะดวก ประกอบกับประเทศไทยได้จัด หลักประกันสุขภาพครอบคลุมประชากรทุกคน ตั้งแต่ปี 2544 เป็นต้นมา มีผลทำให้เกิด ความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการอย่างถ้วนหน้า ประชาชนได้รับการรักษาพยาบาล และการป้องกันโรคที่จำเป็นอย่างทั่วถึง นอกจากนี้ ยังถือว่าเป็นการป้องกันความเสี่ยง ทางสังคมและการเงินให้ประชาชนทางหนึ่ง เนื่องจากช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายของ ครัวเรือนลง แต่อย่างไรก็ตามยังคงมีบริการที่ความครอบคลุมต่ำ คือการตรวจคัดกรองโรค เช่น การตรวจมะเร็งปากมดลูก การตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และไขมันในเลือดสูง เป็นต้น ซึ่งหากพบในระยะเริ่มแรก จะทำให้ได้รับการรักษา แต่เนิ่นๆ
  • 4. £­š„§²¡„´”m£°ššš£´²£ª²˜²£“ª¸‚n การเข้าถึง และครอบคลุม ของการบริการ คุณภาพและ ความปลอดภัย ระบบบริการ กำลังคนด้านสุขภาพ ระบบข้อมูลข่าวสาร เทคโนโลยีทางการแพทย์ ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ภาวะผู้นำและธรรมาภิบาล ที่มา : WHO. Everybody Business: Strengthening Health System to Improve Health Outcomes: WHO’s Framework for Action. 2007. Geneva, World Health Organization. ความเป็นธรรม การตอบสนองต่อความต้องการ การป้องกันความเสี่ยงทางสังคมและการเงิน ประสิทธิภาพการบริการ ที่มา : World Health Organization 2007. ประเด็นด้านการจัดระบบบริการที่ยังต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่อง คือการกระจายทรัพยากรให้เหมาะสม เพื่อไม่ให้เกิดความเหลื่อมล้ำระหว่างชนบทกับเมือง และระหว่างเมืองใหญ่ที่มีความพร้อมทาง เศรษฐกิจและสังคม กับเมืองที่ระดับความพร้อมยังต่ำ เนื่องจากพบว่าบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุข และเครื่องมือและเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ก้าวหน้า มักกระจุกตัวอยู่ในเมืองใหญ่ ในขณะที่เมืองขนาดเล็กและชนบท ยังมีความขาดแคลนอยู่ มาตรการในการสร้างแรงจูงใจ ความ ภาคภูมิใจให้กับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในการทำงานในชนบท เป็นสิ่งที่รัฐควรให้ ความสนใจ เช่นเดียวกับเทคโนโลยีทางการแพทย์ ควรมีการประเมินความคุ้มค่าของเทคโนโลยีทั้งใน มุมมองของการวินิจฉัย การรักษาโรค ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น และการกระจายท่เีหมาะสม นอกจากนี้ คุณภาพและความปลอดภัยของการให้บริการด้านสาธารณสุข เป็นสิ่งสำคัญต่อชีวิต ประชาชน เพราะความผิดพลาดของการบริการมีผลต่อชีวิตของผู้ป่วย จากจำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิต ในโรงพยาบาลทั้งหมด พบว่ามีภาวะที่ไม่พึงประสงค์เกิดขึ้นถึงร้อยละ 35 และประมาณครึ่งของการ ตายที่เกิดจากภาวะไม่พึงประสงค์นี้สามารถป้องกันได้ เพราะส่วนใหญ่เสียชีวิตเพราะการติดเชื้อใน โรงพยาบาล ดังนั้นจึงควรเน้นด้านมาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อท่มีปีระสิทธิภาพให้มากยิ่งขึ้น ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประเทศนั้นเพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมา คือจาก 147,837 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2538 เป็น 248,079 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2548 โดย 3 ใน 4 ของ ค่าใช้จ่ายสุขภาพเป็นการรักษาพยาบาล มีเพียงร้อยละ 5 เท่านั้นที่ใช้ในการป้องกันโรค และส่งเสริมสุขภาพ ดังนั้นการลงทุนเกี่ยวกับโครงการด้านการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค น่าจะเป็นมาตรการที่สำคัญที่ควรจะจัดสรรในสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น ในด้านข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ ประเทศไทยมีระบบข้อมูลด้านสุขภาพที่ดีและมีผลต่อ การนำไปสู่การกำหนดนโยบายที่ตรงต่อสถานการณ์ได้ในระดับหนึ่ง แต่สิ่งที่ควรปรับปรุงคือ การพัฒนาด้านความครอบคลุมและคุณภาพของข้อมูลให้มีความถูกต้อง และทันต่อ เหตุการณ์มากขึ้น
  • 5. ระบบบริการสุขภาพ ป ระเทศไทยลงทุนทางด้านสุขภาพในทุกๆ ด้าน รวมทั้งการขยายบริการทุกระดับ ทำให้ผู้ป่วยมาใช้บริการในระดับชุมชนถึงประมาณ 4 ใน 5 ของการใช้บริการ ผู้ป่วยนอกทั้งหมด แต่ความแตกต่างระหว่างพื้นที่ยังคงมีอยู่ โดยเฉพาะระหว่าง กรุงเทพฯ กับภาคอื่นๆ ระบบบริการสุขภาพของไทย มีการขยายตัวของการให้บริการสุขภาพในระดับต่างๆ ทั้งในส่วนของบริการ สุขภาพระดับต้น หรือระดับปฐมภูมิ (Primary care) ที่ให้บริการสุขภาพแก่ประชาชนในด้านการรักษา พยาบาลเบื้องต้น การส่งเสริมสุขภาพทั่วไป และการป้องกันโรค โดยเป็นสถานบริการสุขภาพ ที่อยู่ใกล้ประชาชนมากที่สุด และมีการกระจายที่ครอบคลุมทั่วถึงที่สุด ได้แก่ สถานีอนามัย ที่กระจาย อยู่ทุกตำบล (9,000 กว่าแห่งทั่วประเทศ) และโรงพยาบาลชุมชน ที่กระจายอยู่ทุกอำเภอ (700 กว่าแห่ง ทั่วประเทศ) ไปจนถึงสถานบริการสุขภาพระดับสูง หรือระดับตติยภูมิ (Tertiary care) ที่เป็น โรงพยาบาลที่ให้บริการรักษาพยาบาลในโรคที่มีความสลับซับซ้อน ต้องการความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษ และต้องใช้เครื่องมือทางการแพทย์ที่มีราคาแพง จากการขยายตัวดังกล่าว ทำให้การใช้บริการของ ประชาชนส่วนใหญ่เป็นการใช้บริการที่ระดับสถานีอนามัย และโรงพยาบาลชุมชนประมาณ 4 ใน 5 ของ การใช้บริการผู้ป่วยนอกของภาครัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในด้านความเท่าเทียมกันในการกระจายของโรงพยาบาลในภูมิภาคต่างๆ ยังคงมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับ ศักยภาพทางเศรษฐกิจสังคมของพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งโรงพยาบาลเอกชน ซึ่งในกรุงเทพมหานคร มีสัดส่วนเป็น 2 ใน 3 ของโรงพยาบาลทั้งหมดในกรุงเทพฯ รองลงมาคือ ภาคกลาง มีโรงพยาบาลเอกชน ประมาณร้อยละ 30 จากความแตกต่างด้านศักยภาพทางเศรษฐกิจของพื้นที่นี้เอง ที่ทำให้เกิดความ แตกต่างของการกระจายสถานบริการสุขภาพระหว่างภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งจำนวนโรงพยาบาลและ จำนวนเตียงของโรงพยาบาล โดยในภาคตะวนัออกเฉียงเหนอื มีจำนวนเตียงตอ่ประชากรนอ้ยที่สดุ กลา่วคอื มี 1 เตียง ต่อประชากร 740 คน ในขณะที่กรุงเทพมหานคร มี 1 เตียง ต่อประชากรเพียง 223 คน หรือ ต่างกันถึง 3 เท่า ส่วนหนึ่งของความแตกต่างดังกล่าว เกิดขึ้นจากการมีโรงพยาบาลเอกชนในกรุงเทพฯ มากกว่าภาคอื่นๆ และเป็นโรงพยาบาลขนาดใหญ่ ที่มีเตียงมากกว่า 200 เตียง ถึง 1 ใน 4 ของโรงพยาบาล เอกชนทั้งหมดในกรุงเทพมหานคร ในขณะที่ในภูมิภาค มีโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ในระดับจังหวัดก็มีความแตกต่างในด้านการกระจายด้วยเช่นเดียวกัน โดยจังหวัดที่มีภาวะเศรษฐกิจต่ำ จะมี จำนวนโรงพยาบาลและจำนวนเตียงต่อประชากรต่ำกว่าจังหวัดที่มีภาวะเศรษฐกิจที่ดีกว่า ถึงแม้จะอยู่ใน ภาคเดียวกัน ส่วนหนึ่งเนื่องจากการมีโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ในจังหวัดที่เป็นศูนย์กลางของภาค การมี ความแตกต่างของสถานบริการสุขภาพนั้น มีส่วนทำให้เกิดความแตกต่างของการใช้บริการสุขภาพตามมา โดยจังหวัดที่มีจำนวนเตียงมากกว่า ก็จะมีจำนวนผู้ป่วยที่นอนในโรงพยาบาลที่มากกว่าด้วย หรือหมายถึงการ เข้าถึงบริการและใช้บริการที่มากกว่านั่นเอง ซึ่งอาจจะสะท้อนถึงความไม่เสมอภาคของการเข้าถึงบริการได้ ในระดับหนึ่ง
  • 6. 11 ที่มา: รายงานการสำรวจทรัพยากรสุขภาพ อ้างในการสาธารณสุขไทย 2548-2550 ต่อ 1 เตียง พ.ศ. โรงพยาบาลตามสังกัด จำแนกตามภาค ปี 2548 เอกชน ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ กระทรวงอื่นๆ กระทรวงสาธารณสุข แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยนอกตามระดับของสถานบริการ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข สถานีอนามัย (สอ.), สถานบริการสาธารณสุขชุมชน (สสช.) โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.), โรงพยาบาลทั่วไป (รพท.) 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 ที่มา: สำนักพัฒนาระบบการบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข อ้างในการสาธารณสุขไทย 2548-2550 จำนวนสถานบริการสุขภาพภาครัฐ จำแนกตามระดับของสถานบริการ ปี 2550 (ไม่รวมกรุงเทพฯ) โรงพยาบาลเฉพาะทาง และโรงเรียนแพทย์ 53 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์ 155 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 730 แห่ง สถานีอนามัย 9,762 แห่ง ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน 69,331 แห่ง 70 60 40 40 32.4 30 26.1 20 14.6 10 0 จำนวนผู้ป่วยนอก (ล้านครั้ง) สัดส่วน (%) 60.4 55.6 27.1 60.2 58.9 29.3 60.9 สอ., สสช. รพช. ภาคกลาง 388 คน ต่อ 1 เตียง รพศ., รพท. 57.4 29.8 62.4 43.7 23.0 51.8 40.2 20.4 46.8 36.7 19.4 44.5 33.9 18.1 41.5 29.6 16.8 35.4 28.0 15.5 กรุงเทพฯ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ อีสาน 120 100 80 60 40 20 0 66.9 7.3 4.0 12.1 9.7 30.1 0.0 1.7 6.2 62.0 20.2 0.4 0.0 6.0 73.4 15.4 0.0 0.5 6.1 78.0 11.4 0.0 0.0 4.1 84.5 จำนวนประชากรต่อ 1 เตียง รายภาค ปี 2548 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 740 คน ต่อ 1 เตียง กรุงเทพฯ 223 คน ต่อ 1 เตียง ที่มา: การสาธารณสุขไทย 2548-2550 จำนวนประชากรต่อ 1 เตียง รายจังหวัด ปี 2547 จำนวนประชากรต่อ 1 เตียง 224-381 396-504 506-591 593-766 794-1,135 ภาคเหนือ 498 คน ต่อ 1 เตียง ภาคใต้ 498 คน ที่มา: การสาธารณสุขไทย 2548-2550 ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนเตียงกับการนอนโรงพยาบาล ปี 2547 30 ปี อต่น 25 ค100 ร ก20 ชาระปอต่15 ในยวป่ผู้น10 วนจำ5 จำนวนประชากร ต่อ 1 เตียง 1 หมายถึง 1 จังหวัด จังหวัดที่มีเตียงน้อย มีอัตราการนอนโรงพยาบาลน้อย จังหวัดที่มีเตียงมาก มีอัตราการนอนโรงพยาบาลมาก 0 200 400 600 800 1,000 1,200 ที่มา: การสาธารณสุขไทย 2548-2550 ที่มา: รายงานการสำรวจทรัพยากรสุขภาพ อ้างในการสาธารณสุขไทย 2548-2550