SlideShare a Scribd company logo
แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ
แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -1- สาขาคอมพิวเตอร์
หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
เกมสร้างสรรค์
แผนการเรียนรู้ที่ 11 เรื่อง มาสร้างเกมกันเถอะ
ชั่วโมงที่ 22 – 23
1. ผลการเรียนรู้
1.1 ใช้คาสั่งพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม
1.2 กาหนดและใช้งานตัวแปร
1.3 ใช้โครงสร้างแบบลาดับ เงื่อนไข และวนซ้า
2. สาระการเรียนรู้
2.1 องค์ประกอบของเกมและเกมประเภทต่างๆ
2.2 การใช้งานกลุ่มบล็อก Variables
2.3 การใช้บล็อก timer และ reset timer
2.4 การใช้บล็อก random
3. จุดประสงค์ ให้ผู้เรียนสามารถ
ด้านการเขียนโปรแกรม
3.1 อธิบายองค์ประกอบและประเภทของเกม
3.2 ใช้กลุ่มบล็อก Variables
3.3 ใช้บล็อกtimer และ reset timer
3.4 ใช้บล็อก random
ด้านความคิดสร้างสรรค์
พัฒนาทักษะด้านความคิดคล่องแคล่ว คิดยืดหยุ่น คิดริเริ่ม และคิดละเอียดลออ
4. แนวคิด
องค์ประกอบของเกมประกอบด้วย 3 ส่วนคือกลไกหลักของเกมซึ่งจะระบุกฎกติกาไว้เพื่อสร้างความ
ท้าทาย และให้ผู้ใช้สามารถดาเนินการได้สาเร็จ ส่วนติดต่อกับผู้ใช้เป็นส่วนของการสร้างภาพและเสียงตาม
กลไกของเกมที่ออกแบบไว้รวมถึงการรับข้อมูลจากผู้เล่นเพื่อกระตุ้นความต้องการอยากมีส่วนร่วมและ
การเล่าเรื่องราวซึ่งเป็นการเชื่อมโยงรายละเอียดเข้าด้วยกันโดยใช้ฉากหรือตัวละครเพื่อให้ผู้เล่นเห็นเปูาหมาย
ของเกมให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ประเภทของเกมมีการแบ่งประเภทไว้หลายรูปแบบโดยอาจแบ่งตามประโยชน์ของเกม เช่น
เพื่อความสนุกสนานเพื่อฝึกทักษะเพื่อการเรียนการสอน หรือแบ่งตามลักษณะการสร้างภาพ เช่น เกม 2 มิติ
แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ
แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -2- สาขาคอมพิวเตอร์
หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เกม 3 มิติ หรืออาจขึ้นอยู่กับลักษณะของเกม เช่น เกมการจาลอง เกมแอคชั่น เกมผจญภัย เกม RPG เกมต่อสู้
เกมวางแผน เกมกีฬาและการแข่งขัน เกมปริศนา
บล็อก change อยู่ในกลุ่มบล็อก Variables ใช้เพิ่มหรือลดค่าของตัวแปรที่กาหนด
บล็อก timer และ reset timer อยู่ในกลุ่มบล็อก Sensing
บล็อก timer ใช้สาหรับจับเวลาและบล็อก reset timer ใช้สาหรับตั้งค่าเวลาใหม่เป็น 0
บล็อก random อยู่ในกลุ่มบล็อก Operators ใช้สุ่มค่าโดยกาหนดค่าเป็นตัวเลข เช่น
การสุ่มค่าตั้งแต่ 1 ถึง 10 โปรแกรมจะสุ่มตัวเลขออกมา ตัวเลขที่เป็นไปได้คือช่วงเลข 1 ถึง 10 เท่านั้น
เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ภายในเกม เช่น สุ่มตาแหน่งการวางตัวละคร สุ่มการเคลื่อนที่ของตัวละคร
5. สื่ออุปกรณ์
5.1 ใบงาน
ใบงานที่ เรื่อง เวลา (นาที)
11.1 รู้จักเกมสร้างสรรค์ 20
11.2 เรื่องของตัวแปร 30
11.3 กาหนดเวลาและการสุ่มให้กับเกม 20
5.2 ใบความรู้
ใบความรู้ที่ 11.1 เรื่ององค์ประกอบและประเภทของเกม
5.3 อื่นๆ
5.3.1 ตัวอย่างโปรเจกต์เกมใน Scratch
ชื่อไฟล์ โฟลเดอร์
1.GuessingGame C:ProgramFilesScratchProjectsGames
2.PacMan C:ProgramFilesScratchProjectsGames
3. Pong C:ProgramFilesScratchProjectsGames
4. FruitCraftRPG C:ProgramFilesScratchProjectsGames
5. ScrollingDemo C:ProgramFilesScratchProjectsGames
5.3.2 กระดาษเปล่า
5.3.3 กระดาษโน้ต
6. วิธีดาเนินกิจกรรม
6.1 การจัดเตรียม
6.1.1 ใบงานที่ 11.1-11.3 ตามจานวนกลุ่ม
6.1.2 ใบความรู้ที่ 11.1 ตามจานวนผู้เรียน
6.1.3 กระดาษเปล่า และกระดาษโน้ต ตามจานวนผู้เรียน
แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ
แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -3- สาขาคอมพิวเตอร์
หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
6.2 ขั้นตอนการดาเนินการ
6.2.1 ผู้สอนสาธิตการเล่นเกมที่สร้างจากโปรแกรม Scratch ให้ผู้เรียนชมและร่วมกันสังเกต
ส่วนประกอบของเกมคร่าวๆ เช่น ตัวละครหลัก ตัวละครเสริม ฉาก เรื่องราวซึ่งส่วนประกอบ
ดังกล่าว สามารถสร้างด้วยโปรแกรม Scratch ได้ (ผู้สอนอาจนาตัวอย่างเกมจากเว็บไซต์
http://scratch.mit.edu ที่มีความสมบูรณ์มาสาธิตให้นักเรียนดูได้ )
6.2.2 ผู้เรียนศึกษาใบความรู้ที่ 11.1 เรื่อง องค์ประกอบและประเภทของเกม
6.2.3 ผู้สอนสุ่มถามผู้เรียนในห้องเรียนเกี่ยวกับเกมที่ผู้เรียนรู้จัก ผู้สอนเขียนชื่อเกมที่ผู้เรียนรู้จัก
บนกระดานประมาณ 3 เกม
6.2.4 ผู้สอนตั้งคาถามเพื่อเชื่อมโยงให้เห็นถึงองค์ประกอบที่สาคัญของเกมได้แก่ กลไกหลักของเกม
ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ และการเล่าเรื่องราว ว่าแต่ละเกมมีลักษณะองค์ประกอบของเกมอย่างไร
จากนั้นนาเกมเดิมที่ผู้เรียนรู้จักในข้อที่ 6.2.3 ร่วมกันอภิปรายความสาคัญของเกมนั้น มีความ
สร้างสรรค์หรือไม่ เพราะเหตุใด และเกมนั้นมีประโยชน์อย่างไรบ้าง
6.2.5 ผู้สอนแนะนาวิธีแบ่งประเภทของเกม โดยยกตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการแบ่งประเภท
ของเกม 1-2 เกม โดยผู้สอนตั้งคาถามเพื่อจุดประเด็นความคิด
ตัวอย่างคาถาม เช่น
-ใน 1 เกม จะมีหลายประเภทได้หรือไม่ ?
( แนวคาตอบ ใช่ เกมบางเกมมีหลายประเภท ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนของเกมนั้น )
- เกมใดบ้างที่ผู้เรียนคิดว่ามีหลายประเภท ?
( แนวคาตอบ เกม angry bird เป็นเกมวางแผน พิจารณาจากกลไกหลักของเกมที่ต้องใช้
ทักษะการคานวณ และเกมแอ็คชั่น พิจารณาจากการเล่าเรื่องราวของเกม )
6.2.6 ผู้สอนและผู้เรียน ร่วมกันสรุปแนวคิดที่ได้จากการศึกษาองค์ประกอบและประเภทของเกม
และยกตัวอย่างบนกระดาน
ตัวอย่าง / แนวทางการสรุปแนวคิด
กลไกหลักของเกม ...............................
ชื่อเกม....................................... องค์ประกอบ ส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้ .............................
ประเภทของเกม........................ การเล่าเรื่องราว ..................................
6.2.7 ผู้สอนแบ่งกลุ่มผู้เรียน กลุ่มละ 2-3 คน ศึกษาตัวอย่างโปรเจกต์เกมในโปรแกรม Scratch ใน
โฟลเดอร์ C:Program FilesScratchProjectsGames ทั้งหมด 5 เกมดังนี้
ตัวอย่างโปรเจกต์เกม GuessingGame
ตัวอย่างโปรเจกต์เกม PacMan
ตัวอย่างโปรเจกต์เกม FruitCraftRPG
ตัวอย่างโปรเจกต์เกม BugOnAPlate
แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ
แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -4- สาขาคอมพิวเตอร์
หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวอย่างโปรเจกต์เกม ScrollingDemo
จากนั้นให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มทาใบงานที่ 11.1 เรื่องรู้จักเกมสร้างสรรค์
6.2.8 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปให้ผู้เรียนเห็นว่าผลงานของผู้อื่นที่พัฒนามาแล้ว
อาจยังไม่สมบูรณ์ เราสามารถทาให้ผลงานนั้นมีศักยภาพหรือประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้นได้ เป็น
การพัฒนาต่อยอดผลงานนั่นเอง
6.2.9 ผู้สอนถามคาถามทบทวนให้ผู้เรียนตอบว่า “ใช่” หรือ “ไม่ใช่” เป็นการทบทวนตามความ
เหมาะสมของเวลาตัวอย่างคาถาม เช่น
- บล็อก broadcast ใช้ในการกระจายสารให้ตัวละครต่างๆ (ใช่)
- บล็อก join ใช้ในการเปลี่ยนชุดตัวละคร (ไม่ใช่บล็อก join ใช้สาหรับผสานข้อความกับ
ข้อความ ข้อความกับข้อมูลที่เก็บในตัวแปร หรือข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปรต่างๆ)
- กลุ่มบล็อก Variables ใช้สร้างตัวแปร(ใช่)
- การตรวจสอบการสัมผัสสี ใช้บล็อก when I receive (ไม่ใช่ การตรวจสอบการสัมผัสสี
ใช้บล็อก touching color…? หรือ color…is touching…?)
- เล่นเสียงต่างๆ ด้วยกลุ่มบล็อก Looks (ไม่ใช่ เล่นเสียงต่างๆ ด้วยกลุ่มบล็อก Sound)
6.2.10 ผู้สอนอธิบาย ให้เข้าใจถึงคาตอบของบล็อกให้ถูกต้อง
6.2.11 ผู้สอนทาการทบทวนการใช้กลุ่มบล็อก Variables เช่น การสร้างตัวแปร make a variable
และการใช้งานตัวแปรให้แก่ผู้เรียน
6.2.12 ผู้สอนสาธิตการใช้ บล็อก change อยู่ในกลุ่มบล็อก Variables ใช้สาหรับเพิ่มหรือลดค่าของ
ตัวแปรที่กาหนด
6.2.13 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มทาใบงานที่ 11.2 เรื่อง เรื่องของตัวแปรจากนั้นผู้สอนและผู้เรียนร่วมกัน
เฉลยคาตอบในใบงานที่ 11.2
6.2.14 ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดเพิ่มเติมว่าหากใช้งานบล็อก change ที่อยู่ในกลุ่มบล็อก Variable
ในการสร้างโปรเจกต์เกมจะใช้งานอย่างไร สุ่มผู้เรียนยกตัวอย่าง 2-3 คน
6.2.15 ผู้สอนสาธิตการใช้บล็อก timer และ reset timer จะอยู่ในกลุ่มบล็อก Sensing บล็อก
timer จะใช้สาหรับจับเวลา และคาสั่ง reset timer และบล็อก random อยู่ในกลุ่มบล็อก
Operators
6.2.16 ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มทาใบงานที่ 11.3 เรื่องกาหนดเวลาและการสุ่มให้กับเกม จากนั้นตรวจ
ผลงานผู้เรียนในใบงานที่ 11.3
6.2.17 ผู้สอนทบทวนการใช้บล็อก change, timer และ random และสอบถามผู้เรียนว่าหาก
ต้องการสร้างเกมซึ่งมีผีเสื้อบินวนไปมา และผู้เล่นใช้สวิงไล่จับผีเสื้อภายในเวลาที่กาหนด
เราจะใช้งานบล็อกทั้ง 3 บล็อกดังกล่าวในเกมนี้อย่างไรบ้าง ให้ผู้เรียนช่วยกันระดมความคิด
เพื่อตอบคาถาม
แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ
แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -5- สาขาคอมพิวเตอร์
หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
6.2.18 ผู้สอนแนะนาผู้เรียนให้ทบทวนการใช้กลุ่มบล็อก และบล็อกที่เคยเรียนมา เพื่อเตรียมความ
พร้อมในการเริ่มออกแบบการสร้างเกมในชั่วโมงถัดไป
7. การวัดประเมินผล
7.1 ตรวจคาตอบในใบงาน
7.2 สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
8. แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม
8.1 ผลงานที่สร้างด้วยโปรแกรม Scratch เว็บไซต์ http://scratch.mit.edu/ (19/10/55)
8.2 เทคนิคการใช้โปรแกรม Scratch เว็บไซต์ http://scratched.media.mit.edu (19/10/55)
8.3 แนะนาส่วนประกอบของโปรแกรม Scratch
เว็บไซต์ http://info.scratch.mit.edu/Support/Reference_Guide_1.4 (19/10/55)
9. ข้อเสนอแนะ
9.1 ขั้นตอนการดาเนินการข้อ 6.2.5 ผู้สอนแนะนาเพิ่มเติมว่า เกมสามารถแบ่งได้หลายแบบขึ้นอยู่กับ
องค์ประกอบ และยกตัวอย่างตามความเหมาะสมของเวลา
9.2 ขั้นตอนการดาเนินการข้อ 6.2.9 ผู้สอนอาจกาหนดสัญลักษณ์ในการถามตอบ ใช่หรือไม่ใช่ เช่น
การตอบว่า ใช่ ให้ผู้เรียนยกนิ้วโปูงหันขึ้น ไม่ใช่ให้คว่านิ้วโปูงหันลงและคาถามแต่ละข้ออาจขึ้นสไลด์
เพื่อให้ผู้เรียนอ่านพร้อมๆ ไปกับการฟังคาถาม
9.3 กรณีที่เวลาเรียนไม่เพียงพอ ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมมาล่วงหน้า หรือทบทวนย้อนหลังเพื่อให้
มีเวลาในการสร้างชิ้นงานเสร็จทันตามเวลาที่กาหนด และทาให้ได้ผลงานที่ดียิ่งขึ้น
9.4 ผู้สอนควร กร ะตุ้นผู้เรียนให้เกิดควา มคิดสร้า งสร ร ค์ด้านต่า งๆ ร ะหว่างกา ร ทา
ใบงานโดยสรุปเป็นตารางดังนี้
ใบงาน คิดคล่องแคล่ว คิดยืดหยุ่น คิดริเริ่ม คิดละเอียดลออ
11.1   
11.2 
11.3 
แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ
แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -6- สาขาคอมพิวเตอร์
หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…....
ปัญหาที่พบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ครั้งต่อไป
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ......................................................
(..................................................)
ครูผู้สอน
ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………………….
(............................................)
หัวหน้ากลุ่มสาระ……………………………………………..
ความคิดเห็นของฝุายวิชาการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ…………………………..………………….
(…………………………………….)
รองผู้อานวยการฝุายวิชาการ
แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ
แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -7- สาขาคอมพิวเตอร์
หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ……………..………………………………….
(...................................................)
ผู้อานวยการโรงเรียน..................
แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ
แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -8- สาขาคอมพิวเตอร์
หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ใบงานที่ 11.1
รู้จักเกมสร้างสรรค์
1. ศึกษาโปรเจกต์เกมในโฟลเดอร์ C:Program FilesScratchProjectsGames
2. เลือกเกมที่สนใจ จากนั้นระบุว่าเป็นเกมประเภทใด พร้อมอธิบายองค์ประกอบของเกมที่นักเรียนเลือก
ศึกษา
ศึกษาโปรเจกต์ชื่อ
3. เติมส่วนที่คิดว่าจะเปลี่ยนแปลงโปรเจกต์ที่ได้ศึกษาตามหัวข้อในรูปด้านล่าง
เปลี่ยน
รายชื่อสมาชิกในกลุ่มที่...............
1……………………………………………………………………………………2…………………………………………………………………………….
3………………………………………………………………………………….…4…………………………………………………………………………………
…
สลับที่ รวม
ลด/เพิ่ม ลบ
นำไปใช้ ปรับ
ขยำย
1. ................................
...................................
กลไกหลักของเกม
……………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………
ส่วนติดต่อกับผู้ใช้……………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………
การเล่าเรื่องราว……………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………
…
แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ
แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -9- สาขาคอมพิวเตอร์
หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
4. ออกแบบสร้างเกม ด้วยโปรแกรม Scratch ของตนเอง
4.1 ชื่อของเกม.............................................................................................................................................
4.2 ประเภทของเกม.....................................................................................................................................
4.3 เพราะเหตุใดจึงสร้างเกมดังกล่าว .........................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
4.4 เกมนี้มีประโยชน์ในชีวิตประจาวันอย่างไร..........................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
จะสร้างเกมรูปแบบไหนดีนะ !
แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ
แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -10- สาขาคอมพิวเตอร์
หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ใบงานที่ 11.2
เรื่องของตัวแปร
1. สร้างโปรเจกต์ใหม่
2. วาดวงกลม และสี่เหลี่ยม ดังนี้
3. เขียนสคริปต์เพื่อนับจานวนครั้งของการสัมผัสระหว่างวงกลมกับสี่เหลี่ยม ดังนี้
3.1 สร้างตัวแปรชื่อ count สาหรับเก็บข้อมูลจานวนครั้งในการสัมผัสสี
3.2 เขียนสคริปต์ คลิก และทดสอบการทางานโดยคลิกที่วงกลมแล้วลากไปวางบนสี่เหลี่ยม
จากนั้นสังเกตและบันทึกผลลัพธ์
สคริปต์ ผลลัพธ์
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
รายชื่อสมาชิกในกลุ่มที่...............
1…………………………………………………………………………………2…………………..…………………………………………………………….
3………………………………………………………………………………….4……………………………………………………………………………………
แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ
แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -11- สาขาคอมพิวเตอร์
หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
4. โยงเส้นจับคู่ระหว่างบล็อกและคาอธิบายที่สอดคล้องกัน
o กาหนดให้ตัวแปร count มีค่าเท่ากับ 0
o ถ้ามีการสัมผัสสี
o เปลี่ยนค่าในตัวแปร count เพิ่มขึ้น 1 หน่วย
o ทาซ้าจนกระทั่งตัวแปร count เท่ากับ 3
5. การเปลี่ยนรูปแบบการแสดงตัวแปรและข้อมูลบนเวทีให้เป็นแบบแถบเลื่อน ทาได้ดังนี้
5.1 คลิกขวาที่ตัวแปรบนเวทีและคลิก slider
5.2 จะปรากฏแถบเลื่อนใต้ข้อมูล ดังรูป
5.3 คลิกขวาที่ตัวแปร และคลิก set slider min and max เพื่อกาหนดค่าต่าสุดและสูงสุด
แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ
แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -12- สาขาคอมพิวเตอร์
หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
5.4 จะปรากฏหน้าต่างในการกาหนดค่า ให้เติมจานวนที่ต้องการ แล้วคลิกปุุม
5.5 ระหว่างการแสดงผลโปรเจกต์ จะปรากฏการเปลี่ยนแปลงของแถบเลื่อนดังตัวอย่าง
6. โยงเส้นจับคู่ระหว่างรูปแบบการแสดงตัวแปรบนเวทีกับคาสั่งที่สัมพันธ์กัน
o normal readout
o large readout
o slider
o hide
แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ
แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -13- สาขาคอมพิวเตอร์
หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ใบงานที่ 11.3
กาหนดเวลาให้กับเกม
1. สร้างโปรเจกต์ใหม่
2. สร้างตัวแปร 2 ตัว ดังนี้
2.1 ตัวแปรชื่อ time_up สาหรับเก็บข้อมูลเวลาทั้งหมดในการเล่นเกม
2.2 ตัวแปรชื่อ time_left สาหรับเก็บเวลาที่เหลือ
2.3 การคานวณเกี่ยวกับเวลา มีดังนี้
เวลาที่เหลือ = เวลาทั้งหมด –timer
2.4 เขียนสคริปต์ จากนั้น คลิก สังเกตผลลัพธ์ และเขียนอธิบาย
การทางานตามขั้นตอน
สคริปต์ ขั้นตอนการทางาน
..................................................................................
..................................................................................
................................................................................. .
..................................................................................
..................................................................................
................................................................................. .
..................................................................................
............................................................................... ...
. .................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
อย่าลืมคลิก
ด้วยจ้า
รายชื่อสมาชิกในกลุ่มที่...............
1……………………………………………………………………………. 2………………………………………………………………………………….
3……………………………………………………………………………… 4……………………………………………………………………………………
แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ
แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -14- สาขาคอมพิวเตอร์
หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3. เพิ่มบล็อก ดังนี้
3.1 บล็อกชื่อ pick random ที่อยู่ในกลุ่มบล็อก Operators สาหรับสุ่มตาแหน่งและขนาดของวัตถุ
ที่กาหนด
3.2 การคานวณเกี่ยวกับบล็อก pick random มีดังนี้
การคานวณเกี่ยวกับตาแหน่ง X และ y ได้ตั้งแต่ -180 ถึง 180
การคานวณของขนาดวัตถุ เพิ่ม-ลด ขนาดตั้งแต่ 1 ถึง 500%
3.3 เพิ่มสคริปต์จากข้อ 2.4 จากนั้น คลิก สังเกตผลลัพธ์ และเขียนอธิบายการทางานตามขั้นตอน
สคริปต์ สังเกตการทางาน
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
...........................................................
สังเกตการทางาน
ของวัตถุดูด้วยจ้า
แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ
แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -15- สาขาคอมพิวเตอร์
หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ใบความรู้ที่ 11.1
องค์ประกอบและประเภทของเกม
เกมบนคอมพิวเตอร์นั้นมีหลายประเภท แต่ละประเภทก็มีองค์ประกอบปลีกย่อยแตกต่างกัน เช่นเกมต่อสู้
อาจจะต้องเน้นองค์ประกอบด้านความเหมือนจริงของภาพมากกว่าเกมแนวปริศนา อย่างไรก็ตามองค์ประกอบ
พื้นฐานของเกมที่นักพัฒนาจะต้องคานึงถึงมีดังนี้
1. กลไกหลักของเกม กลไกของเกมจะระบุกฎกติกาที่ผู้เล่นสามารถดาเนินการใดๆในโลกของเกมนั้นได้
กลไกของเกมจะต้องสร้างความท้าทายให้กับผู้ใช้และมอบรางวัลให้กับผู้ใช้เมื่อผู้ใช้สามารถดาเนินการบางอย่าง
ได้สาเร็จ
ตัวอย่างของกลไกหลักของเกมเช่น ในเกม Angry Birds เรามีนกที่สามารถยิงใส่ฉากที่ประกอบด้วย
สิ่งของต่างๆ ได้ สิ่งของเหล่านั้นจะพังทลายไปตามกฎฟิสิกส์และความสามารถของนก เปูาหมายของ
การทาลายฉากต่างๆ เพื่อจะทาลายหมูที่ขโมยไข่ของนกไป หรือตัวอย่างเช่น ในเกมตีตุ่น เราจะมีรูอยู่ที่พื้น
จะมีตัวตุ่นโผล่ขึ้นมาจากรูเหล่านี้ ตัวตุ่นจะโผล่มาแล้วหายไปตามเวลา ผู้เล่นมีค้อนที่จะต้องนาไปตีตัวตุ่นที่โผล่
ขึ้นมา
2. ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ องค์ประกอบนี้ของเกมจะเป็นส่วนที่ผู้ใช้จะเห็นและติดต่อด้วย หน้าที่ของส่วนนี้
คือการสร้างภาพและเสียงของเกมตามกลไกของเกมที่ออกแบบไว้ และรับข้อมูลจากผู้เล่นว่าจะดาเนินการ
ในเกมเช่นใด ส่วนติดต่อกับผู้ใช้นี้นอกจากจะต้องสร้างสีสันให้กับเกมแล้ว ความเป็นธรรมชาติของการใช้งาน
ยังเป็นสิ่งที่จาเป็น ถ้าผู้พัฒนาเกมต้องการให้ผู้ใช้สนุกและรู้สึกมีส่วนร่วมอยู่ในโลกของเกมนั้นจริงๆ
ถ้าเราพิจารณาเกมเช่น Angry Birds ส่วนติดต่อกับผู้ใช้จะรับแรงและมุมที่นกถูกยิงออกจากฐานยิง
สังเกตว่าความสนุกของเกมจะลดลงมาก ถ้าเราเปลี่ยนวิธีการติดต่อกับผู้ใช้เป็นการให้ผู้ใช้ปูอนตัวเลขเพื่อระบุ
มุมและแรงที่ต้องการใช้ยิงนก สาหรับเกมตีตัวตุ่นก็เช่นเดียวกัน ถ้าเราออกแบบหน้าจอกว้างเกินไป ทาให้การ
เคลื่อนเมาส์ไปตีตัวตุ่นทาได้ไม่เร็วพอที่จะตอบสนองการโผล่ขึ้นมาของตัวตุ่น เกมที่เราพัฒนาขึ้นย่อมขาดความ
สนุกไป ถึงแม้ว่ากลไกภายในของเกมจะถูกคิดขึ้นอย่างดีก็ตาม
นอกจากกลไกหลักของเกม และส่วนติดต่อกับผู้ใช้ จะมีความสาคัญแล้ว ในบางเกมที่ใช้เวลาในการเล่น
มากขึ้น การเล่าเรื่องราว ก็มีส่วนสาคัญเช่นเดียวกัน
3. การเล่าเรื่องราว ในหลายๆ เกมที่มีการดาเนินเรื่องยาวนาน มีหลายฉาก หรือว่ามีหลายด่านย่อย
สิ่งที่เชื่อมโยงหน่วยย่อยๆ เข้าด้วยกันก็คือเรื่องราวที่วางพื้นหลังของเกม เรื่องราวที่ถูกเล่าไปพร้อมๆ กับ
การดาเนินไปของเกมจะทาให้ผู้เล่นเห็นเปูาหมายของเกมได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
นอกจากนี้ หลายครั้งผู้เล่นจะเข้าใจกลไกของเกมรวมถึงรูปแบบในการติดต่อกับผู้ใช้ได้ไม่ยาก ถ้าผู้ใช้
มีความรู้และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเกมนั้นๆ ดังนั้นเกมที่วางอยู่บนเรื่องราวทั่วไป ก็จะเป็นเกมที่เข้าถึงได้
ง่ายโดยแทบไม่ต้องใช้คาอธิบายอย่างใดเลย
แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ
แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -16- สาขาคอมพิวเตอร์
หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ก่อนการสร้างเกมเราควรกาหนดแนวทางว่าจะทาเกมออกมาในกลุ่มของเกมใด ซึ่งเป็นตัวกาหนด
กลุ่มเปูาหมายของผู้เล่น เพื่อเป็นแนวในการกาหนดเทคโนโลยีที่จะนามาใช้งาน ประเภทของเกมมีการแบ่งไว้
หลายรูปแบบ โดยอาจแบ่งตามการใช้ประโยชน์ เช่น เพื่อความสนุกสนาน เพื่อฝึกทักษะ หรือเพื่อการเรียนการ
สอน หรือแบ่งตามลักษณะการสร้างภาพ เช่น เกม 2 มิติ เกม 3 มิติ หรือขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของเกม ซึ่ง
อาจแบ่งได้หลายประเภท ดังนี้
1. เกมเลียนแบบหรือการจาลอง (Simulation Games) เช่น SIMS ซึ่งเป็นเกมที่พยายามเลียนแบบ
เหตุการณ์จริง เพื่อพัฒนาทักษะของผู้เล่น เช่น การฝึกบินจาลอง การขับรถจาลอง
2. เกมแอคชั่นแบบ FPS (Action First Person Shooters Games) เป็นเกมยิงปืนที่ผู้เล่นเป็นตัวเอกไล่
ยิงผู้ร้าย ไปจนถึงสัตว์ประหลาดต่างๆตามระดับการเล่นมีทั้งเล่นแบบคนเดียวและเล่นเป็นกลุ่ม
3. เกมผจญภัย (Adventure Games) มีวัตถุประสงค์ของเกมเพื่อทาภารกิจให้สาเร็จในดินแดนที่สร้างขึ้น
ต้องแก้ไขปัญหาหรือหาสิ่งจาเป็นในระดับของเกมที่แตกต่างกันไป เช่น หากุญแจเพื่อไขเปิดห้องลับเพื่อไปหยิบ
อาวุธ
4. เกม RPG (Role-Playing) เป็นเกมที่ผู้เล่นสามารถสร้างหรือเลือก character ของตัวละครให้ตรงกับ
ความชอบของตัวเอง แล้วเล่นไปตามเนื้อเรื่องของเกม
5. เกมต่อสู้ (Fighting Game) เป็นเกมต่อสู้กันโดยมีตัวละครต่อสู้กันแบบตัวต่อตัว ด้วยเทคนิคในการ
ต่อสู้เฉพาะตัว
6. เกมวางแผน (Strategy Games) เกมที่ใช้ความคิด 8 นากลยุทธ์มาใช้เพื่อเอาชนะ เกมมีเรื่องราวเป็น
นิทาน หรือตานาน มีตัวละครนาและการผูกเรื่องเข้ากับการต่อสู้และวางแผนในเกม
7. เกมปริศนา (Puzzle Game) เกมแก้ปัญหาให้ลุล่วงตามจุดประสงค์หลักของเกม เช่น เกมตัวต่อ
8. เกมกีฬาและการแข่งขัน (Sport & Racing Games) วัตถุประสงค์ของเกมเพื่อการเป็นที่หนึ่งของการ
แข่งขัน เช่น แข่งรถ แข่งฟุตบอล
9. เกมการศึกษา (Education Game) วัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ความรู้และความเพลิดเพลิน
สาหรับผู้เริ่มต้นพัฒนาอาจจะเน้นศึกษาแค่บางองค์ประกอบก่อน แต่ต้องไม่ลืมว่าในการออกแบบและ
พัฒนาเกมคอมพิวเตอร์นั้น องค์ประกอบทั้งสามที่กล่าวมาต้องได้รับการออกแบบให้เข้ากันอย่างเหมาะสม
เกมที่พัฒนาขึ้นจึงจะประสบผลสาเร็จได้

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์Fon Edu Com-sci
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
paveenada
 
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์Chatree MChatree
 
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5miiztake
 
การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...
การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...
การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...
Mjjeje Mint
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิกใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
somdetpittayakom school
 
ข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch upข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch up
chanaporn sornnuwat
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
thanakornmaimai
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
Rung Kru
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
Pongpan Pairojana
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ศุภชัย พุทธรักษ์
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
Proud N. Boonrak
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
Royphim Namsongwong
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4krunuy5
 
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
CHIDCHANOKPHOOPECH
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานChess
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Unit2 5
Unit2 5Unit2 5
Unit2 5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
 
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
 
การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...
การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...
การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิกใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch upข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch up
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
 

Similar to Unit 4 11

คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)
คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)
คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)
Jaturapad Pratoom
 
Kodu game
Kodu game Kodu game
นายทักษิณ ดารา-ชั้นม
นายทักษิณ ดารา-ชั้นมนายทักษิณ ดารา-ชั้นม
นายทักษิณ ดารา-ชั้นม
Taksinfeef
 
ใบงานท 8
ใบงานท   8ใบงานท   8
ใบงานท 8Milk MK
 
Work.com3
Work.com3Work.com3
Klong ngan3
Klong ngan3Klong ngan3
Klong ngan3
onginzone
 
Scratch คู่มือ
Scratch คู่มือScratch คู่มือ
Scratch คู่มือ
Chatchai PI
 
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ2
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ2โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ2
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ2
Chatchayanee Tuppadung
 
Com3com
Com3comCom3com
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
ThanapornChaiboot
 
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2
midfill69
 
โครงงานพัฒนาโปรแกรม
โครงงานพัฒนาโปรแกรมโครงงานพัฒนาโปรแกรม
โครงงานพัฒนาโปรแกรม
Nathirat Cherntongchai
 

Similar to Unit 4 11 (20)

คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)
คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)
คู่มือ Kodu Game Lab (ภาษาไทย)
 
Unit 4 13
Unit 4 13Unit 4 13
Unit 4 13
 
Kodu game
Kodu game Kodu game
Kodu game
 
นายทักษิณ ดารา-ชั้นม
นายทักษิณ ดารา-ชั้นมนายทักษิณ ดารา-ชั้นม
นายทักษิณ ดารา-ชั้นม
 
Kodu game
Kodu gameKodu game
Kodu game
 
K7
K7K7
K7
 
K7
K7K7
K7
 
Unit 4 12
Unit 4  12Unit 4  12
Unit 4 12
 
ใบงานท 8
ใบงานท   8ใบงานท   8
ใบงานท 8
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
K8
K8K8
K8
 
Work.com3
Work.com3Work.com3
Work.com3
 
Klong ngan3
Klong ngan3Klong ngan3
Klong ngan3
 
Scratch คู่มือ
Scratch คู่มือScratch คู่มือ
Scratch คู่มือ
 
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ2
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ2โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ2
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ2
 
Com3com
Com3comCom3com
Com3com
 
โครงงานประเภ4
โครงงานประเภ4โครงงานประเภ4
โครงงานประเภ4
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2
 
โครงงานพัฒนาโปรแกรม
โครงงานพัฒนาโปรแกรมโครงงานพัฒนาโปรแกรม
โครงงานพัฒนาโปรแกรม
 

More from dechathon

บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1
dechathon
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5dechathon
 
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีdechathon
 
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
dechathon
 
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
dechathon
 
Unit5 16
Unit5 16Unit5 16
Unit5 16
dechathon
 

More from dechathon (20)

บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
 
ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4
 
ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3
 
ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
 
ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5
 
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
 
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
 
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
 
Unit5 16
Unit5 16Unit5 16
Unit5 16
 
Unit5 14
Unit5 14Unit5 14
Unit5 14
 
Unit3 10
Unit3 10Unit3 10
Unit3 10
 
Unit3 9
Unit3 9Unit3 9
Unit3 9
 
Unit3 8
Unit3 8Unit3 8
Unit3 8
 
Unit2 7
Unit2 7Unit2 7
Unit2 7
 
Unit2 6
Unit2 6Unit2 6
Unit2 6
 
Unit5 15
Unit5 15Unit5 15
Unit5 15
 
Unit1 3
Unit1 3Unit1 3
Unit1 3
 

Unit 4 11

  • 1. แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -1- สาขาคอมพิวเตอร์ หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เกมสร้างสรรค์ แผนการเรียนรู้ที่ 11 เรื่อง มาสร้างเกมกันเถอะ ชั่วโมงที่ 22 – 23 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ใช้คาสั่งพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม 1.2 กาหนดและใช้งานตัวแปร 1.3 ใช้โครงสร้างแบบลาดับ เงื่อนไข และวนซ้า 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 องค์ประกอบของเกมและเกมประเภทต่างๆ 2.2 การใช้งานกลุ่มบล็อก Variables 2.3 การใช้บล็อก timer และ reset timer 2.4 การใช้บล็อก random 3. จุดประสงค์ ให้ผู้เรียนสามารถ ด้านการเขียนโปรแกรม 3.1 อธิบายองค์ประกอบและประเภทของเกม 3.2 ใช้กลุ่มบล็อก Variables 3.3 ใช้บล็อกtimer และ reset timer 3.4 ใช้บล็อก random ด้านความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาทักษะด้านความคิดคล่องแคล่ว คิดยืดหยุ่น คิดริเริ่ม และคิดละเอียดลออ 4. แนวคิด องค์ประกอบของเกมประกอบด้วย 3 ส่วนคือกลไกหลักของเกมซึ่งจะระบุกฎกติกาไว้เพื่อสร้างความ ท้าทาย และให้ผู้ใช้สามารถดาเนินการได้สาเร็จ ส่วนติดต่อกับผู้ใช้เป็นส่วนของการสร้างภาพและเสียงตาม กลไกของเกมที่ออกแบบไว้รวมถึงการรับข้อมูลจากผู้เล่นเพื่อกระตุ้นความต้องการอยากมีส่วนร่วมและ การเล่าเรื่องราวซึ่งเป็นการเชื่อมโยงรายละเอียดเข้าด้วยกันโดยใช้ฉากหรือตัวละครเพื่อให้ผู้เล่นเห็นเปูาหมาย ของเกมให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ประเภทของเกมมีการแบ่งประเภทไว้หลายรูปแบบโดยอาจแบ่งตามประโยชน์ของเกม เช่น เพื่อความสนุกสนานเพื่อฝึกทักษะเพื่อการเรียนการสอน หรือแบ่งตามลักษณะการสร้างภาพ เช่น เกม 2 มิติ
  • 2. แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -2- สาขาคอมพิวเตอร์ หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เกม 3 มิติ หรืออาจขึ้นอยู่กับลักษณะของเกม เช่น เกมการจาลอง เกมแอคชั่น เกมผจญภัย เกม RPG เกมต่อสู้ เกมวางแผน เกมกีฬาและการแข่งขัน เกมปริศนา บล็อก change อยู่ในกลุ่มบล็อก Variables ใช้เพิ่มหรือลดค่าของตัวแปรที่กาหนด บล็อก timer และ reset timer อยู่ในกลุ่มบล็อก Sensing บล็อก timer ใช้สาหรับจับเวลาและบล็อก reset timer ใช้สาหรับตั้งค่าเวลาใหม่เป็น 0 บล็อก random อยู่ในกลุ่มบล็อก Operators ใช้สุ่มค่าโดยกาหนดค่าเป็นตัวเลข เช่น การสุ่มค่าตั้งแต่ 1 ถึง 10 โปรแกรมจะสุ่มตัวเลขออกมา ตัวเลขที่เป็นไปได้คือช่วงเลข 1 ถึง 10 เท่านั้น เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ภายในเกม เช่น สุ่มตาแหน่งการวางตัวละคร สุ่มการเคลื่อนที่ของตัวละคร 5. สื่ออุปกรณ์ 5.1 ใบงาน ใบงานที่ เรื่อง เวลา (นาที) 11.1 รู้จักเกมสร้างสรรค์ 20 11.2 เรื่องของตัวแปร 30 11.3 กาหนดเวลาและการสุ่มให้กับเกม 20 5.2 ใบความรู้ ใบความรู้ที่ 11.1 เรื่ององค์ประกอบและประเภทของเกม 5.3 อื่นๆ 5.3.1 ตัวอย่างโปรเจกต์เกมใน Scratch ชื่อไฟล์ โฟลเดอร์ 1.GuessingGame C:ProgramFilesScratchProjectsGames 2.PacMan C:ProgramFilesScratchProjectsGames 3. Pong C:ProgramFilesScratchProjectsGames 4. FruitCraftRPG C:ProgramFilesScratchProjectsGames 5. ScrollingDemo C:ProgramFilesScratchProjectsGames 5.3.2 กระดาษเปล่า 5.3.3 กระดาษโน้ต 6. วิธีดาเนินกิจกรรม 6.1 การจัดเตรียม 6.1.1 ใบงานที่ 11.1-11.3 ตามจานวนกลุ่ม 6.1.2 ใบความรู้ที่ 11.1 ตามจานวนผู้เรียน 6.1.3 กระดาษเปล่า และกระดาษโน้ต ตามจานวนผู้เรียน
  • 3. แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -3- สาขาคอมพิวเตอร์ หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6.2 ขั้นตอนการดาเนินการ 6.2.1 ผู้สอนสาธิตการเล่นเกมที่สร้างจากโปรแกรม Scratch ให้ผู้เรียนชมและร่วมกันสังเกต ส่วนประกอบของเกมคร่าวๆ เช่น ตัวละครหลัก ตัวละครเสริม ฉาก เรื่องราวซึ่งส่วนประกอบ ดังกล่าว สามารถสร้างด้วยโปรแกรม Scratch ได้ (ผู้สอนอาจนาตัวอย่างเกมจากเว็บไซต์ http://scratch.mit.edu ที่มีความสมบูรณ์มาสาธิตให้นักเรียนดูได้ ) 6.2.2 ผู้เรียนศึกษาใบความรู้ที่ 11.1 เรื่อง องค์ประกอบและประเภทของเกม 6.2.3 ผู้สอนสุ่มถามผู้เรียนในห้องเรียนเกี่ยวกับเกมที่ผู้เรียนรู้จัก ผู้สอนเขียนชื่อเกมที่ผู้เรียนรู้จัก บนกระดานประมาณ 3 เกม 6.2.4 ผู้สอนตั้งคาถามเพื่อเชื่อมโยงให้เห็นถึงองค์ประกอบที่สาคัญของเกมได้แก่ กลไกหลักของเกม ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ และการเล่าเรื่องราว ว่าแต่ละเกมมีลักษณะองค์ประกอบของเกมอย่างไร จากนั้นนาเกมเดิมที่ผู้เรียนรู้จักในข้อที่ 6.2.3 ร่วมกันอภิปรายความสาคัญของเกมนั้น มีความ สร้างสรรค์หรือไม่ เพราะเหตุใด และเกมนั้นมีประโยชน์อย่างไรบ้าง 6.2.5 ผู้สอนแนะนาวิธีแบ่งประเภทของเกม โดยยกตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการแบ่งประเภท ของเกม 1-2 เกม โดยผู้สอนตั้งคาถามเพื่อจุดประเด็นความคิด ตัวอย่างคาถาม เช่น -ใน 1 เกม จะมีหลายประเภทได้หรือไม่ ? ( แนวคาตอบ ใช่ เกมบางเกมมีหลายประเภท ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนของเกมนั้น ) - เกมใดบ้างที่ผู้เรียนคิดว่ามีหลายประเภท ? ( แนวคาตอบ เกม angry bird เป็นเกมวางแผน พิจารณาจากกลไกหลักของเกมที่ต้องใช้ ทักษะการคานวณ และเกมแอ็คชั่น พิจารณาจากการเล่าเรื่องราวของเกม ) 6.2.6 ผู้สอนและผู้เรียน ร่วมกันสรุปแนวคิดที่ได้จากการศึกษาองค์ประกอบและประเภทของเกม และยกตัวอย่างบนกระดาน ตัวอย่าง / แนวทางการสรุปแนวคิด กลไกหลักของเกม ............................... ชื่อเกม....................................... องค์ประกอบ ส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้ ............................. ประเภทของเกม........................ การเล่าเรื่องราว .................................. 6.2.7 ผู้สอนแบ่งกลุ่มผู้เรียน กลุ่มละ 2-3 คน ศึกษาตัวอย่างโปรเจกต์เกมในโปรแกรม Scratch ใน โฟลเดอร์ C:Program FilesScratchProjectsGames ทั้งหมด 5 เกมดังนี้ ตัวอย่างโปรเจกต์เกม GuessingGame ตัวอย่างโปรเจกต์เกม PacMan ตัวอย่างโปรเจกต์เกม FruitCraftRPG ตัวอย่างโปรเจกต์เกม BugOnAPlate
  • 4. แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -4- สาขาคอมพิวเตอร์ หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตัวอย่างโปรเจกต์เกม ScrollingDemo จากนั้นให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มทาใบงานที่ 11.1 เรื่องรู้จักเกมสร้างสรรค์ 6.2.8 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปให้ผู้เรียนเห็นว่าผลงานของผู้อื่นที่พัฒนามาแล้ว อาจยังไม่สมบูรณ์ เราสามารถทาให้ผลงานนั้นมีศักยภาพหรือประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้นได้ เป็น การพัฒนาต่อยอดผลงานนั่นเอง 6.2.9 ผู้สอนถามคาถามทบทวนให้ผู้เรียนตอบว่า “ใช่” หรือ “ไม่ใช่” เป็นการทบทวนตามความ เหมาะสมของเวลาตัวอย่างคาถาม เช่น - บล็อก broadcast ใช้ในการกระจายสารให้ตัวละครต่างๆ (ใช่) - บล็อก join ใช้ในการเปลี่ยนชุดตัวละคร (ไม่ใช่บล็อก join ใช้สาหรับผสานข้อความกับ ข้อความ ข้อความกับข้อมูลที่เก็บในตัวแปร หรือข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปรต่างๆ) - กลุ่มบล็อก Variables ใช้สร้างตัวแปร(ใช่) - การตรวจสอบการสัมผัสสี ใช้บล็อก when I receive (ไม่ใช่ การตรวจสอบการสัมผัสสี ใช้บล็อก touching color…? หรือ color…is touching…?) - เล่นเสียงต่างๆ ด้วยกลุ่มบล็อก Looks (ไม่ใช่ เล่นเสียงต่างๆ ด้วยกลุ่มบล็อก Sound) 6.2.10 ผู้สอนอธิบาย ให้เข้าใจถึงคาตอบของบล็อกให้ถูกต้อง 6.2.11 ผู้สอนทาการทบทวนการใช้กลุ่มบล็อก Variables เช่น การสร้างตัวแปร make a variable และการใช้งานตัวแปรให้แก่ผู้เรียน 6.2.12 ผู้สอนสาธิตการใช้ บล็อก change อยู่ในกลุ่มบล็อก Variables ใช้สาหรับเพิ่มหรือลดค่าของ ตัวแปรที่กาหนด 6.2.13 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มทาใบงานที่ 11.2 เรื่อง เรื่องของตัวแปรจากนั้นผู้สอนและผู้เรียนร่วมกัน เฉลยคาตอบในใบงานที่ 11.2 6.2.14 ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดเพิ่มเติมว่าหากใช้งานบล็อก change ที่อยู่ในกลุ่มบล็อก Variable ในการสร้างโปรเจกต์เกมจะใช้งานอย่างไร สุ่มผู้เรียนยกตัวอย่าง 2-3 คน 6.2.15 ผู้สอนสาธิตการใช้บล็อก timer และ reset timer จะอยู่ในกลุ่มบล็อก Sensing บล็อก timer จะใช้สาหรับจับเวลา และคาสั่ง reset timer และบล็อก random อยู่ในกลุ่มบล็อก Operators 6.2.16 ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มทาใบงานที่ 11.3 เรื่องกาหนดเวลาและการสุ่มให้กับเกม จากนั้นตรวจ ผลงานผู้เรียนในใบงานที่ 11.3 6.2.17 ผู้สอนทบทวนการใช้บล็อก change, timer และ random และสอบถามผู้เรียนว่าหาก ต้องการสร้างเกมซึ่งมีผีเสื้อบินวนไปมา และผู้เล่นใช้สวิงไล่จับผีเสื้อภายในเวลาที่กาหนด เราจะใช้งานบล็อกทั้ง 3 บล็อกดังกล่าวในเกมนี้อย่างไรบ้าง ให้ผู้เรียนช่วยกันระดมความคิด เพื่อตอบคาถาม
  • 5. แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -5- สาขาคอมพิวเตอร์ หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6.2.18 ผู้สอนแนะนาผู้เรียนให้ทบทวนการใช้กลุ่มบล็อก และบล็อกที่เคยเรียนมา เพื่อเตรียมความ พร้อมในการเริ่มออกแบบการสร้างเกมในชั่วโมงถัดไป 7. การวัดประเมินผล 7.1 ตรวจคาตอบในใบงาน 7.2 สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 8. แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม 8.1 ผลงานที่สร้างด้วยโปรแกรม Scratch เว็บไซต์ http://scratch.mit.edu/ (19/10/55) 8.2 เทคนิคการใช้โปรแกรม Scratch เว็บไซต์ http://scratched.media.mit.edu (19/10/55) 8.3 แนะนาส่วนประกอบของโปรแกรม Scratch เว็บไซต์ http://info.scratch.mit.edu/Support/Reference_Guide_1.4 (19/10/55) 9. ข้อเสนอแนะ 9.1 ขั้นตอนการดาเนินการข้อ 6.2.5 ผู้สอนแนะนาเพิ่มเติมว่า เกมสามารถแบ่งได้หลายแบบขึ้นอยู่กับ องค์ประกอบ และยกตัวอย่างตามความเหมาะสมของเวลา 9.2 ขั้นตอนการดาเนินการข้อ 6.2.9 ผู้สอนอาจกาหนดสัญลักษณ์ในการถามตอบ ใช่หรือไม่ใช่ เช่น การตอบว่า ใช่ ให้ผู้เรียนยกนิ้วโปูงหันขึ้น ไม่ใช่ให้คว่านิ้วโปูงหันลงและคาถามแต่ละข้ออาจขึ้นสไลด์ เพื่อให้ผู้เรียนอ่านพร้อมๆ ไปกับการฟังคาถาม 9.3 กรณีที่เวลาเรียนไม่เพียงพอ ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมมาล่วงหน้า หรือทบทวนย้อนหลังเพื่อให้ มีเวลาในการสร้างชิ้นงานเสร็จทันตามเวลาที่กาหนด และทาให้ได้ผลงานที่ดียิ่งขึ้น 9.4 ผู้สอนควร กร ะตุ้นผู้เรียนให้เกิดควา มคิดสร้า งสร ร ค์ด้านต่า งๆ ร ะหว่างกา ร ทา ใบงานโดยสรุปเป็นตารางดังนี้ ใบงาน คิดคล่องแคล่ว คิดยืดหยุ่น คิดริเริ่ม คิดละเอียดลออ 11.1    11.2  11.3 
  • 6. แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -6- สาขาคอมพิวเตอร์ หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..….... ปัญหาที่พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ครั้งต่อไป ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ...................................................... (..................................................) ครูผู้สอน ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………………. (............................................) หัวหน้ากลุ่มสาระ…………………………………………….. ความคิดเห็นของฝุายวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………..…………………. (…………………………………….) รองผู้อานวยการฝุายวิชาการ
  • 7. แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -7- สาขาคอมพิวเตอร์ หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความคิดเห็นของผู้บริหาร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………..…………………………………. (...................................................) ผู้อานวยการโรงเรียน..................
  • 8. แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -8- สาขาคอมพิวเตอร์ หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใบงานที่ 11.1 รู้จักเกมสร้างสรรค์ 1. ศึกษาโปรเจกต์เกมในโฟลเดอร์ C:Program FilesScratchProjectsGames 2. เลือกเกมที่สนใจ จากนั้นระบุว่าเป็นเกมประเภทใด พร้อมอธิบายองค์ประกอบของเกมที่นักเรียนเลือก ศึกษา ศึกษาโปรเจกต์ชื่อ 3. เติมส่วนที่คิดว่าจะเปลี่ยนแปลงโปรเจกต์ที่ได้ศึกษาตามหัวข้อในรูปด้านล่าง เปลี่ยน รายชื่อสมาชิกในกลุ่มที่............... 1……………………………………………………………………………………2……………………………………………………………………………. 3………………………………………………………………………………….…4………………………………………………………………………………… … สลับที่ รวม ลด/เพิ่ม ลบ นำไปใช้ ปรับ ขยำย 1. ................................ ................................... กลไกหลักของเกม …………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………… ส่วนติดต่อกับผู้ใช้…………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………… การเล่าเรื่องราว…………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………… …
  • 9. แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -9- สาขาคอมพิวเตอร์ หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. ออกแบบสร้างเกม ด้วยโปรแกรม Scratch ของตนเอง 4.1 ชื่อของเกม............................................................................................................................................. 4.2 ประเภทของเกม..................................................................................................................................... 4.3 เพราะเหตุใดจึงสร้างเกมดังกล่าว ......................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 4.4 เกมนี้มีประโยชน์ในชีวิตประจาวันอย่างไร.......................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... จะสร้างเกมรูปแบบไหนดีนะ !
  • 10. แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -10- สาขาคอมพิวเตอร์ หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใบงานที่ 11.2 เรื่องของตัวแปร 1. สร้างโปรเจกต์ใหม่ 2. วาดวงกลม และสี่เหลี่ยม ดังนี้ 3. เขียนสคริปต์เพื่อนับจานวนครั้งของการสัมผัสระหว่างวงกลมกับสี่เหลี่ยม ดังนี้ 3.1 สร้างตัวแปรชื่อ count สาหรับเก็บข้อมูลจานวนครั้งในการสัมผัสสี 3.2 เขียนสคริปต์ คลิก และทดสอบการทางานโดยคลิกที่วงกลมแล้วลากไปวางบนสี่เหลี่ยม จากนั้นสังเกตและบันทึกผลลัพธ์ สคริปต์ ผลลัพธ์ ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… รายชื่อสมาชิกในกลุ่มที่............... 1…………………………………………………………………………………2…………………..……………………………………………………………. 3………………………………………………………………………………….4……………………………………………………………………………………
  • 11. แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -11- สาขาคอมพิวเตอร์ หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. โยงเส้นจับคู่ระหว่างบล็อกและคาอธิบายที่สอดคล้องกัน o กาหนดให้ตัวแปร count มีค่าเท่ากับ 0 o ถ้ามีการสัมผัสสี o เปลี่ยนค่าในตัวแปร count เพิ่มขึ้น 1 หน่วย o ทาซ้าจนกระทั่งตัวแปร count เท่ากับ 3 5. การเปลี่ยนรูปแบบการแสดงตัวแปรและข้อมูลบนเวทีให้เป็นแบบแถบเลื่อน ทาได้ดังนี้ 5.1 คลิกขวาที่ตัวแปรบนเวทีและคลิก slider 5.2 จะปรากฏแถบเลื่อนใต้ข้อมูล ดังรูป 5.3 คลิกขวาที่ตัวแปร และคลิก set slider min and max เพื่อกาหนดค่าต่าสุดและสูงสุด
  • 12. แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -12- สาขาคอมพิวเตอร์ หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5.4 จะปรากฏหน้าต่างในการกาหนดค่า ให้เติมจานวนที่ต้องการ แล้วคลิกปุุม 5.5 ระหว่างการแสดงผลโปรเจกต์ จะปรากฏการเปลี่ยนแปลงของแถบเลื่อนดังตัวอย่าง 6. โยงเส้นจับคู่ระหว่างรูปแบบการแสดงตัวแปรบนเวทีกับคาสั่งที่สัมพันธ์กัน o normal readout o large readout o slider o hide
  • 13. แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -13- สาขาคอมพิวเตอร์ หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใบงานที่ 11.3 กาหนดเวลาให้กับเกม 1. สร้างโปรเจกต์ใหม่ 2. สร้างตัวแปร 2 ตัว ดังนี้ 2.1 ตัวแปรชื่อ time_up สาหรับเก็บข้อมูลเวลาทั้งหมดในการเล่นเกม 2.2 ตัวแปรชื่อ time_left สาหรับเก็บเวลาที่เหลือ 2.3 การคานวณเกี่ยวกับเวลา มีดังนี้ เวลาที่เหลือ = เวลาทั้งหมด –timer 2.4 เขียนสคริปต์ จากนั้น คลิก สังเกตผลลัพธ์ และเขียนอธิบาย การทางานตามขั้นตอน สคริปต์ ขั้นตอนการทางาน .................................................................................. .................................................................................. ................................................................................. . .................................................................................. .................................................................................. ................................................................................. . .................................................................................. ............................................................................... ... . ................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. อย่าลืมคลิก ด้วยจ้า รายชื่อสมาชิกในกลุ่มที่............... 1……………………………………………………………………………. 2…………………………………………………………………………………. 3……………………………………………………………………………… 4……………………………………………………………………………………
  • 14. แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -14- สาขาคอมพิวเตอร์ หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. เพิ่มบล็อก ดังนี้ 3.1 บล็อกชื่อ pick random ที่อยู่ในกลุ่มบล็อก Operators สาหรับสุ่มตาแหน่งและขนาดของวัตถุ ที่กาหนด 3.2 การคานวณเกี่ยวกับบล็อก pick random มีดังนี้ การคานวณเกี่ยวกับตาแหน่ง X และ y ได้ตั้งแต่ -180 ถึง 180 การคานวณของขนาดวัตถุ เพิ่ม-ลด ขนาดตั้งแต่ 1 ถึง 500% 3.3 เพิ่มสคริปต์จากข้อ 2.4 จากนั้น คลิก สังเกตผลลัพธ์ และเขียนอธิบายการทางานตามขั้นตอน สคริปต์ สังเกตการทางาน ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... สังเกตการทางาน ของวัตถุดูด้วยจ้า
  • 15. แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -15- สาขาคอมพิวเตอร์ หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใบความรู้ที่ 11.1 องค์ประกอบและประเภทของเกม เกมบนคอมพิวเตอร์นั้นมีหลายประเภท แต่ละประเภทก็มีองค์ประกอบปลีกย่อยแตกต่างกัน เช่นเกมต่อสู้ อาจจะต้องเน้นองค์ประกอบด้านความเหมือนจริงของภาพมากกว่าเกมแนวปริศนา อย่างไรก็ตามองค์ประกอบ พื้นฐานของเกมที่นักพัฒนาจะต้องคานึงถึงมีดังนี้ 1. กลไกหลักของเกม กลไกของเกมจะระบุกฎกติกาที่ผู้เล่นสามารถดาเนินการใดๆในโลกของเกมนั้นได้ กลไกของเกมจะต้องสร้างความท้าทายให้กับผู้ใช้และมอบรางวัลให้กับผู้ใช้เมื่อผู้ใช้สามารถดาเนินการบางอย่าง ได้สาเร็จ ตัวอย่างของกลไกหลักของเกมเช่น ในเกม Angry Birds เรามีนกที่สามารถยิงใส่ฉากที่ประกอบด้วย สิ่งของต่างๆ ได้ สิ่งของเหล่านั้นจะพังทลายไปตามกฎฟิสิกส์และความสามารถของนก เปูาหมายของ การทาลายฉากต่างๆ เพื่อจะทาลายหมูที่ขโมยไข่ของนกไป หรือตัวอย่างเช่น ในเกมตีตุ่น เราจะมีรูอยู่ที่พื้น จะมีตัวตุ่นโผล่ขึ้นมาจากรูเหล่านี้ ตัวตุ่นจะโผล่มาแล้วหายไปตามเวลา ผู้เล่นมีค้อนที่จะต้องนาไปตีตัวตุ่นที่โผล่ ขึ้นมา 2. ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ องค์ประกอบนี้ของเกมจะเป็นส่วนที่ผู้ใช้จะเห็นและติดต่อด้วย หน้าที่ของส่วนนี้ คือการสร้างภาพและเสียงของเกมตามกลไกของเกมที่ออกแบบไว้ และรับข้อมูลจากผู้เล่นว่าจะดาเนินการ ในเกมเช่นใด ส่วนติดต่อกับผู้ใช้นี้นอกจากจะต้องสร้างสีสันให้กับเกมแล้ว ความเป็นธรรมชาติของการใช้งาน ยังเป็นสิ่งที่จาเป็น ถ้าผู้พัฒนาเกมต้องการให้ผู้ใช้สนุกและรู้สึกมีส่วนร่วมอยู่ในโลกของเกมนั้นจริงๆ ถ้าเราพิจารณาเกมเช่น Angry Birds ส่วนติดต่อกับผู้ใช้จะรับแรงและมุมที่นกถูกยิงออกจากฐานยิง สังเกตว่าความสนุกของเกมจะลดลงมาก ถ้าเราเปลี่ยนวิธีการติดต่อกับผู้ใช้เป็นการให้ผู้ใช้ปูอนตัวเลขเพื่อระบุ มุมและแรงที่ต้องการใช้ยิงนก สาหรับเกมตีตัวตุ่นก็เช่นเดียวกัน ถ้าเราออกแบบหน้าจอกว้างเกินไป ทาให้การ เคลื่อนเมาส์ไปตีตัวตุ่นทาได้ไม่เร็วพอที่จะตอบสนองการโผล่ขึ้นมาของตัวตุ่น เกมที่เราพัฒนาขึ้นย่อมขาดความ สนุกไป ถึงแม้ว่ากลไกภายในของเกมจะถูกคิดขึ้นอย่างดีก็ตาม นอกจากกลไกหลักของเกม และส่วนติดต่อกับผู้ใช้ จะมีความสาคัญแล้ว ในบางเกมที่ใช้เวลาในการเล่น มากขึ้น การเล่าเรื่องราว ก็มีส่วนสาคัญเช่นเดียวกัน 3. การเล่าเรื่องราว ในหลายๆ เกมที่มีการดาเนินเรื่องยาวนาน มีหลายฉาก หรือว่ามีหลายด่านย่อย สิ่งที่เชื่อมโยงหน่วยย่อยๆ เข้าด้วยกันก็คือเรื่องราวที่วางพื้นหลังของเกม เรื่องราวที่ถูกเล่าไปพร้อมๆ กับ การดาเนินไปของเกมจะทาให้ผู้เล่นเห็นเปูาหมายของเกมได้ชัดเจนยิ่งขึ้น นอกจากนี้ หลายครั้งผู้เล่นจะเข้าใจกลไกของเกมรวมถึงรูปแบบในการติดต่อกับผู้ใช้ได้ไม่ยาก ถ้าผู้ใช้ มีความรู้และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเกมนั้นๆ ดังนั้นเกมที่วางอยู่บนเรื่องราวทั่วไป ก็จะเป็นเกมที่เข้าถึงได้ ง่ายโดยแทบไม่ต้องใช้คาอธิบายอย่างใดเลย
  • 16. แผนการเรียนรู้ที่ 11 มาสร้างเกมกันเถอะ แผนการจัดการเรียนรู้ (ฉบับทดลองใช้) -16- สาขาคอมพิวเตอร์ หลักสูตรการเขียนโปรแกรมScratch เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก่อนการสร้างเกมเราควรกาหนดแนวทางว่าจะทาเกมออกมาในกลุ่มของเกมใด ซึ่งเป็นตัวกาหนด กลุ่มเปูาหมายของผู้เล่น เพื่อเป็นแนวในการกาหนดเทคโนโลยีที่จะนามาใช้งาน ประเภทของเกมมีการแบ่งไว้ หลายรูปแบบ โดยอาจแบ่งตามการใช้ประโยชน์ เช่น เพื่อความสนุกสนาน เพื่อฝึกทักษะ หรือเพื่อการเรียนการ สอน หรือแบ่งตามลักษณะการสร้างภาพ เช่น เกม 2 มิติ เกม 3 มิติ หรือขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของเกม ซึ่ง อาจแบ่งได้หลายประเภท ดังนี้ 1. เกมเลียนแบบหรือการจาลอง (Simulation Games) เช่น SIMS ซึ่งเป็นเกมที่พยายามเลียนแบบ เหตุการณ์จริง เพื่อพัฒนาทักษะของผู้เล่น เช่น การฝึกบินจาลอง การขับรถจาลอง 2. เกมแอคชั่นแบบ FPS (Action First Person Shooters Games) เป็นเกมยิงปืนที่ผู้เล่นเป็นตัวเอกไล่ ยิงผู้ร้าย ไปจนถึงสัตว์ประหลาดต่างๆตามระดับการเล่นมีทั้งเล่นแบบคนเดียวและเล่นเป็นกลุ่ม 3. เกมผจญภัย (Adventure Games) มีวัตถุประสงค์ของเกมเพื่อทาภารกิจให้สาเร็จในดินแดนที่สร้างขึ้น ต้องแก้ไขปัญหาหรือหาสิ่งจาเป็นในระดับของเกมที่แตกต่างกันไป เช่น หากุญแจเพื่อไขเปิดห้องลับเพื่อไปหยิบ อาวุธ 4. เกม RPG (Role-Playing) เป็นเกมที่ผู้เล่นสามารถสร้างหรือเลือก character ของตัวละครให้ตรงกับ ความชอบของตัวเอง แล้วเล่นไปตามเนื้อเรื่องของเกม 5. เกมต่อสู้ (Fighting Game) เป็นเกมต่อสู้กันโดยมีตัวละครต่อสู้กันแบบตัวต่อตัว ด้วยเทคนิคในการ ต่อสู้เฉพาะตัว 6. เกมวางแผน (Strategy Games) เกมที่ใช้ความคิด 8 นากลยุทธ์มาใช้เพื่อเอาชนะ เกมมีเรื่องราวเป็น นิทาน หรือตานาน มีตัวละครนาและการผูกเรื่องเข้ากับการต่อสู้และวางแผนในเกม 7. เกมปริศนา (Puzzle Game) เกมแก้ปัญหาให้ลุล่วงตามจุดประสงค์หลักของเกม เช่น เกมตัวต่อ 8. เกมกีฬาและการแข่งขัน (Sport & Racing Games) วัตถุประสงค์ของเกมเพื่อการเป็นที่หนึ่งของการ แข่งขัน เช่น แข่งรถ แข่งฟุตบอล 9. เกมการศึกษา (Education Game) วัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ความรู้และความเพลิดเพลิน สาหรับผู้เริ่มต้นพัฒนาอาจจะเน้นศึกษาแค่บางองค์ประกอบก่อน แต่ต้องไม่ลืมว่าในการออกแบบและ พัฒนาเกมคอมพิวเตอร์นั้น องค์ประกอบทั้งสามที่กล่าวมาต้องได้รับการออกแบบให้เข้ากันอย่างเหมาะสม เกมที่พัฒนาขึ้นจึงจะประสบผลสาเร็จได้