SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
กำหนดจุดมุ่งหมำยกำรเรียนรู้
SETTING LEARNING GOALS
นำงสำวอินทร์ธุอร บ้งชมโพธิ์ รหัส นศ. 603150210483 เลขที่ 17 ห้อง 2
สำขำวิชำวิทยำศำสตร์ คณะครุศำสตร์ มหำวิทยำลัยนครพนม
 ผู้เรียนต้องระบุจุดหมายการเรียนรู้ (goals) ด้วย
การระบุความรู้และการปฏิบัติ โดยการระบุ
ความรู้ในรูปของสารสรเทศ (declarative
knowledge) และระบุทักษะ การปฏิบัติหรือ
กระบวนการ (procedural knowledge) จุดหมาย
การเรียนรู้ไม่ได้ถูกจากัดด้วยจานวนของบทเรียน
ปริมาณเนื้อหาสาระหรือความรู้สูงสุด แต่หมายถึง
ความคาดหวังที่จะเรียนรู้ต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งและ
เจตนาที่จะให้ผู้เรียนแสดงถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้
บทนำ
กำหนดจุดมุ่งหมำย
กำรเรียนรู้
Setting learning goals
จุดหมำยกำรเรียนรู้
 จุดหมาย หมายถึง จุดที่ต้องพยายามไปให้ถึง, จุดที่ตั้งใจจะ
ให้บรรลุถึง
 การเรียนรู้ หมายถึง การได้รับความรู้ พฤติกรรม ทักษะ
คุณค่า หรือความพึงใจที่เป็นสิ่งแปลกใหม่หรือปรับปรุงสิ่งที่มี
อยู่
 Bloom และคณะ (1956)ได้จัดกลุ่มการเรียนรู้ออกเป็น 3
ประเภท คือ ด้านพุทธพิสัย ด้านทักษะพิสัย และด้านพิสัย
จุดมุ่งหมำยกำรศึกษำของบลูม
พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย
จิตพิสัย
พุทธิพิสัย
 จุดประสงค์การเรียนรู้ที่เน้นความสามารถทางสมอง/ความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาหลักการหรือทฤษฎี
ระดับพฤติกรรม นิยาม
1. ความรู้ เกี่ยวข้องกับความจาและการระลึกได้ของข้อความจริงเฉพาะคาต่างๆ
สัญลักษณ์ วันที่ สถานที่ ฯลฯ
กฎ แนวโน้ม ประเภท วิธีการ ฯลฯ
หลักการ ทฤษฎี วิธีการจัดความคิด
2. ความเข้าใจ เกี่ยวข้องกับความสามารถที่จะใช้ การเรียนรู้ แปลความ สรุปความ
ตีความ ย่อความ ขยายรายละเอียด ทานายผล และผลที่ตามมา
3. การนาไป
ประยุกต์ใช้
เกี่ยวข้องกับความสามารถที่จะใช้ในการเรียนรู้ที่หลากหลาย
สถานการณ์การใช้หลักการและทฤษฎีการใช้ความเป็นนามธรรม
พุทธิพิสัย (ต่อ)
ระดับพฤติกรรม นิยาม
4. การวิเคราะห์ เกี่ยวข้องกับการแตกส่วนใหญ่ให้เป็นส่วนย่อยระบุหรือแยกส่วนของ
องค์ประกอบค้นพบปฏิสัมพันธ์หรือความสัมพันธ์ระหว่างส่วนย่อย
เชื่อม ความสัมพันธ์ของหลักการ
5. การสังเคราะห์ เกี่ยวข้องกับการผสมผสานองค์ประกอบเข้าด้วยกันเป็นสิ่งใหม่ระบุและ
เชื่อ องค์ประกอบต่างๆเข้าด้วยกันเป็นการใหม่ๆ จัดการผสมผสาน
ส่วนย่อยล่า ด้วยกันสร้างสิ่งใหม่ขึ้น
6. การประเมินค่า เกี่ยวข้องกับการพิจารณาคุณค่าของวัตถุและวิธีการ พิจารณาในรูป
ของมาตรฐาน ภายในพิจารณาในรูปของมาตรฐานภายนอก
 เป็นการเรียนรู้ที่เน้นหนักในด้านความสนใจ เจตคติ ค่านิยม อารมณ์และความ
ประทับใจซึ่งวัดได้โดยการสังเกต
จิตพิสัย
ระดับพฤติกรรม นิยาม
1. การรับรู้ เกี่ยวข้องกับความตั้งใจทางอ้อมที่มีต่อสิ่งกระตุ้น การรับรู้
ข้อความจริง ความ ถูกต้อง เหตุการณ์หรือโอกาส ความตั้งใจใน
การสังเกต หรือความตั้งใจที่มีต่อ ภาระงาน เลือกสิ่งกระตุ้น
2. การตอบสนอง เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติบางสิ่งบางอย่างเกี่ยวกับสิ่งกระตุ้น การ
ยินยอมตาม ทิศทาง การอาสาสมัครด้วยตนเอง ความพึงพอใจ
หรือความร่าเริง
3. ค่านิยม การให้คุณค่ากับบางสิ่งบางอย่างเกี่ยวข้องกับการแสดง
พฤติกรรมที่สอดคล้อง แสดงออกถึงความเชื่ออย่างแข็งขันใน
บางสิ่งบางอย่าง แสดงออกถึงความชอบ มากกว่าในบางสิ่ง
บางอย่าง แสวงหากิจกรรมเพื่อบางสิ่งบางอย่างข้างหน้า
ระดับพฤติกรรม นิยาม
4. การจัดการ เป็นการจัดคุณค่าให้มีระบบ เห็นคุณค่าที่ยึดถือมี
ความสัมพันธ์กับคุณค่าอื่นๆ ก่อตั้งคุณค่าที่มีลักษณะเด่น
เป็นค่านิยมของตนเอง
5. คุณลักษณะ เป็นการกระทาที่สอดคล้องกับระบบค่านิยมหรือคุณค่า
ภายใน การกระทาที่สอดคล้องในทิศทางที่มีความแน่ใจ การ
พัฒนาปรัชญาชีวิตที่มีความคงเส้นคงวาทั้งหมด
จิตพิสัย (ต่อ)
 เป็นการพัฒนาทักษะทางกาย เน้นหนักด้านการวางท่าทางให้ถูกต้อง และเหมาะสม
กับการปฏิบัติงานแต่ละชนิด
ทักษะพิสัย
ระดับพฤติกรรม ตัวอย่างคากริยาที่ใช้
1. การรับรู้ รับรู้ในสิ่งที่จะต้องปฏิบัติ โดยผ่าน
ประสาทสัมผัส
สังเกต รู้สึก สัมผัส ตรวจพบ
2. การเตรียมพร้อม การเตรียมตัวให้พร้อมทาง
สมอง ทางกายและจิตใจ
แสดงท่าทาง ตั้งท่าเข้าประจาที่
3. การปฏิบัติงานโดยอาศัยผู้แนะ/เลียนแบบ การ
ทาตามตัวอย่าง การลองผิดลองถูก
เลียนแบบ ทดลอง ฝึกหัด
4. การปฏิบัติงานได้เอง / คล่อง ปฏิบัติได้เอง
อย่างถูกต้อง เรียบร้อย มีประสิทธิภาพ
สาธิต ผลิต แก้ไข ทาได้สาเร็จด้วยตนเอง
ทางานได้เร็วขึ้น
5. การปฏิบัติงานด้วยความชานาญ / ทางานใหม่
ได้ ปฏิบัติงานด้วยความคล่องแคล่วเหมือน
อัตโนมัติสามารถทางานใหม่ได้
ทางานด้วยความกระฉับกระเฉง จัดระบบ
ควบคุมการทางานแนะแนวทาง
กำรปรับปรุงจุดมุ่งหมำยกำรศึกษำของบลูม
New Version (Blooms’
Taxonomy 2001)
Old Version (Blooms’
Taxonomy 1956)
สร้างสรรค์-Creating ประเมิน-Evaluating
การประเมิน-Evaluation การสังเคราะห์-Synthesis
วิเคราะห์-Analysing วิเคราะห์-Analysis
ประยุกต์-Applying การนาไปใช้-Application
ความเข้าใจ-Understanding ความเข้าใจ-Comprehension
ความจา-Remembering ความรู้-Knowledge
แอนเดอร์สัน และแครอทโฮล (2001) ได้ปรับปรุงจุดมุ่งหมายการศึกษาของ
บลูม (Blooms’ Taxonomy revise) ดังตารางที่ 4
ตารางที่ 4 การเปรียบเทียบ Blooms’ Taxonomy 1956 และ 2001
กำรปรับปรุงจุดมุ่งหมำยกำรศึกษำของบลูม (ต่อ)
มิติด้านความรู้ จาแนกความรู้เป็น 4 ระดับ ได้แก่
 1) ความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง (Facual Knowledge) พื้นฐานของผู้เรียนต้องรู้จัก
หลักการหรือวิธีการแก้ปัญหา
 2) ความรู้ที่เป็นมโนทัศน์ (Conceptual Knowledge) ความสัมพันธ์ของ
องค์ประกอบพื้นฐานในโครงสร้างทั้งหมดที่จะทาให้สามารถเชื่อมโยงกันได้
 3) ความรู้ในการดาเนินการ (Procedural Knowledge) วิธีการสืบค้นและ
เกณฑ์ในการใช้ทักษะ เทคนิค วิธีการเพื่อดาเนินการ
 4) ความรู้อภิปัญญา (Metacognitive Knowledge)ความรู้จากการรับรู้และ
ความเข้าใจในตนเอง
จุดมุ่งหมำยกำรศึกษำของมำร์ซำโน
Marzano & Kendall, (2007) ได้พัฒนาการจัดกลุ่มพฤติกรรมการเรียนรู้ขึ้น
ใหม่ แบ่งเป็น
 1) ระบบปัญญา (Cognitive System)
 2) ระบบอภิปัญญา (Meta cognitive System)
 3) ระบบตนเอง (Self-Knowledge)
ได้จาแนกอนุกรมวิธานจุดมุ่งหมายทางการศึกษาเป็น 6 ขั้น
 ขั้นที่ 1 การดึงกลับคืนมา (Retrieval) ได้แก่ การระบุข้อความ
(Recognizing) การระลึกได้ (Recalling)และลงมือปฏิบัติได้
(Executing)
 ขั้นที่ 2 ความเข้าใจ (Comprehension) ได้แก่ การบูรณาการ
(Integration) และการทาให้เป็นสัญลักษณ์ (Symbolizing)
 ขั้นที่ 3 การวิเคราะห์ (Analysis) ได้แก่ การจับคู่ได้ (Matching) แยก
ประเภทได้ (Classifying) วิเคราะห์ ความผิดพลาดได้ (Analyzing
Error) ติดตามได้ (Generalizing) และชี้ให้จาเพาะเจาะจงได้
(Specifying)
จุดมุ่งหมำยกำรศึกษำของมำร์ซำโน (ต่อ)
 ขั้นที่ 4 การนาความรู้ไปใช้ (Knowledge Utilizing) ได้แก่ การตัดสินใจ (Decision
Making) การแก้ปัญหา (Problem Solving) การทดลองปฏิบัติ
(Experimenting) และการสืบค้นต่อไปให้เกิดความเข้าใจ ที่ลึกซึ้ง (Investigating)
 ขั้นที่ 5 อภิปัญญา (Meta-cognition) ได้แก่ การระบุจุดหมาย (Specifying
Goals) การกากับติดตาม กระบวนการ (Process Monitoring) การทาให้เกิดความ
ชัดเจนในการกากับติดตาม (Monitoring Clarity) และ การกากับติดตามตรวจสอบ
ความถูกต้องชัดเจน (Monitoring Accuracy)
 ขั้นที่ 6 การมีระบบความคิดของตนเอง (Self-System thinking) ได้แก่ การ
ตรวจสอบประสิทธิภาพ (Examining Efficacy) การตรวจสอบการตอบสนองทาง
อารมณ์ (Examining Emotional Response) และการตรวจสอบ (Examining
Motivation)
จุดมุ่งหมำยกำรศึกษำของมำร์ซำโน (ต่อ)
กำรกำหนดจุดมุ่งหมำยกำรเรียนกำรสอน
จุดมุ่งหมายมี 2 ลักษณะ คือ
 จุดมุ่งหมายที่มีลักษณะกว้างๆ ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายที่ไม่สามารถวัด หรือ
สังเกตได้ทันที
 จุดมุ่งหมายที่มีลักษณะเฉพาะ สังเกตเห็นพฤติกรรมหรือการปฏิบัติของ
ผู้เรียนได้ บางครั้งเรียกว่าจุดประสงค์การเรียนรู้ (performance objective)
จาแนกออกเป็น 2 ประเภทใหญ่คือ
- จุดประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพ(potential performance)
- จุดประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ(typical performance)
 A แทน Audience หมายถึง ผู้เรียนที่แสดงพฤติกรรมตามจุดมุ่งหมายและ
กาหนดเวลา
 B แทน Behavior หมายถึง พฤติกรรมที่คาดหวังจากผู้เรียนโดยเน้น
พฤติกรรมที่สังเกตได้
 C แทน Conditions หมายถึง สภาพการณ์หรือเงื่อนไขที่ผู้เรียนจะต้อง
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมที่สามารถวัดได้
 D แทน Degree หมายถึง ระดับเกณฑ์การวัดที่กาหนดขึ้นมาให้ผู้เรียน
ปฏิบัติ
กำรเขียนจุดมุ่งหมำยำมหลัก ABCD
กำรเขียนจุดมุ่งหมำยำมหลัก SMART
 S Sensible 4: Specific จุดมุ่งหมายต้องเฉพาะเจาะจงชัดเจน จุดมุ่งหมายการ
เรียนการสอน ต้องมีความเป็นไปได้และชี้เฉพาะ
 M - Measurable จุดมุ่งหมายต้องสามารถวัดผลได้ ซึ่งช่วยให้ได้ข้อมูลว่าผลการ
ดาเนินการ เป็นอย่างไร ประสบความสาเร็จหรือไม่
 A - Attainable & Assignable จุดมุ่งหมายต้องเป็นไปได้ และผู้เรียนหรือผู้ปฏิบัติ
นาไปปฏิบัติ ได้หรือผู้ที่เกี่ยวข้องที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบได้ปฏิบัติหน้าที่ของตน
ตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้
 R - Reasonable & Realistic จุดมุ่งหมายต้องมีความเป็นเหตุเป็นผลกันและ
เป็นไปได้จริง
 I - Time Available จุดมุ่งหมายต้องมีกาหนดเวลา เป็นไปได้ตามเวลา เมื่อเวลา
เปลี่ยนไปหรือ สถานการณ์ที่เปลี่ยนไปได้ จุดมุ่งหมายก็ควรเปลี่ยนไปด้วย
จุดมุ่งหมำยกำรศึกษำอิงมำตรฐำน
มาตรฐานเนื้อหา (Content standard) ระบุองค์ความรู้ที่สาคัญ ทักษะและพัฒนาการด้านจิตใจ
ดังนี้
 1. องค์ความรู้ที่สาคัญ (essential knowledge) ระบุถึง แนวความคิด ประเด็นปัญหา
ทางเลือก กฎเกณฑ์ และความคิดรวบยอดในวิทยาการต่าง ๆ ที่สาคัญ
 2. ทักษะ (Skills) เป็นวิธีการคิด การทางาน การสื่อสาร และการศึกษาสารวจ ตัวอย่างใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการบรรยาย และอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติใช้
ระเบียบวิธีการทางสถิติในการเก็บรวบรวมข้อมูล ตีความ เปรียบเทียบ และสรุปผล เกี่ยวกับ
เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ และการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ในสังคม
 3. พัฒนาการด้านจิตใจ (Habits of mind) การเรียนรู้และประสบการณ์จากการศึกษาทั้งใน
โรงเรียนและนอกโรงเรียน มีผลต่อพัฒนาการด้านจิตใจของผู้เรียน รวมถึงกระบวนการใน
การศึกษาค้นคว้า การแสดงข้อมูล หลักฐานสนับสนุนความคิด การอภิปรายโต้แย้ง และ
ความพึงพอใจในการทางานร่วมกับ ผู้อื่น
กำรวำงแผนจัดกำรเรียนกำรสอนและกำรเรียนรู้
การเรียนการสอนโดยตรง
การเรียนการสอนโดยตรง ประกอบด้วยขั้นตอนสาคัญๆ 5 ขั้นตอนดังนี้
 ขั้นที่ 1 ขั้นนา
 ขั้นที่ 2 ขั้นนาเสนอบทเรียน
 ขั้นที่ 3 ขั้นปฏิบัติตามแบบ
 ขั้นที่ 4 ขั้นฝึกปฏิบัติภายใต้
การกากับของผู้ชี้แนะ
 ขั้นที่ 5 การฝึกปฏิบัติอย่างอิสระ
สรุป การสอนโดยตรงโดยทั่วไปมี 3 ขั้นตอน
ได้แก่
1 การสร้างแรงจูงใจให้แก่ผู้เรียน
2 การนาเสนอข้อมูลใหม่
3 การเสนอแนะแนวทางปฏิบัติให้ข้อมูล
ย้อนกลับและการประยุกต์ใช้
กลยุทธ์กำรสอนที่มีประสิทธิภำพ
การตั้งจุดมุ่งหมาย จุดประสงค์ (Setting objectives) แนวทางการตั้ง
จุดประสงค์ มีดังนี้
 1) ตั้งจุดประสงค์ให้ชัดเจนตามเกณฑ์แต่ไม่ตายตัว
 2) สื่อสารจุดประสงค์ให้กับผู้เรียนและครอบ ตรงกัน
 3) เชื่อมโยงจุดประสงค์การเรียนรู้กับสิ่งที่เรียนรู้เดิมและการเรียนรู้ใหม่
 4) ใน การตั้งจุดประสงค์การเรียนรู้ของตนเอง
ตำมแนวคิด ของ มำร์ซำโน
 การให้ข้อมูลย้อนกลับ
 การให้การเสริมแรง
 การให้การยอมรับ
 การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 การใช้การแนะนาและคาถาม
 การให้มโนทัศน์ล่วงหน้า
 การใช้ภาษากายแสดงออก
 สรุปและจดบันทึก
 การให้การบ้าน
 การให้ฝึกปฏิบัติ
 การบอกความเหมือนและความ
แตกต่าง
 การสร้างและทดสอบสมมติฐาน
กลยุทธ์กำรสอนที่มีประสิทธิภำพ
ตำมแนวคิด ของ มำร์ซำโน (ต่อ)
สรุป
มิติใหม่อนุกรมวิธานจุดมุ่งหมายทางการศึกษาตาม
แนวคิด Bloor's Taxonomy เป็นแนวทางให้นักศึกษาวิชาชีพครู
สามารถจัดการเรียน จุดหมาย รวมถึงการตัดสินใจเกี่ยวกับกลยุทธ์
ยุทธวิธีและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการติดตามดูแลปรับปรุง
ออกแบบและพัฒนาสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ (การจัดการเรียนรู้และการ
จัดการ เรียนรู้เพื่อส่งเสริม Meta-cognitionสาหรับนักศึกษาวิชาชีพครู
นักศึกษามีแนวทางในการพัฒนาตนเองให้มีความสามารถในการ
กาหนดจุดหมายในการเรียนรู้และกากับตนเองไปถึงจุดหมายดังกล่าว
ประโยชน์โดยตรงกับการพัฒนาวิชาชีพครู
ที่มำ
เอกสารคาสอนการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิจิตรา ธงพานิช
สาขาวิชาหลักสูตรและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม

More Related Content

What's hot

รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการ
computer1437
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
มะม่วงกระล่อน จริงๆ
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
Nattapon
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
krupornpana55
 
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำสำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
Pattanachai Jai
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
พัน พัน
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
Benjapron Seesukong
 
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรการกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
khanidthakpt
 
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยาแผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
naipingpun
 
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
sornordon
 

What's hot (20)

กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการ
 
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลาหนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำสำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
 
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรการกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
 
โครงงาน54แหนม
โครงงาน54แหนมโครงงาน54แหนม
โครงงาน54แหนม
 
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยาแผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdf
 
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 

Similar to Setting learning goals (กำหนดจุดหมายการเรียนรู้)

อาม1
อาม1อาม1
อาม1
arm_2010
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
ben_za
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
Nat Thida
 
Word qd
Word qdWord qd
Word qd
MUQD
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
fa_o
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
wisnun
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
nwichunee
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8
sangkom
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
Walaiporn Mahamai
 

Similar to Setting learning goals (กำหนดจุดหมายการเรียนรู้) (20)

อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
Word qd
Word qdWord qd
Word qd
 
Backward Design ผอ เบญจลักษณ์
Backward  Design ผอ เบญจลักษณ์Backward  Design ผอ เบญจลักษณ์
Backward Design ผอ เบญจลักษณ์
 
Bloomstaxonomytesttha 141014001654-conversion-gate01
Bloomstaxonomytesttha 141014001654-conversion-gate01Bloomstaxonomytesttha 141014001654-conversion-gate01
Bloomstaxonomytesttha 141014001654-conversion-gate01
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
คำถามท้ายบทที่ 1
คำถามท้ายบทที่ 1คำถามท้ายบทที่ 1
คำถามท้ายบทที่ 1
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
Backward design
Backward designBackward design
Backward design
 
Backward Design
Backward DesignBackward Design
Backward Design
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 

Setting learning goals (กำหนดจุดหมายการเรียนรู้)

  • 1. กำหนดจุดมุ่งหมำยกำรเรียนรู้ SETTING LEARNING GOALS นำงสำวอินทร์ธุอร บ้งชมโพธิ์ รหัส นศ. 603150210483 เลขที่ 17 ห้อง 2 สำขำวิชำวิทยำศำสตร์ คณะครุศำสตร์ มหำวิทยำลัยนครพนม
  • 2.  ผู้เรียนต้องระบุจุดหมายการเรียนรู้ (goals) ด้วย การระบุความรู้และการปฏิบัติ โดยการระบุ ความรู้ในรูปของสารสรเทศ (declarative knowledge) และระบุทักษะ การปฏิบัติหรือ กระบวนการ (procedural knowledge) จุดหมาย การเรียนรู้ไม่ได้ถูกจากัดด้วยจานวนของบทเรียน ปริมาณเนื้อหาสาระหรือความรู้สูงสุด แต่หมายถึง ความคาดหวังที่จะเรียนรู้ต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งและ เจตนาที่จะให้ผู้เรียนแสดงถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ บทนำ กำหนดจุดมุ่งหมำย กำรเรียนรู้ Setting learning goals
  • 3. จุดหมำยกำรเรียนรู้  จุดหมาย หมายถึง จุดที่ต้องพยายามไปให้ถึง, จุดที่ตั้งใจจะ ให้บรรลุถึง  การเรียนรู้ หมายถึง การได้รับความรู้ พฤติกรรม ทักษะ คุณค่า หรือความพึงใจที่เป็นสิ่งแปลกใหม่หรือปรับปรุงสิ่งที่มี อยู่
  • 4.  Bloom และคณะ (1956)ได้จัดกลุ่มการเรียนรู้ออกเป็น 3 ประเภท คือ ด้านพุทธพิสัย ด้านทักษะพิสัย และด้านพิสัย จุดมุ่งหมำยกำรศึกษำของบลูม พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย
  • 5. พุทธิพิสัย  จุดประสงค์การเรียนรู้ที่เน้นความสามารถทางสมอง/ความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาหลักการหรือทฤษฎี ระดับพฤติกรรม นิยาม 1. ความรู้ เกี่ยวข้องกับความจาและการระลึกได้ของข้อความจริงเฉพาะคาต่างๆ สัญลักษณ์ วันที่ สถานที่ ฯลฯ กฎ แนวโน้ม ประเภท วิธีการ ฯลฯ หลักการ ทฤษฎี วิธีการจัดความคิด 2. ความเข้าใจ เกี่ยวข้องกับความสามารถที่จะใช้ การเรียนรู้ แปลความ สรุปความ ตีความ ย่อความ ขยายรายละเอียด ทานายผล และผลที่ตามมา 3. การนาไป ประยุกต์ใช้ เกี่ยวข้องกับความสามารถที่จะใช้ในการเรียนรู้ที่หลากหลาย สถานการณ์การใช้หลักการและทฤษฎีการใช้ความเป็นนามธรรม
  • 6. พุทธิพิสัย (ต่อ) ระดับพฤติกรรม นิยาม 4. การวิเคราะห์ เกี่ยวข้องกับการแตกส่วนใหญ่ให้เป็นส่วนย่อยระบุหรือแยกส่วนของ องค์ประกอบค้นพบปฏิสัมพันธ์หรือความสัมพันธ์ระหว่างส่วนย่อย เชื่อม ความสัมพันธ์ของหลักการ 5. การสังเคราะห์ เกี่ยวข้องกับการผสมผสานองค์ประกอบเข้าด้วยกันเป็นสิ่งใหม่ระบุและ เชื่อ องค์ประกอบต่างๆเข้าด้วยกันเป็นการใหม่ๆ จัดการผสมผสาน ส่วนย่อยล่า ด้วยกันสร้างสิ่งใหม่ขึ้น 6. การประเมินค่า เกี่ยวข้องกับการพิจารณาคุณค่าของวัตถุและวิธีการ พิจารณาในรูป ของมาตรฐาน ภายในพิจารณาในรูปของมาตรฐานภายนอก
  • 7.  เป็นการเรียนรู้ที่เน้นหนักในด้านความสนใจ เจตคติ ค่านิยม อารมณ์และความ ประทับใจซึ่งวัดได้โดยการสังเกต จิตพิสัย ระดับพฤติกรรม นิยาม 1. การรับรู้ เกี่ยวข้องกับความตั้งใจทางอ้อมที่มีต่อสิ่งกระตุ้น การรับรู้ ข้อความจริง ความ ถูกต้อง เหตุการณ์หรือโอกาส ความตั้งใจใน การสังเกต หรือความตั้งใจที่มีต่อ ภาระงาน เลือกสิ่งกระตุ้น 2. การตอบสนอง เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติบางสิ่งบางอย่างเกี่ยวกับสิ่งกระตุ้น การ ยินยอมตาม ทิศทาง การอาสาสมัครด้วยตนเอง ความพึงพอใจ หรือความร่าเริง 3. ค่านิยม การให้คุณค่ากับบางสิ่งบางอย่างเกี่ยวข้องกับการแสดง พฤติกรรมที่สอดคล้อง แสดงออกถึงความเชื่ออย่างแข็งขันใน บางสิ่งบางอย่าง แสดงออกถึงความชอบ มากกว่าในบางสิ่ง บางอย่าง แสวงหากิจกรรมเพื่อบางสิ่งบางอย่างข้างหน้า
  • 8. ระดับพฤติกรรม นิยาม 4. การจัดการ เป็นการจัดคุณค่าให้มีระบบ เห็นคุณค่าที่ยึดถือมี ความสัมพันธ์กับคุณค่าอื่นๆ ก่อตั้งคุณค่าที่มีลักษณะเด่น เป็นค่านิยมของตนเอง 5. คุณลักษณะ เป็นการกระทาที่สอดคล้องกับระบบค่านิยมหรือคุณค่า ภายใน การกระทาที่สอดคล้องในทิศทางที่มีความแน่ใจ การ พัฒนาปรัชญาชีวิตที่มีความคงเส้นคงวาทั้งหมด จิตพิสัย (ต่อ)
  • 9.  เป็นการพัฒนาทักษะทางกาย เน้นหนักด้านการวางท่าทางให้ถูกต้อง และเหมาะสม กับการปฏิบัติงานแต่ละชนิด ทักษะพิสัย ระดับพฤติกรรม ตัวอย่างคากริยาที่ใช้ 1. การรับรู้ รับรู้ในสิ่งที่จะต้องปฏิบัติ โดยผ่าน ประสาทสัมผัส สังเกต รู้สึก สัมผัส ตรวจพบ 2. การเตรียมพร้อม การเตรียมตัวให้พร้อมทาง สมอง ทางกายและจิตใจ แสดงท่าทาง ตั้งท่าเข้าประจาที่ 3. การปฏิบัติงานโดยอาศัยผู้แนะ/เลียนแบบ การ ทาตามตัวอย่าง การลองผิดลองถูก เลียนแบบ ทดลอง ฝึกหัด 4. การปฏิบัติงานได้เอง / คล่อง ปฏิบัติได้เอง อย่างถูกต้อง เรียบร้อย มีประสิทธิภาพ สาธิต ผลิต แก้ไข ทาได้สาเร็จด้วยตนเอง ทางานได้เร็วขึ้น 5. การปฏิบัติงานด้วยความชานาญ / ทางานใหม่ ได้ ปฏิบัติงานด้วยความคล่องแคล่วเหมือน อัตโนมัติสามารถทางานใหม่ได้ ทางานด้วยความกระฉับกระเฉง จัดระบบ ควบคุมการทางานแนะแนวทาง
  • 10. กำรปรับปรุงจุดมุ่งหมำยกำรศึกษำของบลูม New Version (Blooms’ Taxonomy 2001) Old Version (Blooms’ Taxonomy 1956) สร้างสรรค์-Creating ประเมิน-Evaluating การประเมิน-Evaluation การสังเคราะห์-Synthesis วิเคราะห์-Analysing วิเคราะห์-Analysis ประยุกต์-Applying การนาไปใช้-Application ความเข้าใจ-Understanding ความเข้าใจ-Comprehension ความจา-Remembering ความรู้-Knowledge แอนเดอร์สัน และแครอทโฮล (2001) ได้ปรับปรุงจุดมุ่งหมายการศึกษาของ บลูม (Blooms’ Taxonomy revise) ดังตารางที่ 4 ตารางที่ 4 การเปรียบเทียบ Blooms’ Taxonomy 1956 และ 2001
  • 11. กำรปรับปรุงจุดมุ่งหมำยกำรศึกษำของบลูม (ต่อ) มิติด้านความรู้ จาแนกความรู้เป็น 4 ระดับ ได้แก่  1) ความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง (Facual Knowledge) พื้นฐานของผู้เรียนต้องรู้จัก หลักการหรือวิธีการแก้ปัญหา  2) ความรู้ที่เป็นมโนทัศน์ (Conceptual Knowledge) ความสัมพันธ์ของ องค์ประกอบพื้นฐานในโครงสร้างทั้งหมดที่จะทาให้สามารถเชื่อมโยงกันได้  3) ความรู้ในการดาเนินการ (Procedural Knowledge) วิธีการสืบค้นและ เกณฑ์ในการใช้ทักษะ เทคนิค วิธีการเพื่อดาเนินการ  4) ความรู้อภิปัญญา (Metacognitive Knowledge)ความรู้จากการรับรู้และ ความเข้าใจในตนเอง
  • 12. จุดมุ่งหมำยกำรศึกษำของมำร์ซำโน Marzano & Kendall, (2007) ได้พัฒนาการจัดกลุ่มพฤติกรรมการเรียนรู้ขึ้น ใหม่ แบ่งเป็น  1) ระบบปัญญา (Cognitive System)  2) ระบบอภิปัญญา (Meta cognitive System)  3) ระบบตนเอง (Self-Knowledge) ได้จาแนกอนุกรมวิธานจุดมุ่งหมายทางการศึกษาเป็น 6 ขั้น
  • 13.  ขั้นที่ 1 การดึงกลับคืนมา (Retrieval) ได้แก่ การระบุข้อความ (Recognizing) การระลึกได้ (Recalling)และลงมือปฏิบัติได้ (Executing)  ขั้นที่ 2 ความเข้าใจ (Comprehension) ได้แก่ การบูรณาการ (Integration) และการทาให้เป็นสัญลักษณ์ (Symbolizing)  ขั้นที่ 3 การวิเคราะห์ (Analysis) ได้แก่ การจับคู่ได้ (Matching) แยก ประเภทได้ (Classifying) วิเคราะห์ ความผิดพลาดได้ (Analyzing Error) ติดตามได้ (Generalizing) และชี้ให้จาเพาะเจาะจงได้ (Specifying) จุดมุ่งหมำยกำรศึกษำของมำร์ซำโน (ต่อ)
  • 14.  ขั้นที่ 4 การนาความรู้ไปใช้ (Knowledge Utilizing) ได้แก่ การตัดสินใจ (Decision Making) การแก้ปัญหา (Problem Solving) การทดลองปฏิบัติ (Experimenting) และการสืบค้นต่อไปให้เกิดความเข้าใจ ที่ลึกซึ้ง (Investigating)  ขั้นที่ 5 อภิปัญญา (Meta-cognition) ได้แก่ การระบุจุดหมาย (Specifying Goals) การกากับติดตาม กระบวนการ (Process Monitoring) การทาให้เกิดความ ชัดเจนในการกากับติดตาม (Monitoring Clarity) และ การกากับติดตามตรวจสอบ ความถูกต้องชัดเจน (Monitoring Accuracy)  ขั้นที่ 6 การมีระบบความคิดของตนเอง (Self-System thinking) ได้แก่ การ ตรวจสอบประสิทธิภาพ (Examining Efficacy) การตรวจสอบการตอบสนองทาง อารมณ์ (Examining Emotional Response) และการตรวจสอบ (Examining Motivation) จุดมุ่งหมำยกำรศึกษำของมำร์ซำโน (ต่อ)
  • 15. กำรกำหนดจุดมุ่งหมำยกำรเรียนกำรสอน จุดมุ่งหมายมี 2 ลักษณะ คือ  จุดมุ่งหมายที่มีลักษณะกว้างๆ ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายที่ไม่สามารถวัด หรือ สังเกตได้ทันที  จุดมุ่งหมายที่มีลักษณะเฉพาะ สังเกตเห็นพฤติกรรมหรือการปฏิบัติของ ผู้เรียนได้ บางครั้งเรียกว่าจุดประสงค์การเรียนรู้ (performance objective) จาแนกออกเป็น 2 ประเภทใหญ่คือ - จุดประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพ(potential performance) - จุดประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ(typical performance)
  • 16.  A แทน Audience หมายถึง ผู้เรียนที่แสดงพฤติกรรมตามจุดมุ่งหมายและ กาหนดเวลา  B แทน Behavior หมายถึง พฤติกรรมที่คาดหวังจากผู้เรียนโดยเน้น พฤติกรรมที่สังเกตได้  C แทน Conditions หมายถึง สภาพการณ์หรือเงื่อนไขที่ผู้เรียนจะต้อง ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมที่สามารถวัดได้  D แทน Degree หมายถึง ระดับเกณฑ์การวัดที่กาหนดขึ้นมาให้ผู้เรียน ปฏิบัติ กำรเขียนจุดมุ่งหมำยำมหลัก ABCD
  • 17. กำรเขียนจุดมุ่งหมำยำมหลัก SMART  S Sensible 4: Specific จุดมุ่งหมายต้องเฉพาะเจาะจงชัดเจน จุดมุ่งหมายการ เรียนการสอน ต้องมีความเป็นไปได้และชี้เฉพาะ  M - Measurable จุดมุ่งหมายต้องสามารถวัดผลได้ ซึ่งช่วยให้ได้ข้อมูลว่าผลการ ดาเนินการ เป็นอย่างไร ประสบความสาเร็จหรือไม่  A - Attainable & Assignable จุดมุ่งหมายต้องเป็นไปได้ และผู้เรียนหรือผู้ปฏิบัติ นาไปปฏิบัติ ได้หรือผู้ที่เกี่ยวข้องที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบได้ปฏิบัติหน้าที่ของตน ตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้  R - Reasonable & Realistic จุดมุ่งหมายต้องมีความเป็นเหตุเป็นผลกันและ เป็นไปได้จริง  I - Time Available จุดมุ่งหมายต้องมีกาหนดเวลา เป็นไปได้ตามเวลา เมื่อเวลา เปลี่ยนไปหรือ สถานการณ์ที่เปลี่ยนไปได้ จุดมุ่งหมายก็ควรเปลี่ยนไปด้วย
  • 18. จุดมุ่งหมำยกำรศึกษำอิงมำตรฐำน มาตรฐานเนื้อหา (Content standard) ระบุองค์ความรู้ที่สาคัญ ทักษะและพัฒนาการด้านจิตใจ ดังนี้  1. องค์ความรู้ที่สาคัญ (essential knowledge) ระบุถึง แนวความคิด ประเด็นปัญหา ทางเลือก กฎเกณฑ์ และความคิดรวบยอดในวิทยาการต่าง ๆ ที่สาคัญ  2. ทักษะ (Skills) เป็นวิธีการคิด การทางาน การสื่อสาร และการศึกษาสารวจ ตัวอย่างใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการบรรยาย และอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติใช้ ระเบียบวิธีการทางสถิติในการเก็บรวบรวมข้อมูล ตีความ เปรียบเทียบ และสรุปผล เกี่ยวกับ เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ และการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ในสังคม  3. พัฒนาการด้านจิตใจ (Habits of mind) การเรียนรู้และประสบการณ์จากการศึกษาทั้งใน โรงเรียนและนอกโรงเรียน มีผลต่อพัฒนาการด้านจิตใจของผู้เรียน รวมถึงกระบวนการใน การศึกษาค้นคว้า การแสดงข้อมูล หลักฐานสนับสนุนความคิด การอภิปรายโต้แย้ง และ ความพึงพอใจในการทางานร่วมกับ ผู้อื่น
  • 19. กำรวำงแผนจัดกำรเรียนกำรสอนและกำรเรียนรู้ การเรียนการสอนโดยตรง การเรียนการสอนโดยตรง ประกอบด้วยขั้นตอนสาคัญๆ 5 ขั้นตอนดังนี้  ขั้นที่ 1 ขั้นนา  ขั้นที่ 2 ขั้นนาเสนอบทเรียน  ขั้นที่ 3 ขั้นปฏิบัติตามแบบ  ขั้นที่ 4 ขั้นฝึกปฏิบัติภายใต้ การกากับของผู้ชี้แนะ  ขั้นที่ 5 การฝึกปฏิบัติอย่างอิสระ สรุป การสอนโดยตรงโดยทั่วไปมี 3 ขั้นตอน ได้แก่ 1 การสร้างแรงจูงใจให้แก่ผู้เรียน 2 การนาเสนอข้อมูลใหม่ 3 การเสนอแนะแนวทางปฏิบัติให้ข้อมูล ย้อนกลับและการประยุกต์ใช้
  • 20. กลยุทธ์กำรสอนที่มีประสิทธิภำพ การตั้งจุดมุ่งหมาย จุดประสงค์ (Setting objectives) แนวทางการตั้ง จุดประสงค์ มีดังนี้  1) ตั้งจุดประสงค์ให้ชัดเจนตามเกณฑ์แต่ไม่ตายตัว  2) สื่อสารจุดประสงค์ให้กับผู้เรียนและครอบ ตรงกัน  3) เชื่อมโยงจุดประสงค์การเรียนรู้กับสิ่งที่เรียนรู้เดิมและการเรียนรู้ใหม่  4) ใน การตั้งจุดประสงค์การเรียนรู้ของตนเอง ตำมแนวคิด ของ มำร์ซำโน
  • 21.  การให้ข้อมูลย้อนกลับ  การให้การเสริมแรง  การให้การยอมรับ  การเรียนรู้แบบร่วมมือ  การใช้การแนะนาและคาถาม  การให้มโนทัศน์ล่วงหน้า  การใช้ภาษากายแสดงออก  สรุปและจดบันทึก  การให้การบ้าน  การให้ฝึกปฏิบัติ  การบอกความเหมือนและความ แตกต่าง  การสร้างและทดสอบสมมติฐาน กลยุทธ์กำรสอนที่มีประสิทธิภำพ ตำมแนวคิด ของ มำร์ซำโน (ต่อ)
  • 22. สรุป มิติใหม่อนุกรมวิธานจุดมุ่งหมายทางการศึกษาตาม แนวคิด Bloor's Taxonomy เป็นแนวทางให้นักศึกษาวิชาชีพครู สามารถจัดการเรียน จุดหมาย รวมถึงการตัดสินใจเกี่ยวกับกลยุทธ์ ยุทธวิธีและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการติดตามดูแลปรับปรุง ออกแบบและพัฒนาสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ (การจัดการเรียนรู้และการ จัดการ เรียนรู้เพื่อส่งเสริม Meta-cognitionสาหรับนักศึกษาวิชาชีพครู นักศึกษามีแนวทางในการพัฒนาตนเองให้มีความสามารถในการ กาหนดจุดหมายในการเรียนรู้และกากับตนเองไปถึงจุดหมายดังกล่าว ประโยชน์โดยตรงกับการพัฒนาวิชาชีพครู