SlideShare a Scribd company logo
1 of 58
Download to read offline
รายงานวิจัย
โครงการวิจัยบทบาทของตุรกีในพื้นที่
สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ผู้วิจัย
นางสาวอัสมะ ตันหยงดาโอะ
โครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
ภายใต้สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต
i
หัวข้อเรื่อง โครงการวิจัยบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ชื่อผู้วิจัย นางสาวอัสมะ ตันหยงดาโอะ
ชื่อโครงการ โครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
สถาบัน สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปี 2559
บทคัดย่อ
วิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงบทบาทของประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ ทั้งในส่วนของบทบาทของรัฐบาลตุรกี และองค์กรพัฒนาเอกชนจากประเทศตุรกี ที่เข้ามาให้
ความช่วยเหลือสนับสนุนการทางานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเฉพาะภายหลังจากขึ้นมาดารง
ตาแหน่งทางการเมืองของผู้นาตุรกีที่มีแนวคิดอิสลามนิยม โดยศึกษาถึงบทบาทและลักษณะการ
ดาเนินงานในพื้นที่ บทบาทการทางานเปรียบเทียบกับประเทศตะวันออกกลางอื่นๆที่มีบทบาทอยู่ใน
พื้นที่เช่นเดียว และศึกษาถึงความคิดเห็นของคนในพื้นที่ต่อบทบาทการดาเนินงานของประเทศตุรกี
เหล่านั้น นอกจากนี้วิจัยฉบับนี้ยังได้ศึกษาถึงความคิดเห็นของเยาวชนคนรุ่นใหม่ในพื้นที่ต่อแนวคิดเรื่อง
ขบวนการเคลื่อนไหวอิสลาม (Islamic Movement) และแนวคิดการให้ความช่วยเหลือตามหลักศาสนา
อิสลาม (Islamic Humanitarian) ผ่านการขับเคลื่อนโดยผู้นาประเทศตุรกีในปัจจุบัน
จากการศึกษาพบว่า บทบาทของประเทศตุรกีต่อพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทั้งในส่วน
ของรัฐบาลตุรกีหรือแม้กระทั่งองค์กรพัฒนาเอกชนจากประเทศตุรกี จะเน้นการให้ความช่วยเหลือด้าน
สังคมเป็นหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และการสนับสนุนด้าน
การศึกษาต่อเยาวชนในพื้นที่ โดยมีการดาเนินงานแล้วคือ
1. การสร้างอาคารที่พักให้เด็กกาพร้า และสร้างมัสยิด
2. การให้ความช่วยเหลือเรื่องการทากรุบาน
3. การให้ถุงยังชีพแก่ผู้ยากจน และการเลี้ยงละศีลอดในเดือนรอมฎอน
4. การสนับสนุนทุนการศึกษาในพื้นที่ และการศึกษาต่อที่ประเทศตุรกี
5. การจัดรถรับส่งเด็กกาพร้าเพื่อเดินทางไปโรงเรียน
6. การให้ความช่วยเหลืองบสนับสนุนการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์จัดแสดงเรื่องราวด้านวัฒนธรรม
ii
การดาเนินงานมีพื้นที่การทางานที่หลากหลาย และเข้าถึงพื้นที่ที่อยู่ห่างไกลจากตัวเมือง
นอกจากนี้ยังพบว่าบทบาทของประเทศตุรกีในพื้นที่มีแนวโน้มที่จะขยายการดาเนินงานและพื้นที่การ
ทางานต่อไปในอนาคต
จากการศึกษายังพบว่า เยาวชนคนรุ่นใหม่ในพื้นที่มีทัศนคติที่เป็นบวกต่อผู้นาปัจจุบันที่มี
แนวคิดอิสลามนิยมของตุรกี มีความคาดหวังอย่างท้าทายว่าโลกมุสลิมจะกลับมามีศูนย์กลางเมืองการ
ปกครองดังเช่นสมัยก่อนราชวงศ์ออตโตมัน(อุษมานียะห์)จะล่มสลาย แล้วกลายเป็นประเทศตุรกีใน
ปัจจุบัน มองว่าการดาเนินนโยบายของประเทศตุรกีมีลักษณะของการนาแนวคิดแบบอิสลามนิยมเข้ามา
มากขึ้น แต่ในลักษณะที่ค่อยๆเปลี่ยนเพื่อไม่ได้เกิดการต่อต้านจากสังคม นอกจากนี้มองว่าประเทศตุรกี
ดาเนินนโยบายต่างประเทศแบบ Soft Power ในเรื่องการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และการ
สนับสนุนการศึกษาในการเข้าไปสร้างบทบาทของตัวเองในพื้นที่อื่นๆทั่วโลก โดยไม่ได้เน้นเฉพาะพื้นที่ที่
เป็นชาวมุสลิมเท่านั้น พวกเขามองว่าเหล่านี้เป็นความท้าทายของประเทศตุรกีในการสร้างบทบาทการ
ยอมรับจากประเทศอื่นๆในการก้าวขึ้นมาเป็นผู้นาทางการเมืองโลก ในขณะเดียวกันประเทศตุรกีก็ยังถูก
ทดสอบศักยภาพด้านความมั่นคงจากประเทศมหาอานาจอื่นๆอยู่บ่อยครั้ง อีกทั้งเสถียรภาพความมั่นคง
ภายในประเทศก็ยังเป็นเรื่องที่ต้องได้รับการดูแลเป็นอย่างมาก การดาเนินนโยบายใดๆของตุรกีใน
ปัจจุบันและในอนาคตถูกจับตามองอย่างยิ่งจากสังคมนานาประเทศ และจากสังคมมุสลิมเองอย่างใกล้ชิด
ในฐานะประเทศที่ก้าวขึ้นมามีบทบาทในเวทีระหว่างประเทศที่โดดเด่นประเทศหนึ่งในปัจจุบัน
iii
กิตติกรรมประกาศ
ความสาเร็จในการศึกษาและการทาวิจัยเล่มนี้จะไม่อาจเกิดขึ้นและสาเร็จได้เลย หากไม่ได้รับ
ความช่วยเหลือจากบุคคลที่ให้การสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือต่อผู้วิจัย ขอขอบคุณสถาบันคลัง
ปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่มอบทุนสนับสนุนการทาวิจัย
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ผู้อานวยการสถาบันที่มอบโอกาสให้ผู้วิจัยได้ทาวิจัยเล่ม
นี้ นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้จัดการโครงการ สาหรับโอกาสและคาแนะนาที่ดี ขอบคุณเจ้าหน้าที่จาก
สถาบันคลังปัญญา คุณปลายฟ้า บุนนาค (น้องอุ๊) ที่คอยตามงานวิจัยให้สาเร็จลุล่วงตามกาหนดการ คุณ
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ที่คอยดูแลเรื่องการเงินตลอดการทาวิจัย
ขอขอบคุณ ศ.ดร.จรัญ มะลูลีม อาจารย์ประจาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ
ดร.ศราวุฒิ อารีย์ รองผู้อานวยการศูนย์มุสลิมศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่
กรุณามาเป็นผู้ทรงคุณวุฒิให้ความเห็นและข้อเสนอแนะต่อวิจัยเรื่องนี้ ผู้วิจัยได้รับคาแนะนาที่ดีจาก
อาจารย์ทั้งสองท่านมากๆ ขอขอบคุณผู้ให้ข้อมูลทุกๆท่านที่กรุณาสละเวลาให้ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์แบบ
เจาะลึก ทั้งที่สามารถเอ่ยนามได้และที่ไม่ต้องการเปิดเผยนาม หากไม่มีพวกท่านเหล่านี้ งานวิจัยเล่มนี้
คงจะไม่สามารถสาเร็จลุล่วงและสมบูรณ์ได้
ขอบคุณ คุณอัซฮา สารีมะเจ๊ะ เพื่อนของผู้วิจัย ที่เป็นผู้ริเริ่มร่างโครงการและนาเสนอ
โครงการวิจัยจนได้รับการสนับสนุนงบประมาณและสามารถดาเนินงานได้ อีกทั้งเป็นผู้แนะนาผู้วิจัยให้
สานต่อโครงการนี้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเจตนารมณ์การสร้างโครงการคลังปัญญาเยาวชนในพื้นที่จังหวัด
ชายแดนภาคใต้ที่พวกเราตั้งใจจะสร้างกันขึ้นมา ขอบคุณ บาดารีย๊ะ บุยะลา (อิลฮัม) ผู้ช่วยวิจัย สาหรับ
การลงพื้นที่เก็บข้อมูลด้วยกันที่ยาวนาน คอยช่วยแปลภาษามลายูให้ อดทนต่อความยากลาบากในการ
นั่งรถด้วยกันนานๆเวลาลงพื้นที่เก็บข้อมูล ขอบคุณเพื่อนๆ และครอบครัว รัย ไอมีย์ อาเยาะห์และมามา
สาหรับกาลังใจที่ดีและการสนับสนุนตลอดการทาวิจัยนี้ และท้ายสุดขอบคุณความอดทนของตัวเองที่
สามารถทาวิจัยให้สาเร็จลงได้ แม้ว่าในบางช่วงเวลาแทบจะไม่มีเวลาว่างให้ได้ทาวิจัยเลยก็ได้
อัสมะ ตันหยงดาโอะ
24 เมษายน 2559
iv
สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 บทนา
- ที่มาและความสาคัญ 1
- วัตถุประสงค์การวิจัย 2
- นิยามศัพท์เฉพาะ 2
- ขอบเขตการศึกษา 3
- ระเบียบวิธีวิจัย 4
- ทบทวนวรรณกรรมเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5
- ผลที่คาดว่าจะได้รับ 9
บทที่ 2 บทบาทของตุรกีในการให้การสนับสนุนพื้นที่สามจังหวัด 10
ชายแดนภาคใต้ผ่านการช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์
การศึกษา และเด็กกาพร้า
บทที่ 3 อิทธิพลของแนวคิดขบวนการเคลื่อนไหวอิสลาม 28
(Islamic Movement) และแนวคิดการให้ความช่วยเหลือ
ด้านมนุษยธรรมตามหลักศาสนาอิสลาม (Islamic Humanitarian)
ของตุรกีต่อเยาวชนคนรุ่นใหม่ในพื้นที่
บทที่ 4 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 38
บรรณานุกรม 50
v
สารบัญรูปภาพ
ภาพ หน้า
1 ป้ายของมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชน เสรีภาพ และการช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม 11
ในสถาบันศึกษานูรุลญีนาน
2 มัสยิดในพื้นที่โรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยา อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี 14
3 การเตรียมเชือดวัวกรุบานที่ได้รับจากองค์กร iHH 15
4 บรรยากาศการเปิดบวชร่วมกันในเดือนรอมฎอน ปี พ.ศ.2558 17
5 รถรับส่งเด็กนักเรียนของหอพักเด็กกาพร้าของมูลนิธิ iHH 20
6 แสดงงบประมาณที่ประเทศตุรกีใช้เพื่อสนับสนุนด้านการศึกษา 47
vi
สารบัญตาราง
ตาราง หน้า
1 แสดงจานวนนักเรียนโรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยา (ตุรกี) 14
2 แสดงจานวนวัวที่มูลนิธิพัฒนาชุมชนเป็นสุขได้รับเพื่อทากรุบานในแต่ละปี 19
3 แสดงจานวนเงินบริจาคที่มูลนิธิพัฒนาชุมชนเป็นสุขได้รับจากมูลนิธิ iHH 21
4 แสดงรายชื่อประเทศอาหรับ และงบประมาณการสนับสนุนที่มหาลัยฟาตอนีเคยได้รับ 22
5 เปรียบเทียบการดาเนินงานขององค์กรพัฒนาเอกชนตุรกีบางส่วนในระยะเวลา 46
ที่ผ่านมา และแนวโน้มในการขยายพื้นที่การดาเนินงานในอนาคต
1
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
การผงาดขึ้นมาของประเทศตุรกีในเวทีการเมืองระหว่างประเทศภายใต้การนาของพรรค
ยุติธรรมและการพัฒนา (Justice and Development Party) หรือพรรค AKP ซึ่งเป็นพรรคการเมืองที่
นิยมอิสลาม เป็นที่ถูกจับตามองอย่างยิ่งจากสังคมระหว่างประเทศ พรรค AKP มีการดาเนินนโยบายที่
พยายามสร้างบทบาทในประเด็นการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมในประเทศอื่นๆหรือพื้นที่ที่มี
ประชากรนับถือศาสนาอิสลาม ทั้งในพื้นที่ที่เกิดปัญหาความขัดแย้ง เช่น ในพื้นที่ความขัดแย้งในประเทศ
ตะวันออกกลาง และประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของ
ไทย โดยได้ดาเนินนโยบายทั้งผ่านการดาเนินงานของรัฐบาลโดยตรง และการสนับสนุนผ่านองค์กร
พัฒนาเอกชนของตุรกีที่เข้าไปทางานให้ความช่วยเหลือในประเทศต่างๆ
นอกเหนือจากการดาเนินนโยบายของพรรค AKP ที่น่าสนใจและถูกจับตามองแล้ว ภายใต้การ
บริหารประเทศของนายเรเจป ตอยยิบ เออร์โดกัน (Recep Tayyip Erdogan) ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน
ของตุรกี และผู้นาฝ่ายบริหารท่านอื่นๆ ก็ถูกพูดถึงมากเช่นเดียวกัน ลักษณะของการทางานและลักษณะ
การแสดงความเป็นผู้นาที่ปรากฏต่อสื่อสาธารณะทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ ได้สร้างภาพลักษณ์
ที่ดีของผู้นาที่เป็นอิสลาม แนวคิดของผู้นาประเทศตุรกียุคปัจจุบันส่งอิทธิพลอย่างมากต่อเยาวชนคนรุ่น
ใหม่ในโลกอิสลาม โดยเฉพาะที่มีความเป็นอิสลามนิยม และโหยหาระบอบการเมืองการปกครองแบบ
อิสลาม (ระบบคอลีฟะห์) ซึ่งเคยมีมาในอดีต
ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนา
อิสลาม ได้เกิดเหตุการณ์ความรุนแรงมานับตั้งแต่ ค.ศ.2004 โดยมีชุมชนระหว่างประเทศมากมายที่เข้า
มามีบทบาทอยู่ในพื้นที่ ซึ่งส่วนใหญ่เข้ามาให้ความช่วยเหลือในประเด็นด้านความขัดแย้งและการสร้าง
สันติภาพเป็นหลัก ประเทศตุรกีซึ่งเป็นประเทศที่มีประชาชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม
เช่นเดียวกับในพื้นที่สามจังหวัดภาคใต้ ก็เป็นหนึ่งในหลายๆประเทศที่เข้ามามีบทบาทในพื้นที่ เพียงแต่
การดาเนินงานนั้นจะให้ความสาคัญกับงานการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมเป็นหลัก การเข้ามามี
บทบาทของตุรกีมีความโดดเด่นและแตกต่างจากการเข้ามาของประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะเมื่อ
เปรียบเทียบกับประเทศในตะวันออกกลางประเทศอื่นๆซึ่งมีบทบาทในพื้นที่เช่นเดียวกัน ลักษณะการ
ทางานมีความหลากหลาย บทบาทของประเทศตุรกีในพื้นที่ไม่ได้มีเพียงเฉพาะการดาเนินงานผ่าน
2
หน่วยงานของรัฐบาลเท่านั้น แต่บทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชนจากประเทศตุรกีก็มีค่อนข้างสูงมาก
เช่นกัน ปัจจัยเหล่านี้ทาให้งานวิจัยชิ้นนี้ต้องการที่จะศึกษาถึงบทบาทและลักษณะการทางานของ
ประเทศตุรกีที่มีอยู่ในพื้นที่ทั้งในส่วนของการดาเนินงานของรัฐบาลตุรกี และองค์กรจากประเทศตุรกี
มุมมองของคนในพื้นที่ต่อการเข้ามามีบทบาทนั้นๆ รวมไปถึงมุมมองต่อภาพลักษณ์ และแนวคิดต่างๆที่
ส่งอิทธิพลจากประเทศตุรกีต่อเยาวชนคนรุ่นใหม่ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะ
เข้าใจถึงการดาเนินนโยบายด้านการต่างประเทศของตุรกีที่มีต่อพื้นที่ แนวโน้มต่อไปในอนาคต ผลการ
ตอบรับของคนในพื้นที่ และเพื่อที่จะเป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนถกเถียงของคนที่มีความรู้และสนใจในประเด็น
ของประเทศตุรกีในพื้นที่อีกด้วย
วัตถุประสงค์โครงการ
1. เพื่อศึกษาบทบาทของประเทศตุรกีในการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนการพัฒนาใน
พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
2. เพื่อศึกษามุมมองของคนในพื้นที่ต่อบทบาทของประเทศตุรกี
3. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบบทบาทการให้ความช่วยเหลือของประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัด
ชายแดนภาคใต้กับประเทศมุสลิมอื่นๆ
4. เพื่อสรุป วิเคราะห์ องค์ความรู้ใหม่และแนวโน้มเกี่ยวกับบทบาทของประเทศตุรกีต่อพื้นที่
สามจังหวัดชายแดนใต้
นิยามศัพท์
1. เยาวชน หมายถึง ประชาชนชนที่มีอายุ 15-25 ปี (ตามความหมายของเยาวชนของ
องค์การสหประชาชาติ)
2. เดือนรอมฎอน หมายถึง เดือนที่ 9 ของปฏิทินฮิจเราะห์ หรือปฏิทินอิสลาม เป็นเดือนที่มุสลิม
ถือศีลอดทั้งเดือน เป็นเดือนที่สาคัญที่สุดเดือนหนึ่ง เนื่องจากชาวมุสลิมจะต้อง
ปฏิบัติเพราะเป็นศาสนบัญญัติ ด้วยการงดอาหารทุกชนิดรวมถึงน้าดื่มใน
ช่วงเวลา
3. กรุบาน หมายถึง การเชือดสัตว์พลีเพื่ออัลลอฮตามหลักความเชื่อศาสนาอิสลาม การทา
กุรบานจะตรงกับวันที่ 10 เดือนซุลฮิจญะฮฺ ปีฮิจเราะห์ศักราชของพระอาทิตย์
ขึ้น-พระอาทิตย์ตกดินอิสลามในทุกๆปี
4. การละศีลอด หมายถึง การสามารถรับประทานอาหาร ดื่มเครื่องดื่ม และปฏิบัติกิจวัตรได้
ตามปกติ หลังจากที่ถือศีลอดด้วยการงดเว้นการรับประทานอาหารและน้าดื่ม
ตั้งแต่ช่วงพระอาทิตย์ขึ้น-พระอาทิตย์ตกดิน
5. ประเทศอาหรับ หมายถึง กลุ่มประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลางที่ประชากรส่วนใหญ่เป็นชน
3
เผ่าอารบิก
6. คอลีฟะห์ หมายถึง ตาแหน่งผู้นาสูงสุดของประชาชาติอิสลาม ผู้นาที่ได้รับการยอมรับ
อย่างกว้างขวางในโลกมุสลิม เป็นตัวแทนในการนากฎหมายอิสลามมาใช้
7. แนวคิดกลุ่มอิควาน หมายถึง แนวคิดที่จะให้ระบอบการปกครองแบบอิสลามเกิดขึ้นอีกครั้ง โดย
ผู้ก่อตั้งคือ เชคอะซัน อัลบันนา ใน ค.ศ. 1928 ภายหลังการล่มสลายของ
ระบอบคอลีฟะห์ออตโตมัน กลุ่มนี้มีชื่อเต็มว่า กลุ่มอิควานุลมุสลิมีน
8. กลุ่มตับลีฆ หมายถึง กลุ่มตับลีฆเป็นชื่อของขบวนการปฏิรูป ซึ่งก่อตั้งขึ้นโดย ฮัดรัต เมา
ลานา มุฮัมมัด อิลยาส รณรงค์เพื่อปรับปรุงความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอิสลาม
และความประพฤติของชุมชนมุสลิม
9. กลุ่มฮิซบุลเลาะห์ หมายถึง องค์กรและพรรคการเมืองของชาวมุสลิมชีอะฮ์ในเลบานอน ได้รับ
แรงบันดาลใจจากความสาเร็จในการปฏิวัติอิสลามของ อะยะตุลลอหฺ โคไมนี
ผู้นาอิหร่านในสมัยนั้น โดยวัตถุประสงค์ในการก่อตั้งก็เพื่อปกป้องอนาธิปไตย
ของมุสลิม และปกป้องมาตุภูมิเลบานอนให้พ้นจากการรุกรานของชาวอิสราเอล
ขอบเขตการศึกษา
ผู้วิจัยได้กาหนดขอบเขตของการศึกษาไว้ดังนี้
1. ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลดังต่อไปนี้
1.1 แหล่งข้อมูลเอกสาร เป็นแหล่งข้อมูลเบื้องต้น จากเอกสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และ
งานวิจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับบทบาทของประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้
1.2 แหล่งข้อมูลภาคสนาม เป็นการศึกษาลงพื้นที่และสัมภาษณ์เพื่อศึกษามุมมองของคนใน
พื้นที่ต่อการเข้ามามีบทบาทของประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
2. ขอบเขตเชิงเนื้อหา
2.1 บทบาทของประเทศตุรกีในการให้การสนับสนุนพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ผ่าน
การช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์ การศึกษา และเด็กกาพร้าของตุรกีในสามจังหวัด
ชายแดนภาคใต้
2.2 อิทธิพลของแนวคิดขบวนการเคลื่อนไหวอิสลาม (Islamic Movement) และแนวคิดการ
ให้ความช่วยเหลือตามหลักศาสนาอิสลาม (Islamic Humanitarian) ต่อเยาวชนคนรุ่น
ใหม่ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
4
ระเบียบวิธีวิจัย
การวิจัยเรื่องบทบาทของตุรกีในสามจังหวัดชายแดนใต้ ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative
Research) โดยการศึกษาเชิงเอกสาร การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) และการ
วิเคราะห์ข้อมูล โดยมีระเบียบวิธีวิจัยดังนี้
1. การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย ทั้งที่เป็นเอกสาร งานวิจัย และสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อ
เป็นข้อมูลพื้นฐานในการทาความเข้าใจความเป็นมา และสถานการณ์ที่เกิดขึ้นซึ่งมีความ
เกี่ยวข้องกับประเทศตุรกีและพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
2. การเก็บข้อมูลภาคสนามในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัดปัตตานี
จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส โดยกาหนดเงื่อนไขวิธีการดังนี้
2.1 การเก็บข้อมูลภาคสนาม
2.2.1 การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-participant Observation) ต่อสถานที่ที่ลงไป
เก็บข้อมูล เช่น สถานที่ขององค์กรที่ได้รับความช่วยเหลือ เด็กกาพร้าที่อยู่ใน
โครงการได้รับความช่วยเหลือ เป็นต้น
2.2.2 การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) กับผู้ให้ข้อมูลหลักรายบุคคล
เพื่อเข้าถึงข้อมูลที่ไม่สามารถเข้าถึงเอกสารสาคัญได้ โดยมีบุคคลที่ได้ทาการ
สัมภาษณ์ประกอบไปด้วย
2.2.2.1 บุคคล หรือตัวแทนองค์กรในพื้นที่ที่ได้รับความช่วยเหลือหรือเกี่ยวข้อง
กับการดาเนินงานของประเทศตุรกีโดยตรง
2.2.2.2 บุคคล หรือตัวแทนองค์กรพัฒนาเอกชนจากประเทศตุรกีที่เข้ามา
ดาเนินงานอยู่ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
2.2.2.3 บุคคล หรือตัวแทนองค์กรที่มีส่วนได้ส่วนเสียจากการดาเนินงานของ
ประเทศตุรกีในพื้นที่
2.2.2.4 เยาวชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่มีความสนใจเกี่ยวกับ
การเมืองระหว่างประเทศ
3. การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ที่ได้จากการสัมภาษณ์ผู้ให้
ข้อมูล ข้อมูลจากเอกสาร และการสังเกตการณ์ประกอบกัน จากนั้นจัดหมวดหมู่ของเนื้อหาให้
เป็นไปตามประเด็นการวิจัย และนาเสนอในลักษณะของการพรรณนา
5
ทบทวนวรรณกรรม
การศึกษาข้อมูลด้านเอกสาร และสื่ออิเล็คทรอนิกส์ เพื่อเป็นกรอบในการทาความเข้าใจประเด็น
ต่างๆตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ซึ่งได้ศึกษาเอกสาร และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่เกี่ยวข้องดังนี้
1. แนวคิดที่สาคัญ
แนวคิดหลักๆเกี่ยวกับการเข้ามามีบทบาทของตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หลักๆ
ประกอบด้วย 2 แนวคิด คือ
1.1 แนวคิดเรื่อง Neo-Ottoman
หากต้องการศึกษาถึงแนวคิด Neo-Ottoman มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้ความ
เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องราวของจักรวรรดิออตโตมันเสียก่อน เพราะแนวคิดเรื่อง Neo-Ottoman เป็นแนวคิดที่
ต้องการสร้างประเทศตุรกีให้กลับมายิ่งใหญ่เหมือนช่วงเวลาที่ประเทศตุรกียังเป็นจักรวรรดิออตโตมัน ใน
หนังสือตุรกี : อดีตถึงปัจจุบัน (ไพศาล หรูพาณิชย์กิจ, 2546) ได้กล่าวถึงความยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิออต
โตมันว่า ระยะเวลา 100 ปี นับตั้งแต่สุลต่านเมห์เมตที่ 2 ทรงสามารถตีกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้สาเร็จ
อาณาจักรออตโตมันได้แผ่ขยายออกไปอย่างรวดเร็ว กลายเป็นจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโลกมุสลิมใน
เวลาต่อมา อาณาจักรออตโตมันได้ขยายอานาจครอบคลุมดินแดนถึง 3 ทวีป ได้แก่ ตะวันออกกลาง
แอฟริกาเหนือ และยุโรปบอลข่าน อดีตอันยิ่งใหญ่ของจักวรรดิออตโตมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมัยของ
สุลต่านสุไลมาน เป็น 1 ใน 3 สิ่งที่ชาวตุรกีมีความภาคภูมิใจเป็นอย่างมากเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของ
ชาติตน
ในบทความของ Agnes Czajka และ Edward Wastnidge ได้กล่าวถึงแนวคิดเรื่อง Neo-
ottoman ว่าในทางวิชาการ Neo-Ottoman ใช้ในการอธิบายและวิเคราะห์ทศวรรษที่ผ่านมาหรือนโยบาย
ต่างประเทศของตุรกี เกิดขึ้นจากความพยายามในการดาเนินนโยบายต่างประเทศหลังจากการขึ้นมามี
อานาจบริหารประเทศของพรรค AK Party (AKP) ใน ค.ศ.2003 นโยบายต่างประเทศแบบ Neo-
Ottoman มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้นาการบริหาร ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน นายเรเจป ตอยยิบ
เออร์โดกัน (Recep Tayyip Erdogan) และนายกรัฐมนตรี นายอาห์เหม็ด ดาวูโตกลู (Ahmet
Davutoglu)แต่ Neo-Ottoman ไม่ใช่การกลับไปเป็นจักรวรรดิออตโตมันเหมือนในอดีต แต่เป็นเครื่องมือ
ในการสร้างพื้นที่ทางวัฒนธรรม การเมือง และอานาจทางเศรษฐกิจของตุรกี โดยมีความเกี่ยวข้องกับ
ความเป็นศาสนา มีลักษณะเหมือนเป็นจักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรมที่จะกลายเป็นอานาจทางการเมือง
และเศรษฐกิจในภูมิภาค นอกจากนี้หากแนวคิดนี้เป็นการดาเนินนโยบายต่างประเทศที่มีความเชื่อมโยง
กับจักรวรรดิของอิสลาม นั้นหมายถึงการเชื่อมสัมพันธ์ที่จะสร้างความอ่อนแอและความเข้มแข็งระหว่าง
Neo-Ottoman และความเป็นอิสลาม ซึ่งจะเหมือนเป็นยาแก้พิษของจักรวรรดิอิสลามในอดีตที่ถูก
เปลี่ยนแปลงไปโดยความเป็นตะวันตก (‘The Centre of World Politics?’ Neo-Ottomanism in Turkish
Foreign and Domestic Politics, Agnes Czajka and Edward Wastnidge, ออนไลน์)
6
ทั้งนี้แนวคิด Neo-Ottoman คือการทาให้ตุรกีกลับมาเป็นศูนย์กลางของรัฐอิสลามอีกครั้งซึ่งสร้าง
ความกังวลไม่น้อย ดังที่นาย Nicolas de Magnienville (รองผู้จัดการทั่วไป บริษัท Lafarge Dalsan)
ผู้ผลิตผนังจากปูนพลาสเตอร์ของฝรั่งเศสในตุรกีและมีอุตสาหกรรมซีเมนต์ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในยุโรป
รวมถึงนักลงทุนต่างชาติบางส่วนยังกังวลว่า นายเออร์โดกัน ประธานาธิบดีของตุรกีจะมุ่งบริหาร
ประเทศไปสู่ ‚Islamic State‛ (ศูนย์ธุรกิจสัมพันธ์ กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กระทรวงการ
ต่างประเทศ, 2557 : ออนไลน์)
1.2 แนวคิดเรื่องอุมมะฮ์ (ความเป็นพี่น้องกันในอิสลาม)
แนวคิดเรื่องอุมมะฮ์ หรือแนวคิดความเป็นพี่น้องกันในอิสลาม เป็นแนวคิดหลักในการเข้ามาให้
ความช่วยเหลือของประเทศมุสลิมหรือกลุ่มประเทศอาหรับอื่นๆต่อพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
เนื่องด้วยพื้นที่แห่งนี้ประชากรส่วนใหญ่ของพื้นที่นับถือศาสนาอิสลาม
หนังสือไทยกับโลกมุสลิม (ไทยกับโลกมุสลิม: เฉพาะกรณีชาวไทยมุสลิม) ได้พูดถึงเกี่ยวกับ
แนวคิดนี้ว่า เนื่องจากอิสลามมิใช่ศาสนาที่แยกตัวจากชีวิตความเป็นอยู่ในโลกรวมทั้งการเมืองด้วย
ดังนั้นศาสนานี้จึงนับว่าเป็นวิถีแห่งชีวิตมากกว่าจะเป็นศาสนาในความคิดของศาสนิกชนอื่นๆ ชาวมุสลิม
นั้นถือว่า “พี่น้องทางศาสนา” เป็น “อุมมะฮ์” (Umma) หรือประชาชาติเดียวกัน อยู่ใต้การปกครองของ
ผู้นาคนเดียวกันซึ่งเป็นผู้นาทางศาสนา การเมือง สังคม ศิลปะวิทยาการและอื่นๆ ประชากรมุสลิมมิได้
แยกจากกันโดยเชื้อชาติหรือที่อยู่ของประเทศต่างๆ เพราะอิสลามคือเครื่องผูกพันจิตใจของมุสลิมไว้
ด้วยกันอย่างแข็งแกร่ง ( จรัญ มะลูลีม กิติมา อมรทัต พรพิมล ตรีโชติ, 2538)
1.3 แนวคิดเรื่อง Islamic Humanitarian
การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สาคัญตามหลักการศาสนาสาหรับ
ชาวมุสลิม ในคัมภีร์อัลกรุอานและหลักคาสอนของท่านศาสดามีการกล่าวถึงการให้ความช่วยเหลือด้าน
มนุษยธรรม มีการกาหนดและมีการสั่งเสียอยู่มากมาย ซึ่งนั้นเป็นทั้งสิ่งที่ควรปฏิบัติตามหลักการของ
ศาสนา หรือจากสิ่งที่เป็นธรรมชาติ และรวมถึงการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ผู้ที่ไม่ใช่มุสลิม
ด้วย (Jamal Krafess, 2005)
2. นโยบายต่างประเทศของตุรกี
การดาเนินนโยบายต่างประเทศของตุรกีในปัจจุบันแตกต่างจากการดาเนินนโยบายต่างประเทศ
ในอดีตที่มีความพยายามจะเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของสมาชิกสหภาพยุโรป อเนก เหล่าธรรมทัศน์ (2554)
ได้เคยกล่าวถึงการดาเนินนโยบายต่างประเทศของตุรกีในหนังสือบูรพาภิวัฒน์ ภูมิ-รัฐศาสตร์และ
เศรษฐกิจใหม่ว่า ตุรกีบัดนี้ดูจะหันหลังให้ตะวันตกเสียแล้ว หันหน้าไปสู่ตะวันออกแทน เชื่อมเข้ากับ
รัสเซีย ตะวันออกกลาง และคาบสมุทรบอลข่าน (Balkans) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผูกมิตรและทาการค้ากับ
ซีเรีย ซาอุดีอาระเบีย อิหร่าน และเลบานอน
7
นโยบายต่างประเทศของตุรกีต่อภูมิภาคอาเซียน คือ ตุรกีมีลักษณะการดาเนินนโยบาย
ต่างประเทศแบบ 360 องศา ให้ความสาคัญกับทุกภูมิภาค และมุ่งไปทุกทิศทางในส่วนภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ ตุรกีทา Treaty and Amity Cooperation กับอาเซียน (ASEAN TAC) และต้องการจะ
ยกฐานะเป็น Dialogue Partner ของอาเซียน (สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงอังการา, 2557:
ออนไลน์)
3. ประเทศมุสลิมที่ชาวไทยมุสลิมนิยมไปศึกษา
จรัญ มะลูลีม (2538) กล่าวว่า ประเทศมุสลิมและสถาบันการศึกษาที่ชาวไทยมุสลิมนิยมไป
ศึกษา มีความสาคัญลดหลั่นกันไป มีประเทศที่ถูกถือว่ามีความสาคัญสูงสุด ซึ่งลาดับความสาคัญได้คือ
ซาอุดีอารเบีย เพราะเป็นกาเนิดของศาสนาอิสลามและศาสดามุฮัมหมัดก็ถือกาเนิดที่นี้ มีมหาวิทยาลัย
ตามเมืองต่างๆหลายแห่ง ต่อมาคือ อียิปต์ เพราะถือว่าการศึกษาด้านศาสนาดีที่สุด แหล่งการศึกษา
ได้รับการยอมรับมากที่สุด ส่วนประเทศอื่นๆในตะวันออกกลางที่มีชาวไทยมุสลิมไปศึกษา ที่นับว่าสาคัญ
คือ ประเทศอิรัก ซูดาน ลิเบีย ซีเรีย ตูนีเซีย อิหร่าน และตุรกี
4. ทุนการศึกษาของประเทศตุรกี
ในหนังสือคู่มือนักศึกษาไทยในตุรกี (สมาคมนักเรียนไทยในตุรกี, 2556)ได้อธิบายเกี่ยวกับการ
เดินทางไปศึกษาที่ประเทศตุรกีของนักศึกษาไทยและทุนการศึกษาที่สนับสนุนว่า นักเรียนไทยที่เข้ามา
ศึกษาในตุรกีส่วนมากมักจะเป็นนักเรียนที่ได้รับทุนการศึกษา และศึกษากันอยู่ในสองระดับ คือ ระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลายและระดับอุดมศึกษา ซึ่งนักเรียนแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่มก็จะมาจากเจ้าของทุนที่
แตกต่างกันไป ซึ่งนั้นก็หมายความว่าแหล่งทุนสาหรับนักเรียนไทยเพื่อที่เข้ามาศึกษาต่อในประเทศตุรกี
มีอยู่หลายทุนการศึกษาด้วยกัน อาจจะเป็นได้เป็น 5 แหล่งทุนการศึกษา ดังนี้
1. ทุนรัฐบาลประเทศตุรกี
2. ทุนกรมการศาสนาประเทศตุรกี
3. ทุนจากองค์กรเอกชนประเทศตุรกี
4. ทุนจากมหาวิทยาลัยต่างๆในตุรกี
5. การเข้าสอบตรงโดยใช้ทุนตัวเอง
นอกจากนี้ยังมีรายงานว่า รัฐบาลตุรกีได้มอบทุนการศึกษาระดับปริญญาตรีแก่นักศึกษาจากสี่
จังหวัดภาคใต้ผ่านมูลนิธิมิตรภาพไทย-ตุรกี ซึ่งมีสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์
อัครราชกุมารี เป็นองค์ประธานกิตติมศักดิ์ อีกด้วย (ไกรฤษษ์ นานา, 2552)
เจ้าหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศที่ไปทาหน้าที่เป็นผู้ประสานงานที่ ศอ.บต. ระหว่าง พ.ศ.
2553- 2556 (นายมงคล สินสมบูรณ์) ได้ให้ข้อมูลว่า ทุนที่รัฐบาลตุรกีให้แก่นักเรียนและนักศึกษาไทย
มุสลิมไปศึกษาต่อในสายสามัญและศาสนา มีจานวนรวมปีละประมาณ 20 ทุน เริ่มเป็นที่รับรู้และได้รับ
8
ความสนใจเพิ่มมากขึ้น แต่การรับรู้และความสนใจยังจากัดวงอยู่เฉพาะในโรงเรียนเอกชนของชาวตุรกี
ซึ่งมีอยู่ 4 แห่งทั่วประเทศ โดยสาหรับในหมู่เยาวชนไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ข้อมูลยังไม่เป็น
ที่แพร่หลายทั่วถึง และให้ข้อเสนอแนะว่าจาเป็นที่จะต้องเพิ่มการประชาสัมพันธ์ประเทศตุรกีให้เป็นที่รู้จัก
มากขึ้น (นางสาวเนตรนภา คงศร, 2557)
บทความเรื่อง “ตุรกีกับความช่วยเหลือเพื่อสันติภาพในพื้นที่ขัดแย้งสามจังหวัดชายแดนภาคใต้/
ปาตานี” โดยยาสมิน ซัตตาร์ (2558) กล่าวว่าในส่วนของภาครัฐมีการให้ความช่วยเหลือในด้านการให้
ทุนการศึกษามาศึกษาต่อยังประเทศตุรกีที่มีการคัดเลือกนักเรียนนักศึกษาจากในพื้นที่ (พื้นที่สาม
จังหวัดชายแดนภาคใต้/ปาตานี) มาศึกษาต่อยังประเทศตุรกี (ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้:
ออนไลน์)
6. ความช่วยเหลือขององค์กรพัฒนาเอกชนตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ยาสมิน ซัตตาร์ (2558) กล่าวว่ามูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชน เสรีภาพ และการช่วยเหลือทางด้าน
มนุษยธรรม หรือ อีฮาฮา ได้เข้ามาให้ความช่วยเหลือในด้านการศึกษา ซึ่งได้สนับสนุนในการสร้าง
โรงเรียน 1 แห่ง ในพื้นที่อ.ยะหยิ่ง หรือ โรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยา โดยที่การสนับสนุนในครั้งนี้เป็น
การช่วยเหลือที่ให้ทางโรงเรียนมีการดูแลบริหารการเรียนการศึกษา โดยคนในพื้นที่ ในบริเวณโรงเรียน
ยังมีพื้นที่สาหรับหอพัก และส่วนที่กาลังพัฒนาพื้นที่ต่อไปเรื่อยๆ (ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้:
ออนไลน์)
7. ความช่วยเหลือของประเทศอาหรับในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
จากงานวิจัยเรื่อง องค์กรมุสลิมข้ามชาติกับความมั่นคงของมนุษย์: ศึกษากรณีองค์การ
สงเคราะห์มุสลิมนานาชาติแห่งซาอุดีอาระเบียในประเทศไทย (นายฮาฟิส สาและ; 2550) ได้กล่าวถึง
องค์กรให้ความช่วยเหลือจากประเทศซาอุดีอาระเบียที่เข้ามามีบทบาทในพื้นที่สามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ไว้ว่า องค์การสงเคราะห์มุสลิมนานาชาติแห่งซาอุดีอาระเบีย หรือ IIROSA ถูกก่อตั้งเป็นองค์กร
เอกชนด้านมนุษยธรรมขึ้นในปี ค.ศ.1978 และเริ่มเข้ามาในประเทศไทยเมื่อกลางปี 1987 จากนั้นได้
ขยายเครือข่ายการดาเนินงานไปยังพื้นที่ต่างๆเกือบทั่วภูมิภาคทั่วประเทศ โดยได้จัดตั้งสานักงานย่อย
ในส่วนของภาคใต้ที่จังหวัดยะลา IIROSA ยังมีเครือข่ายการดาเนินงานอยู่ทั่วเกือบทั่วภูมิภาค เช่น
มูลนิธิสงเคราะห์เด็กกาพร้าและการกุศล จังหวัดยะลา
แต่ทั้งนี้จุดเปลี่ยนของ IIROSA เกิดขึ้นหลังจากเหตุการณ์ 9/11 ที่สหรัฐอเมริกาประกาศใช้
นโยบายต่อต้านการก่อการร้าย และตั้งข้อสงสัยต่อการดาเนินการขององค์กรการกุศลในโลกมุสลิมว่ามี
ส่วนเกี่ยวข้องกับการให้เงินสนับสนุนกลุ่มก่อการร้าย ซึ่งรวมถึง IIROSA ด้วย ทาให้หลังจากนั้นการ
ดาเนินงานของ IIROSA ไม่มีความคล่องตัวและส่งผลกระทบต่อการให้ความช่วยเหลือต่อองค์กรในพื้นที่
จังหวัดชายแดนภาคใต้
9
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับบทบาทของประเทศตุรกีในการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน
การพัฒนาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
2. เข้าใจถึงมุมมองของคนในพื้นที่ต่อบทบาทการเข้ามาของประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัด
ชายแดนภาคใต้
3. สามารถเปรียบเทียบบทบาทการให้ความช่วยเหลือของประเทศตุรกีกับประเทศอาหรับอื่นๆ
ที่มีอยู่ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
4. สามารถสรุป วิเคราะห์ องค์ความรู้ใหม่ และแนวโน้มเกี่ยวกับบทบาทของประเทศตุรกีต่อ
พื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้
10
บทที่ 2
บทบาทของตุรกีในการให้การสนับสนุนพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ผ่านการช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์ การศึกษา และเด็กกาพร้า
1.1 รูปแบบการให้ความช่วยเหลือ
จากการวิจัยพบว่าการเข้ามาของประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้จะเข้ามาใน
ลักษณะของการให้ความช่วยด้านมนุษยธรรมเป็นหลัก โดยสามารถแบ่งรูปแบบการให้ความช่วยเหลือ
และการให้การสนับสนุนของประเทศตุรกีต่อพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ออกเป็น 6 รูปแบบ คือ
1. การสร้างอาคารที่พักให้เด็กกาพร้า และสร้างมัสยิด
2. การให้ความช่วยเหลือเรื่องการทากรุบาน
3. การให้ถุงยังชีพแก่ผู้ยากจน และการเลี้ยงละศีลอดในเดือนรอมฎอน
4. การสนับสนุนทุนการศึกษาในพื้นที่ และการศึกษาต่อที่ประเทศตุรกี
5. การจัดรถรับส่งเด็กกาพร้าเพื่อเดินทางไปโรงเรียน
6. การให้ความช่วยเหลืองบสนับสนุนการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์จัดแสดงเรื่องราวด้านวัฒนธรรม
โดยรูปแบบของการให้ความช่วยเหลือและการสนับสนุนทั้งหมดนั้นมีความแตกต่างกันตาม
ลักษณะการดาเนินงานขององค์กรจากประเทศตุรกีที่เข้ามาให้ความช่วยเหลือแต่ละองค์กร และบริบท
ขององค์กรในพื้นที่ที่ได้รับความช่วยเหลือ
1.2 องค์กรจากประเทศตุรกีที่มีบทบาทในพื้นที่
จากการวิจัยเบื้องต้นพบว่าองค์กรของตุรกีที่เข้ามามีบทบาทในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
นั้นแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือองค์กรพัฒนาเอกชนจากตุรกี และส่วนที่สองคือความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานรัฐบาลตุรกี
1.2.1 การให้ความช่วยเหลือโดยองค์กรพัฒนาเอกชนจากตุรกี
องค์กรพัฒนาเอกชนจากตุรกีที่เข้ามาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีหลายองค์กร
บางองค์กรเข้ามาให้ความช่วยเหลือ บางองค์กรเป็นองค์กรที่ให้ความช่วยเหลือในระดับระหว่าง
ประเทศ มีการดาเนินงานในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้มาเป็นระยะเวลานาน มีความ
ต่อเนื่อง และทางานร่วมมือกับองค์กรในพื้นที่หลายพื้นที่ ในขณะที่บางองค์กรเข้ามาให้ความ
ช่วยเหลือเพียงระยะเวลาสั้นๆ และลักษณะการให้ความช่วยเหลือของแต่ละองค์กรต่อพื้นที่ก็มี
ลักษณะที่แตกต่างกันไป
1.2.1.1 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชน เสรีภาพ และการช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม
(INSANI YARDIM VAKFI หรือ The IHH Humanitarian Relief Foundation - iHH) เป็นมูลนิธิ
จากประเทศตุรกีที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมในพื้นที่ความขัดแย้ง และ
11
พื้นที่ที่ต้องการการพัฒนาทั่วโลก ปัจจุบันให้ความช่วยเหลือแล้ว 5 ทวีป 136 ประเทศ ลักษณะ
เป็นองค์กรกลางที่ทาหน้าที่ประสานงานระหว่างผู้ให้ทุนและผู้ได้รับทุนช่วยเหลือ
มูลนิธิ iHH เข้ามาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ใน ค.ศ. 2005 บทบาทการ
ดาเนินงานขององค์กรในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นลักษณะของการสนับสนุน
งบประมาณในการก่อสร้างอาคารที่พักให้แก่เด็กกาพร้า ค่าครองชีพในแต่ละวันของเด็กกาพร้า
ทุนการศึกษาของเด็กกาพร้าที่มีรายชื่ออยู่ในการดูแลในทุกระดับจนกว่าเด็กคนนั้นจะไม่ต้องการ
ศึกษาต่อ โดยที่ทุนการศึกษาทั้งหมด เป็นทุนให้เปล่า ไม่มีผลผูกมัดใดๆทั้งสิ้น นอกจากนี้ยังให้
การสนับสนุนรถรับส่งนักเรียนกาพร้าเพื่อเดินทางไปโรงเรียน การให้งบสนับสนุนซื้อวัวสาหรับ
ทากรุบาน การให้ถุงยังชีพแก่ผู้ยากจน และการเลี้ยงละศีลอดในเดือนรอมฎอน โดยมีพื้นที่ที่
มูลนิธิ iHH ให้การช่วยเหลือดูแลทั้งสิ้น 2 อาเภอในจังหวัดนราธิวาส 3 อาเภอในจังหวัดปัตตานี
และมีแนวโน้นการให้ความช่วยเหลืออีก 1 อาเภอ ในจังหวัดยะลาในอีกไม่นาน (ข้อมูลจาก
ผู้อานวยการสถานที่เลี้ยงเด็กกาพร้าเมอสรา)
มูลนิธิ iHH ถือเป็นมูลนิธิที่มีบทบาท และมอบงบประมาณช่วยเหลือองค์กรในพื้นที่สาม
จังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อพัฒนาด้านการศึกษาและงานช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมมากที่สุด
องค์กรหนึ่ง
รูปภาพที่ 1 ป้ายของมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชน เสรีภาพ และการช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม
ในสถาบันศึกษานูรุลญีนาน
1.2.1.2 Hasaner Foundation เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนตุรกีที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนี
1.2.1.3 IGMG (Islamische Gemeinschaft Milli Goius) องค์กรพัฒนาเอกชนที่เข้ามา
เป็นระยะเวลาสั้นๆ และมิได้ต่อเนื่อง มักเข้ามาให้ความช่วยเหลือในเรื่องของการทากรุบาน
1.2.1.4 WAFA (Weltweiter Einsatz for Arme) องค์กรพัฒนาเอกชนที่เข้ามาเป็น
ระยะเวลาสั้นๆ และมิได้ต่อเนื่อง มักเข้ามาให้ความช่วยเหลือในเรื่องของการทากรุบาน
12
1.2.1.5 CARE เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนที่ดาเนินงานในประเด็นเชิงศาสนามากที่สุดใน
บรรดาองค์กรพัฒนาเอกชนของตุรกีที่เข้ามาในพื้นที่สามจังหวัด รูปแบบของการดาเนินงาน
อาทิเช่น การฝึกให้เด็กท่องจาอัลกรุอาน การให้ความสาคัญกับคาแปลในแต่ละประโยคของอัล
กรุอาน เป็นต้น แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นบทบาทของ CARE ก็ยังคงน้อยมากเมื่อเทียบกับองค์กรพัฒนา
เอกชนอื่นๆที่มีบทบาทอยู่ในพื้นที่
1.2.1.6 DNEZ เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนจากตุรกีที่เพิ่งเข้ามาดาเนินงานในพื้นที่สาม
จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้ไม่นาน ทางานประเด็นเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือเรื่องกรุบานเป็น
หลัก
1.1.2 การให้ความช่วยเหลือโดยองค์กรภายใต้หน่วยงานของรัฐบาลตุรกี
หน่วยงานของรัฐบาล หรือองค์กรที่ให้ความช่วยเหลือภายใต้หน่วยงานของรัฐบาล ซึ่งมี
บทบาทต่อเยาวชนในพื้นที่ และมีบทบาทอยู่ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ปัจจุบันประกอบไป
ด้วยหน่วยงานดังนี้
1.1.2.1 สถานทูตตุรกีประจาประเทศไทย โดยการสนับสนุนทุนการศึกษาให้เยาวชนใน
พื้นที่ไปศึกษาต่อ ณ ประเทศตุรกี ในระดับต่างๆ ทั้งที่เป็นทุนการศึกษาจากรัฐบาลของประเทศ
ตุรกีโดยตรง และทุนการศึกษาจากภาคส่วนอื่นๆด้วย โดยการดาเนินการสมัครขอทุนการศึกษา
ผ่านทางสถานทูตตุรกีประจาประเทศไทย
1.1.2.2 องค์กรดียานัต เป็นองค์กรภายใต้กระทรวงการศาสนาประเทศตุรกี การเข้ามา
ให้ความช่วยเหลือในประเทศไทยจึงเป็นการประสานงานผ่านสถานทูต บทบาทขององค์กร
ดียานัตในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นลักษณะของการสนับสนุนงบประมาณในการ
ก่อสร้างอาคารเรียน สร้างมัสยิด การเลี้ยงอาหารละศีลอดในเดือนรอมฎอน การให้ความ
ช่วยเหลือเรื่องการทากรุบาน และการให้ทุนการศึกษาแก่เยาวชนในพื้นที่เพื่อศึกษาต่อระดับ
มัธยมปลายที่ประเทศตุรกี
1.1.2.3 องค์กร TIKA (Turkey International Koperation and Development Agency)
เป็นองค์กรให้ความช่วยเหลือระหว่างประเทศภายใต้หน่วยงานของรัฐบาล เริ่มเข้ามามีบทบาท
ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้ไม่นาน โดยการให้ความช่วยเหลือจะเป็นในลักษณะของ
การสานต่องานจากองค์กรพัฒนาเอกชนของตุรกีที่ได้ดาเนินอยู่แล้วในพื้นที่ เช่น การสานต่อ
โครงการก่อสร้างหอพักเด็กกาพร้าโรงเรียนฟุรกอน อ.สุไหง-โกลก จ.นราธิวาส จากที่ก่อนหน้า
นั้นผู้รับผิดชอบโครงการ คือ องค์กร iHH และบทบาทที่สาคัญในพื้นที่ที่เพิ่งเริ่มดาเนินงาน คือ
การสนับสนุนการก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์เพื่อแสดงโบราณวัตถุทางวัฒนธรรม ในจังหวัด
นราธิวาส ซึ่งยังไม่แล้วเสร็จ แต่ถือเป็นนิมิตหมายของบทบาทรูปแบบการดาเนินงานใหม่ๆของ
องค์กรจากตุรกีต่อพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้นอกเหนือไปจากการให้ความช่วยเหลือเรื่อง
มนุษยธรรมเท่านั้น
13
1.3 องค์กรในพื้นที่ที่ได้รับความช่วยเหลือจากตุรกีโดยตรง
ความช่วยเหลือและการให้การสนับสนุนของประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ใน
รูปแบบต่างๆนั้น ได้ดาเนินงานประสานผ่านมูลนิธิในพื้นที่ที่สาคัญ 2 มูลนิธิ โดยลักษณะการให้ความ
ช่วยเหลือผ่านทั้งสองมูลนิธิมีลักษณะที่แตกต่างกันไป
1.2.1 มูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจน (The Foundation for the
relief of Orphans and Needy)
มูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจน หรือที่รู้จักกันในนามของโรงเรียนบูรณา
การศึกษาวิทยา อ.ยะหริ่ง เป็นองค์กรแรกในพื้นที่ที่ได้รับความช่วยเหลือและการสนับสนุนจากประเทศ
ตุรกี โดยมูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจนได้เริ่มทางานร่วมกันกับ มูลนิธิเพื่อสิทธิ
มนุษยชน เสรีภาพ และการช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม (INSANI YARDIM VAKFI หรือ The IHH
Humanitarian Relief Foundation - iHH) นับตั้งแต่ ค.ศ.2005 ในลักษณะของการทาบันทึกความเข้าใจ
(Memorandum of Understanding – MOU) ในขณะนั้นการทางานร่วมกันของทั้งสององค์กรเป็น
ลักษณะของการให้ความช่วยเหลือแก่มุสลิมทั่วประเทศไทย ทั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จังหวัด
เชียงใหม่ และจังหวัดชายแดนภาคใต้
ต่อมาใน ค.ศ.2011 มูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจนจึงเริ่มมีโครงการสร้าง
หอพักให้กับเด็กกาพร้าในพื้นที่อาเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี และใน ค.ศ.2012 มูลนิธิก็ได้เปิด
สถานศึกษาคือโรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยาขึ้นในบริเวณเดียวกัน มีพื้นที่จานวน 11 ไร่ 1 งาน 43
ตารางวา
การสร้างอาคารที่พักให้กับเด็กกาพร้า
เนื่องจากมูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจนมีการดาเนินงานเปิดสถานศึกษาใน
บริเวณเดียวกัน อาคารที่พักของมูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจนจึงมีลักษณะเป็น
หอพักของโรงเรียน แบ่งอาคารที่พักเป็น 2 ส่วน คือ หอพักสาหรับเด็กกาพร้า (หรือเรียกว่านักเรียนทุน)
กับหอพักสาหรับเด็กนักเรียนทั่วไป
14
รูปภาพที่ 2 มัสยิดในพื้นที่โรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยา อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
ความช่วยเหลือด้านการศึกษา
โรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยา ก่อตั้งขึ้นใน ค.ศ.2012 โดยเริ่มแรกได้รับการสนับสนุน
งบประมาณการก่อสร้างและการดาเนินงานจากมูลนิธิ iHH ของตุรกี และการให้ความช่วยเหลือจะจากัด
เฉพาะนักเรียนที่เป็นเด็กกาพร้า ต่อมาโรงเรียนก็เปิดรับนักเรียนทั้งที่เป็นนักเรียนกาพร้า และนักเรียน
ทั่วไป ปัจจุบันมีนักเรียนที่ได้รับทุนการศึกษา (นักเรียนที่เป็นเด็กกาพร้า) จานวน 104 คน และนักเรียน
ทั่วไปจานวน 150 คน
ระดับชั้น ชาย หญิง รวม
มัธยมศึกษาปีที่ 1 62 36 98
มัธยมศึกษาปีที่ 2 31 17 48
มัธยมศึกษาปีที่ 3 10 13 23
มัธยมศึกษาปีที่ 4 0 12 12
รวม 103 78 181
ตารางที่ 1 แสดงจานวนนักเรียนโรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยา (ตรุกี)
(ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ.2557 จาก องค์การบริหารส่วนตาบลปิยามุมัง)
การเรียนการสอนของโรงเรียนใช้รูปแบบของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามควบคู่กับการ
เรียนสายสามัญ โรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยาเป็นโรงเรียนที่มีหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นแบบ
บูรณาการ เช่น การสอนวิชาคณิตศาสตร์หรือวิชาวิทยาศาสตร์โดยแทรกหลักคาสอนทางศาสนาอิสลาม
เข้าไป และในการเรียนการสอนวิชาศาสนาอิสลามจะใช้ภาษาอังกฤษและภาษาอาหรับเป็นหลัก โดยใน
ทุกๆปีองค์กรพัฒนาเอกชนจากตุรกีจะส่งตัวแทน 2 คน มาเป็นอาจารย์สอนให้กับเด็กในโรงเรียนนี้
นอกจากนี้ ใน ค.ศ. 2013 มูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจนก็ได้รับความ
ช่วยเหลือจากองค์กรดียานะ ซึ่งเป็นองค์กรภายใต้กระทรวงศาสนาของตุรกี ในการสร้างอาคารเรียน
15
หลังใหม่ และสร้างมัสยิดในบริเวณเดียวกันเพื่อให้เด็กนักเรียนได้ใช้ประกอบศาสนกิจ และการให้
ทุนการศึกษาแก่เด็กนักเรียนที่จบมัธยม 3 ไปเรียนต่อระดับมัธยมปลายที่ประเทศตุรกี ผ่านการ
ประสานงานจากสถานทูตตุรกี ซึ่งมีเด็กนักเรียนจากโรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยา ได้รับทุนดังกล่าวไป
แล้ว จานวน 3 คน เป็นเด็กผู้ชาย 1 คน และเด็กผู้หญิง 2 คน นอกจากนี้โรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยา
ยังทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการประสานงานเกี่ยวกับทุนการศึกษาดังกล่าวให้กับโรงเรียนอื่นๆในพื้นที่
ปัจจุบันโรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยาเป็นโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี โรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยาจึงได้รับงบประมาณการบริหารจัดการ
โรงเรียนจากการสนับสนุนจากภาครัฐด้วย การให้การสนับสนุนขององค์กรจากประเทศตุรกีจึงเป็นแค่ทุน
สนับสนุนบางส่วนเท่านั้น
การให้ความช่วยเหลือเรื่องการทากรุบาน
ใน ค.ศ.2005 มูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจนได้รับทุนเพื่อให้ความ
ช่วยเหลือเรื่องการทากรุบานเฉพาะในพื้นที่จังหวัดปัตตานีจากมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชน เสรีภาพ และ
การช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม (INSANI YARDIM VAKFI หรือ The IHH Humanitarian Relief
Foundation) จานวน 20 ตัว ต่อมาใน ค.ศ.2013 ก็มีอีกสององค์กรที่เข้ามาให้ความช่วยเหลือเรื่องนี้ คือ
องค์กรดียานัต และ องค์กร Hasaner Foundation
ค.ศ. 2015 มูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจนได้รับทุนเพื่อซื้อวัวในการทากรุ
บานและแจกจ่ายแก่ผู้ยากไร้ในพื้นที่ซึ่งรวมจากทั้งสามองค์กรแล้วสามารถซื้อวัวได้ทั้งหมด 252 ตัว
รูปภาพที่ 3 แสดงให้เห็นถึงการเตรียมเชือดวัวกรุบานที่ได้รับจากองค์กร iHH
(รูปภาพจากผู้อานวยการสถาบันการศึกษานูรุลญีนาน)
16
การให้ถุงยังชีพแก่ผู้ยากจน และการเลี้ยงละศีลอดในเดือนรอมฎอน
เมื่อถึงเดือนรอมฎอน ตัวแทนจากองค์กรพัฒนาเอกชนของตุรกีที่มีบทบาทให้พื้นที่จังหวัด
ชายแดนภาคใต้จะมีโครงการมาเยี่ยมเยียนเด็กกาพร้าในความดูแลและประชาชนในพื้นที่ใกล้เคียง จึงได้
มีการจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างองค์กรพัฒนาเอกชนของตุรกีในการมอบถุงยังชีพแก่ประชาชน โดยใน
ถุงยังชีพจะประกอบไปด้วยของใช้ที่จาเป็นสาหรับชีวิตประจาวัน ราคาเบ็ดเสร็จประมาณ 500-700 บาท
ต่อถุง
กิจกรรมการเลี้ยงละศีลอดในเดือนรอมฎอนจะจัดเลี้ยงในบริเวณสนามหน้าอาคารหอพักของเด็ก
กาพร้าในแต่ละพื้นที่ นอกจากจะเป็นการละศีลอดร่วมกันระหว่างตัวแทนจากองค์พัฒนาเอกชนจากตุรกี
และเด็กกาพร้าที่ได้รับความช่วยเหลือแล้ว ก็ยังได้เชิญประชาชนในบริเวณข้างเคียงมาร่วมละศีลอดด้วย
โดยจานวนผู้ร่วมละศีลอดขึ้นอยู่กับความจุของสนามที่ใช้จัดกิจกรรม ทั้งนี้งบประมาณสาหรับผู้ร่วมละศีล
อดแต่ละคนราคาค่าอาหารตกประมาณ 100 บาท
1.2.2 มูลนิธิพัฒนาชุมชนเป็นสุข (Yayasan Membina Masyarakat Bahagia)
มูลนิธิพัฒนาชุมชนเป็นสุขตั้งอยู่ที่อาเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ทาหน้าที่เป็นองค์กรกลางที่คอย
ประสานงานให้ระหว่างองค์กรพัฒนาเอกชนจากตุรกีที่ต้องกรให้ความช่วยเหลือกับองค์กรในพื้นที่ที่
ทางานด้านเด็กกาพร้าและได้รับความช่วยเหลือ โดยการช่วยเหลือในทุกรูปแบบจะถูกประสานผ่าน
มูลนิธิแห่งนี้ทั้งทุนช่วยเหลือด้านการศึกษา ทุนก่อสร้างอาคารเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้า ทุนสนับสนุน
การซื้อวัวกรุบาน และอื่นๆ มูลนิธิจะเป็นผู้จัดสรรงบประมาณตามที่องค์กรแต่ละแห่งต้องการหรือที่ได้ตก
ลงกับผู้ให้การสนับสนุน ในกรณีที่เป็นงบประมาณความช่วยเหลือเพื่อซื้อวัวทากรุบาน มูลนิธิก็จะแบ่งให้
ตามความเหมาะสมตามสภาพพื้นที่ของแต่ละองค์กร ปัจจุบันมีองค์กรจาก 5 พื้นที่ที่อยู่ภายใต้การ
ประสานงานของมูลนิธิพัฒนาชุมชนเป็นสุข ประกอบไปด้วย องค์กรจากพื้นที่อาเภอตากใบ และอาเภอสุ
ไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส องค์กรจากพื้นที่อาเภอสายบุรี และอาเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี และ
องค์กรจากพื้นที่อาเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
การสร้างอาคารที่พักให้กับเด็กกาพร้า
มูลนิธิพัฒนาชุมชนเป็นสุขได้รับทุนช่วยเหลือในการก่อสร้างอาคารเพื่อเป็นบ้านพักให้กับเด็ก
กาพร้าโดยได้รับความช่วยเหลือด้านงบประมาณการก่อสร้างอาคารที่พักจากมูลนิธิ iHH ของตุรกี
เงื่อนไขสาหรับการให้ความช่วยเหลือในการก่อสร้างอาคารหอพักเด็กกาพร้าคืองบประมาณที่มอบให้นั้น
จะเป็นงบประมาณสาหรับการก่อสร้างเท่านั้น ไม่รวมที่ดินที่จะใช้จัดตั้ง องค์กรในพื้นที่ที่จะเป็นผู้จัดตั้ง
อาคารหอพักต้องมีที่ดินอยู่แล้ว แล้วที่ดินนั้นต้องเป็นที่ดินที่บริจาคเพื่อการกุศลตามหลักกฎหมาย
อิสลาม และมีใบรับรองจากคณะกรรมการอิสลามประจาจังหวัดแล้วเท่านั้น และค่าใช้จ่ายในการดูแล
หอพักและค่าอาหารของเด็กกาพร้าทุกคนในหอพัก มูลนิธิ iHH เป็นผู้ดูแลทั้งหมด
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้

More Related Content

What's hot

แนะนำโรงเรียน
แนะนำโรงเรียนแนะนำโรงเรียน
แนะนำโรงเรียนchanpen
 
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางPremo Int
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ นางในวรรณคดี
โครงงานคอมพิวเตอร์ นางในวรรณคดีโครงงานคอมพิวเตอร์ นางในวรรณคดี
โครงงานคอมพิวเตอร์ นางในวรรณคดีrawinchu
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
โครงงานน้ำผักเพื่อสุขภาพ
โครงงานน้ำผักเพื่อสุขภาพโครงงานน้ำผักเพื่อสุขภาพ
โครงงานน้ำผักเพื่อสุขภาพOnnicha Khattirat
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตThanawut Rattanadon
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4Panomporn Chinchana
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Thananya Pon
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)Chainarong Maharak
 
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5sripayom
 
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือTeeraporn Pingkaew
 
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931KantnateeHarnkijroon
 
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1pageใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงานJane Janjira
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้Nattapakwichan Joysena
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการlukhamhan school
 

What's hot (20)

แนะนำโรงเรียน
แนะนำโรงเรียนแนะนำโรงเรียน
แนะนำโรงเรียน
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ นางในวรรณคดี
โครงงานคอมพิวเตอร์ นางในวรรณคดีโครงงานคอมพิวเตอร์ นางในวรรณคดี
โครงงานคอมพิวเตอร์ นางในวรรณคดี
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
โครงงานน้ำผักเพื่อสุขภาพ
โครงงานน้ำผักเพื่อสุขภาพโครงงานน้ำผักเพื่อสุขภาพ
โครงงานน้ำผักเพื่อสุขภาพ
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
ปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญ
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
 
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
 
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือ
 
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
 
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1pageใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
 

Similar to รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้

บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)Thakhantha
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 Thakhantha
 
ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์patcharamon
 
สถานการณ์ภาคใต้ของไทย
สถานการณ์ภาคใต้ของไทยสถานการณ์ภาคใต้ของไทย
สถานการณ์ภาคใต้ของไทยYaowaluk Chaobanpho
 
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3Ukrit Chalermsan
 
โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมtassanee chaicharoen
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
โครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปันโครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปันPawitporn Piromruk
 
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธniralai
 
บทเรียนที่๓
บทเรียนที่๓บทเรียนที่๓
บทเรียนที่๓jutby
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 

Similar to รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (20)

บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
สถานการณ์ภาคใต้ของไทย
สถานการณ์ภาคใต้ของไทยสถานการณ์ภาคใต้ของไทย
สถานการณ์ภาคใต้ของไทย
 
355
355355
355
 
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
 
โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
โครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปันโครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปัน
 
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
บทเรียนที่๓
บทเรียนที่๓บทเรียนที่๓
บทเรียนที่๓
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้

  • 2. i หัวข้อเรื่อง โครงการวิจัยบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ชื่อผู้วิจัย นางสาวอัสมะ ตันหยงดาโอะ ชื่อโครงการ โครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบัน สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ปี 2559 บทคัดย่อ วิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงบทบาทของประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดน ภาคใต้ ทั้งในส่วนของบทบาทของรัฐบาลตุรกี และองค์กรพัฒนาเอกชนจากประเทศตุรกี ที่เข้ามาให้ ความช่วยเหลือสนับสนุนการทางานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเฉพาะภายหลังจากขึ้นมาดารง ตาแหน่งทางการเมืองของผู้นาตุรกีที่มีแนวคิดอิสลามนิยม โดยศึกษาถึงบทบาทและลักษณะการ ดาเนินงานในพื้นที่ บทบาทการทางานเปรียบเทียบกับประเทศตะวันออกกลางอื่นๆที่มีบทบาทอยู่ใน พื้นที่เช่นเดียว และศึกษาถึงความคิดเห็นของคนในพื้นที่ต่อบทบาทการดาเนินงานของประเทศตุรกี เหล่านั้น นอกจากนี้วิจัยฉบับนี้ยังได้ศึกษาถึงความคิดเห็นของเยาวชนคนรุ่นใหม่ในพื้นที่ต่อแนวคิดเรื่อง ขบวนการเคลื่อนไหวอิสลาม (Islamic Movement) และแนวคิดการให้ความช่วยเหลือตามหลักศาสนา อิสลาม (Islamic Humanitarian) ผ่านการขับเคลื่อนโดยผู้นาประเทศตุรกีในปัจจุบัน จากการศึกษาพบว่า บทบาทของประเทศตุรกีต่อพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทั้งในส่วน ของรัฐบาลตุรกีหรือแม้กระทั่งองค์กรพัฒนาเอกชนจากประเทศตุรกี จะเน้นการให้ความช่วยเหลือด้าน สังคมเป็นหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และการสนับสนุนด้าน การศึกษาต่อเยาวชนในพื้นที่ โดยมีการดาเนินงานแล้วคือ 1. การสร้างอาคารที่พักให้เด็กกาพร้า และสร้างมัสยิด 2. การให้ความช่วยเหลือเรื่องการทากรุบาน 3. การให้ถุงยังชีพแก่ผู้ยากจน และการเลี้ยงละศีลอดในเดือนรอมฎอน 4. การสนับสนุนทุนการศึกษาในพื้นที่ และการศึกษาต่อที่ประเทศตุรกี 5. การจัดรถรับส่งเด็กกาพร้าเพื่อเดินทางไปโรงเรียน 6. การให้ความช่วยเหลืองบสนับสนุนการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์จัดแสดงเรื่องราวด้านวัฒนธรรม
  • 3. ii การดาเนินงานมีพื้นที่การทางานที่หลากหลาย และเข้าถึงพื้นที่ที่อยู่ห่างไกลจากตัวเมือง นอกจากนี้ยังพบว่าบทบาทของประเทศตุรกีในพื้นที่มีแนวโน้มที่จะขยายการดาเนินงานและพื้นที่การ ทางานต่อไปในอนาคต จากการศึกษายังพบว่า เยาวชนคนรุ่นใหม่ในพื้นที่มีทัศนคติที่เป็นบวกต่อผู้นาปัจจุบันที่มี แนวคิดอิสลามนิยมของตุรกี มีความคาดหวังอย่างท้าทายว่าโลกมุสลิมจะกลับมามีศูนย์กลางเมืองการ ปกครองดังเช่นสมัยก่อนราชวงศ์ออตโตมัน(อุษมานียะห์)จะล่มสลาย แล้วกลายเป็นประเทศตุรกีใน ปัจจุบัน มองว่าการดาเนินนโยบายของประเทศตุรกีมีลักษณะของการนาแนวคิดแบบอิสลามนิยมเข้ามา มากขึ้น แต่ในลักษณะที่ค่อยๆเปลี่ยนเพื่อไม่ได้เกิดการต่อต้านจากสังคม นอกจากนี้มองว่าประเทศตุรกี ดาเนินนโยบายต่างประเทศแบบ Soft Power ในเรื่องการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และการ สนับสนุนการศึกษาในการเข้าไปสร้างบทบาทของตัวเองในพื้นที่อื่นๆทั่วโลก โดยไม่ได้เน้นเฉพาะพื้นที่ที่ เป็นชาวมุสลิมเท่านั้น พวกเขามองว่าเหล่านี้เป็นความท้าทายของประเทศตุรกีในการสร้างบทบาทการ ยอมรับจากประเทศอื่นๆในการก้าวขึ้นมาเป็นผู้นาทางการเมืองโลก ในขณะเดียวกันประเทศตุรกีก็ยังถูก ทดสอบศักยภาพด้านความมั่นคงจากประเทศมหาอานาจอื่นๆอยู่บ่อยครั้ง อีกทั้งเสถียรภาพความมั่นคง ภายในประเทศก็ยังเป็นเรื่องที่ต้องได้รับการดูแลเป็นอย่างมาก การดาเนินนโยบายใดๆของตุรกีใน ปัจจุบันและในอนาคตถูกจับตามองอย่างยิ่งจากสังคมนานาประเทศ และจากสังคมมุสลิมเองอย่างใกล้ชิด ในฐานะประเทศที่ก้าวขึ้นมามีบทบาทในเวทีระหว่างประเทศที่โดดเด่นประเทศหนึ่งในปัจจุบัน
  • 4. iii กิตติกรรมประกาศ ความสาเร็จในการศึกษาและการทาวิจัยเล่มนี้จะไม่อาจเกิดขึ้นและสาเร็จได้เลย หากไม่ได้รับ ความช่วยเหลือจากบุคคลที่ให้การสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือต่อผู้วิจัย ขอขอบคุณสถาบันคลัง ปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่มอบทุนสนับสนุนการทาวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ผู้อานวยการสถาบันที่มอบโอกาสให้ผู้วิจัยได้ทาวิจัยเล่ม นี้ นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้จัดการโครงการ สาหรับโอกาสและคาแนะนาที่ดี ขอบคุณเจ้าหน้าที่จาก สถาบันคลังปัญญา คุณปลายฟ้า บุนนาค (น้องอุ๊) ที่คอยตามงานวิจัยให้สาเร็จลุล่วงตามกาหนดการ คุณ อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ที่คอยดูแลเรื่องการเงินตลอดการทาวิจัย ขอขอบคุณ ศ.ดร.จรัญ มะลูลีม อาจารย์ประจาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ ดร.ศราวุฒิ อารีย์ รองผู้อานวยการศูนย์มุสลิมศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ กรุณามาเป็นผู้ทรงคุณวุฒิให้ความเห็นและข้อเสนอแนะต่อวิจัยเรื่องนี้ ผู้วิจัยได้รับคาแนะนาที่ดีจาก อาจารย์ทั้งสองท่านมากๆ ขอขอบคุณผู้ให้ข้อมูลทุกๆท่านที่กรุณาสละเวลาให้ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์แบบ เจาะลึก ทั้งที่สามารถเอ่ยนามได้และที่ไม่ต้องการเปิดเผยนาม หากไม่มีพวกท่านเหล่านี้ งานวิจัยเล่มนี้ คงจะไม่สามารถสาเร็จลุล่วงและสมบูรณ์ได้ ขอบคุณ คุณอัซฮา สารีมะเจ๊ะ เพื่อนของผู้วิจัย ที่เป็นผู้ริเริ่มร่างโครงการและนาเสนอ โครงการวิจัยจนได้รับการสนับสนุนงบประมาณและสามารถดาเนินงานได้ อีกทั้งเป็นผู้แนะนาผู้วิจัยให้ สานต่อโครงการนี้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเจตนารมณ์การสร้างโครงการคลังปัญญาเยาวชนในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ที่พวกเราตั้งใจจะสร้างกันขึ้นมา ขอบคุณ บาดารีย๊ะ บุยะลา (อิลฮัม) ผู้ช่วยวิจัย สาหรับ การลงพื้นที่เก็บข้อมูลด้วยกันที่ยาวนาน คอยช่วยแปลภาษามลายูให้ อดทนต่อความยากลาบากในการ นั่งรถด้วยกันนานๆเวลาลงพื้นที่เก็บข้อมูล ขอบคุณเพื่อนๆ และครอบครัว รัย ไอมีย์ อาเยาะห์และมามา สาหรับกาลังใจที่ดีและการสนับสนุนตลอดการทาวิจัยนี้ และท้ายสุดขอบคุณความอดทนของตัวเองที่ สามารถทาวิจัยให้สาเร็จลงได้ แม้ว่าในบางช่วงเวลาแทบจะไม่มีเวลาว่างให้ได้ทาวิจัยเลยก็ได้ อัสมะ ตันหยงดาโอะ 24 เมษายน 2559
  • 5. iv สารบัญ หน้า บทที่ 1 บทนา - ที่มาและความสาคัญ 1 - วัตถุประสงค์การวิจัย 2 - นิยามศัพท์เฉพาะ 2 - ขอบเขตการศึกษา 3 - ระเบียบวิธีวิจัย 4 - ทบทวนวรรณกรรมเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5 - ผลที่คาดว่าจะได้รับ 9 บทที่ 2 บทบาทของตุรกีในการให้การสนับสนุนพื้นที่สามจังหวัด 10 ชายแดนภาคใต้ผ่านการช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์ การศึกษา และเด็กกาพร้า บทที่ 3 อิทธิพลของแนวคิดขบวนการเคลื่อนไหวอิสลาม 28 (Islamic Movement) และแนวคิดการให้ความช่วยเหลือ ด้านมนุษยธรรมตามหลักศาสนาอิสลาม (Islamic Humanitarian) ของตุรกีต่อเยาวชนคนรุ่นใหม่ในพื้นที่ บทที่ 4 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 38 บรรณานุกรม 50
  • 6. v สารบัญรูปภาพ ภาพ หน้า 1 ป้ายของมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชน เสรีภาพ และการช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม 11 ในสถาบันศึกษานูรุลญีนาน 2 มัสยิดในพื้นที่โรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยา อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี 14 3 การเตรียมเชือดวัวกรุบานที่ได้รับจากองค์กร iHH 15 4 บรรยากาศการเปิดบวชร่วมกันในเดือนรอมฎอน ปี พ.ศ.2558 17 5 รถรับส่งเด็กนักเรียนของหอพักเด็กกาพร้าของมูลนิธิ iHH 20 6 แสดงงบประมาณที่ประเทศตุรกีใช้เพื่อสนับสนุนด้านการศึกษา 47
  • 7. vi สารบัญตาราง ตาราง หน้า 1 แสดงจานวนนักเรียนโรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยา (ตุรกี) 14 2 แสดงจานวนวัวที่มูลนิธิพัฒนาชุมชนเป็นสุขได้รับเพื่อทากรุบานในแต่ละปี 19 3 แสดงจานวนเงินบริจาคที่มูลนิธิพัฒนาชุมชนเป็นสุขได้รับจากมูลนิธิ iHH 21 4 แสดงรายชื่อประเทศอาหรับ และงบประมาณการสนับสนุนที่มหาลัยฟาตอนีเคยได้รับ 22 5 เปรียบเทียบการดาเนินงานขององค์กรพัฒนาเอกชนตุรกีบางส่วนในระยะเวลา 46 ที่ผ่านมา และแนวโน้มในการขยายพื้นที่การดาเนินงานในอนาคต
  • 8. 1 บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ การผงาดขึ้นมาของประเทศตุรกีในเวทีการเมืองระหว่างประเทศภายใต้การนาของพรรค ยุติธรรมและการพัฒนา (Justice and Development Party) หรือพรรค AKP ซึ่งเป็นพรรคการเมืองที่ นิยมอิสลาม เป็นที่ถูกจับตามองอย่างยิ่งจากสังคมระหว่างประเทศ พรรค AKP มีการดาเนินนโยบายที่ พยายามสร้างบทบาทในประเด็นการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมในประเทศอื่นๆหรือพื้นที่ที่มี ประชากรนับถือศาสนาอิสลาม ทั้งในพื้นที่ที่เกิดปัญหาความขัดแย้ง เช่น ในพื้นที่ความขัดแย้งในประเทศ ตะวันออกกลาง และประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของ ไทย โดยได้ดาเนินนโยบายทั้งผ่านการดาเนินงานของรัฐบาลโดยตรง และการสนับสนุนผ่านองค์กร พัฒนาเอกชนของตุรกีที่เข้าไปทางานให้ความช่วยเหลือในประเทศต่างๆ นอกเหนือจากการดาเนินนโยบายของพรรค AKP ที่น่าสนใจและถูกจับตามองแล้ว ภายใต้การ บริหารประเทศของนายเรเจป ตอยยิบ เออร์โดกัน (Recep Tayyip Erdogan) ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน ของตุรกี และผู้นาฝ่ายบริหารท่านอื่นๆ ก็ถูกพูดถึงมากเช่นเดียวกัน ลักษณะของการทางานและลักษณะ การแสดงความเป็นผู้นาที่ปรากฏต่อสื่อสาธารณะทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ ได้สร้างภาพลักษณ์ ที่ดีของผู้นาที่เป็นอิสลาม แนวคิดของผู้นาประเทศตุรกียุคปัจจุบันส่งอิทธิพลอย่างมากต่อเยาวชนคนรุ่น ใหม่ในโลกอิสลาม โดยเฉพาะที่มีความเป็นอิสลามนิยม และโหยหาระบอบการเมืองการปกครองแบบ อิสลาม (ระบบคอลีฟะห์) ซึ่งเคยมีมาในอดีต ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนา อิสลาม ได้เกิดเหตุการณ์ความรุนแรงมานับตั้งแต่ ค.ศ.2004 โดยมีชุมชนระหว่างประเทศมากมายที่เข้า มามีบทบาทอยู่ในพื้นที่ ซึ่งส่วนใหญ่เข้ามาให้ความช่วยเหลือในประเด็นด้านความขัดแย้งและการสร้าง สันติภาพเป็นหลัก ประเทศตุรกีซึ่งเป็นประเทศที่มีประชาชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม เช่นเดียวกับในพื้นที่สามจังหวัดภาคใต้ ก็เป็นหนึ่งในหลายๆประเทศที่เข้ามามีบทบาทในพื้นที่ เพียงแต่ การดาเนินงานนั้นจะให้ความสาคัญกับงานการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมเป็นหลัก การเข้ามามี บทบาทของตุรกีมีความโดดเด่นและแตกต่างจากการเข้ามาของประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะเมื่อ เปรียบเทียบกับประเทศในตะวันออกกลางประเทศอื่นๆซึ่งมีบทบาทในพื้นที่เช่นเดียวกัน ลักษณะการ ทางานมีความหลากหลาย บทบาทของประเทศตุรกีในพื้นที่ไม่ได้มีเพียงเฉพาะการดาเนินงานผ่าน
  • 9. 2 หน่วยงานของรัฐบาลเท่านั้น แต่บทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชนจากประเทศตุรกีก็มีค่อนข้างสูงมาก เช่นกัน ปัจจัยเหล่านี้ทาให้งานวิจัยชิ้นนี้ต้องการที่จะศึกษาถึงบทบาทและลักษณะการทางานของ ประเทศตุรกีที่มีอยู่ในพื้นที่ทั้งในส่วนของการดาเนินงานของรัฐบาลตุรกี และองค์กรจากประเทศตุรกี มุมมองของคนในพื้นที่ต่อการเข้ามามีบทบาทนั้นๆ รวมไปถึงมุมมองต่อภาพลักษณ์ และแนวคิดต่างๆที่ ส่งอิทธิพลจากประเทศตุรกีต่อเยาวชนคนรุ่นใหม่ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะ เข้าใจถึงการดาเนินนโยบายด้านการต่างประเทศของตุรกีที่มีต่อพื้นที่ แนวโน้มต่อไปในอนาคต ผลการ ตอบรับของคนในพื้นที่ และเพื่อที่จะเป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนถกเถียงของคนที่มีความรู้และสนใจในประเด็น ของประเทศตุรกีในพื้นที่อีกด้วย วัตถุประสงค์โครงการ 1. เพื่อศึกษาบทบาทของประเทศตุรกีในการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนการพัฒนาใน พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2. เพื่อศึกษามุมมองของคนในพื้นที่ต่อบทบาทของประเทศตุรกี 3. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบบทบาทการให้ความช่วยเหลือของประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัด ชายแดนภาคใต้กับประเทศมุสลิมอื่นๆ 4. เพื่อสรุป วิเคราะห์ องค์ความรู้ใหม่และแนวโน้มเกี่ยวกับบทบาทของประเทศตุรกีต่อพื้นที่ สามจังหวัดชายแดนใต้ นิยามศัพท์ 1. เยาวชน หมายถึง ประชาชนชนที่มีอายุ 15-25 ปี (ตามความหมายของเยาวชนของ องค์การสหประชาชาติ) 2. เดือนรอมฎอน หมายถึง เดือนที่ 9 ของปฏิทินฮิจเราะห์ หรือปฏิทินอิสลาม เป็นเดือนที่มุสลิม ถือศีลอดทั้งเดือน เป็นเดือนที่สาคัญที่สุดเดือนหนึ่ง เนื่องจากชาวมุสลิมจะต้อง ปฏิบัติเพราะเป็นศาสนบัญญัติ ด้วยการงดอาหารทุกชนิดรวมถึงน้าดื่มใน ช่วงเวลา 3. กรุบาน หมายถึง การเชือดสัตว์พลีเพื่ออัลลอฮตามหลักความเชื่อศาสนาอิสลาม การทา กุรบานจะตรงกับวันที่ 10 เดือนซุลฮิจญะฮฺ ปีฮิจเราะห์ศักราชของพระอาทิตย์ ขึ้น-พระอาทิตย์ตกดินอิสลามในทุกๆปี 4. การละศีลอด หมายถึง การสามารถรับประทานอาหาร ดื่มเครื่องดื่ม และปฏิบัติกิจวัตรได้ ตามปกติ หลังจากที่ถือศีลอดด้วยการงดเว้นการรับประทานอาหารและน้าดื่ม ตั้งแต่ช่วงพระอาทิตย์ขึ้น-พระอาทิตย์ตกดิน 5. ประเทศอาหรับ หมายถึง กลุ่มประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลางที่ประชากรส่วนใหญ่เป็นชน
  • 10. 3 เผ่าอารบิก 6. คอลีฟะห์ หมายถึง ตาแหน่งผู้นาสูงสุดของประชาชาติอิสลาม ผู้นาที่ได้รับการยอมรับ อย่างกว้างขวางในโลกมุสลิม เป็นตัวแทนในการนากฎหมายอิสลามมาใช้ 7. แนวคิดกลุ่มอิควาน หมายถึง แนวคิดที่จะให้ระบอบการปกครองแบบอิสลามเกิดขึ้นอีกครั้ง โดย ผู้ก่อตั้งคือ เชคอะซัน อัลบันนา ใน ค.ศ. 1928 ภายหลังการล่มสลายของ ระบอบคอลีฟะห์ออตโตมัน กลุ่มนี้มีชื่อเต็มว่า กลุ่มอิควานุลมุสลิมีน 8. กลุ่มตับลีฆ หมายถึง กลุ่มตับลีฆเป็นชื่อของขบวนการปฏิรูป ซึ่งก่อตั้งขึ้นโดย ฮัดรัต เมา ลานา มุฮัมมัด อิลยาส รณรงค์เพื่อปรับปรุงความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอิสลาม และความประพฤติของชุมชนมุสลิม 9. กลุ่มฮิซบุลเลาะห์ หมายถึง องค์กรและพรรคการเมืองของชาวมุสลิมชีอะฮ์ในเลบานอน ได้รับ แรงบันดาลใจจากความสาเร็จในการปฏิวัติอิสลามของ อะยะตุลลอหฺ โคไมนี ผู้นาอิหร่านในสมัยนั้น โดยวัตถุประสงค์ในการก่อตั้งก็เพื่อปกป้องอนาธิปไตย ของมุสลิม และปกป้องมาตุภูมิเลบานอนให้พ้นจากการรุกรานของชาวอิสราเอล ขอบเขตการศึกษา ผู้วิจัยได้กาหนดขอบเขตของการศึกษาไว้ดังนี้ 1. ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลดังต่อไปนี้ 1.1 แหล่งข้อมูลเอกสาร เป็นแหล่งข้อมูลเบื้องต้น จากเอกสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และ งานวิจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับบทบาทของประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดน ภาคใต้ 1.2 แหล่งข้อมูลภาคสนาม เป็นการศึกษาลงพื้นที่และสัมภาษณ์เพื่อศึกษามุมมองของคนใน พื้นที่ต่อการเข้ามามีบทบาทของประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2. ขอบเขตเชิงเนื้อหา 2.1 บทบาทของประเทศตุรกีในการให้การสนับสนุนพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ผ่าน การช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์ การศึกษา และเด็กกาพร้าของตุรกีในสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ 2.2 อิทธิพลของแนวคิดขบวนการเคลื่อนไหวอิสลาม (Islamic Movement) และแนวคิดการ ให้ความช่วยเหลือตามหลักศาสนาอิสลาม (Islamic Humanitarian) ต่อเยาวชนคนรุ่น ใหม่ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
  • 11. 4 ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยเรื่องบทบาทของตุรกีในสามจังหวัดชายแดนใต้ ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการศึกษาเชิงเอกสาร การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) และการ วิเคราะห์ข้อมูล โดยมีระเบียบวิธีวิจัยดังนี้ 1. การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย ทั้งที่เป็นเอกสาร งานวิจัย และสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อ เป็นข้อมูลพื้นฐานในการทาความเข้าใจความเป็นมา และสถานการณ์ที่เกิดขึ้นซึ่งมีความ เกี่ยวข้องกับประเทศตุรกีและพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 2. การเก็บข้อมูลภาคสนามในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส โดยกาหนดเงื่อนไขวิธีการดังนี้ 2.1 การเก็บข้อมูลภาคสนาม 2.2.1 การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-participant Observation) ต่อสถานที่ที่ลงไป เก็บข้อมูล เช่น สถานที่ขององค์กรที่ได้รับความช่วยเหลือ เด็กกาพร้าที่อยู่ใน โครงการได้รับความช่วยเหลือ เป็นต้น 2.2.2 การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) กับผู้ให้ข้อมูลหลักรายบุคคล เพื่อเข้าถึงข้อมูลที่ไม่สามารถเข้าถึงเอกสารสาคัญได้ โดยมีบุคคลที่ได้ทาการ สัมภาษณ์ประกอบไปด้วย 2.2.2.1 บุคคล หรือตัวแทนองค์กรในพื้นที่ที่ได้รับความช่วยเหลือหรือเกี่ยวข้อง กับการดาเนินงานของประเทศตุรกีโดยตรง 2.2.2.2 บุคคล หรือตัวแทนองค์กรพัฒนาเอกชนจากประเทศตุรกีที่เข้ามา ดาเนินงานอยู่ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2.2.2.3 บุคคล หรือตัวแทนองค์กรที่มีส่วนได้ส่วนเสียจากการดาเนินงานของ ประเทศตุรกีในพื้นที่ 2.2.2.4 เยาวชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่มีความสนใจเกี่ยวกับ การเมืองระหว่างประเทศ 3. การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ที่ได้จากการสัมภาษณ์ผู้ให้ ข้อมูล ข้อมูลจากเอกสาร และการสังเกตการณ์ประกอบกัน จากนั้นจัดหมวดหมู่ของเนื้อหาให้ เป็นไปตามประเด็นการวิจัย และนาเสนอในลักษณะของการพรรณนา
  • 12. 5 ทบทวนวรรณกรรม การศึกษาข้อมูลด้านเอกสาร และสื่ออิเล็คทรอนิกส์ เพื่อเป็นกรอบในการทาความเข้าใจประเด็น ต่างๆตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ซึ่งได้ศึกษาเอกสาร และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1. แนวคิดที่สาคัญ แนวคิดหลักๆเกี่ยวกับการเข้ามามีบทบาทของตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หลักๆ ประกอบด้วย 2 แนวคิด คือ 1.1 แนวคิดเรื่อง Neo-Ottoman หากต้องการศึกษาถึงแนวคิด Neo-Ottoman มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องราวของจักรวรรดิออตโตมันเสียก่อน เพราะแนวคิดเรื่อง Neo-Ottoman เป็นแนวคิดที่ ต้องการสร้างประเทศตุรกีให้กลับมายิ่งใหญ่เหมือนช่วงเวลาที่ประเทศตุรกียังเป็นจักรวรรดิออตโตมัน ใน หนังสือตุรกี : อดีตถึงปัจจุบัน (ไพศาล หรูพาณิชย์กิจ, 2546) ได้กล่าวถึงความยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิออต โตมันว่า ระยะเวลา 100 ปี นับตั้งแต่สุลต่านเมห์เมตที่ 2 ทรงสามารถตีกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้สาเร็จ อาณาจักรออตโตมันได้แผ่ขยายออกไปอย่างรวดเร็ว กลายเป็นจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโลกมุสลิมใน เวลาต่อมา อาณาจักรออตโตมันได้ขยายอานาจครอบคลุมดินแดนถึง 3 ทวีป ได้แก่ ตะวันออกกลาง แอฟริกาเหนือ และยุโรปบอลข่าน อดีตอันยิ่งใหญ่ของจักวรรดิออตโตมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมัยของ สุลต่านสุไลมาน เป็น 1 ใน 3 สิ่งที่ชาวตุรกีมีความภาคภูมิใจเป็นอย่างมากเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของ ชาติตน ในบทความของ Agnes Czajka และ Edward Wastnidge ได้กล่าวถึงแนวคิดเรื่อง Neo- ottoman ว่าในทางวิชาการ Neo-Ottoman ใช้ในการอธิบายและวิเคราะห์ทศวรรษที่ผ่านมาหรือนโยบาย ต่างประเทศของตุรกี เกิดขึ้นจากความพยายามในการดาเนินนโยบายต่างประเทศหลังจากการขึ้นมามี อานาจบริหารประเทศของพรรค AK Party (AKP) ใน ค.ศ.2003 นโยบายต่างประเทศแบบ Neo- Ottoman มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้นาการบริหาร ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน นายเรเจป ตอยยิบ เออร์โดกัน (Recep Tayyip Erdogan) และนายกรัฐมนตรี นายอาห์เหม็ด ดาวูโตกลู (Ahmet Davutoglu)แต่ Neo-Ottoman ไม่ใช่การกลับไปเป็นจักรวรรดิออตโตมันเหมือนในอดีต แต่เป็นเครื่องมือ ในการสร้างพื้นที่ทางวัฒนธรรม การเมือง และอานาจทางเศรษฐกิจของตุรกี โดยมีความเกี่ยวข้องกับ ความเป็นศาสนา มีลักษณะเหมือนเป็นจักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรมที่จะกลายเป็นอานาจทางการเมือง และเศรษฐกิจในภูมิภาค นอกจากนี้หากแนวคิดนี้เป็นการดาเนินนโยบายต่างประเทศที่มีความเชื่อมโยง กับจักรวรรดิของอิสลาม นั้นหมายถึงการเชื่อมสัมพันธ์ที่จะสร้างความอ่อนแอและความเข้มแข็งระหว่าง Neo-Ottoman และความเป็นอิสลาม ซึ่งจะเหมือนเป็นยาแก้พิษของจักรวรรดิอิสลามในอดีตที่ถูก เปลี่ยนแปลงไปโดยความเป็นตะวันตก (‘The Centre of World Politics?’ Neo-Ottomanism in Turkish Foreign and Domestic Politics, Agnes Czajka and Edward Wastnidge, ออนไลน์)
  • 13. 6 ทั้งนี้แนวคิด Neo-Ottoman คือการทาให้ตุรกีกลับมาเป็นศูนย์กลางของรัฐอิสลามอีกครั้งซึ่งสร้าง ความกังวลไม่น้อย ดังที่นาย Nicolas de Magnienville (รองผู้จัดการทั่วไป บริษัท Lafarge Dalsan) ผู้ผลิตผนังจากปูนพลาสเตอร์ของฝรั่งเศสในตุรกีและมีอุตสาหกรรมซีเมนต์ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในยุโรป รวมถึงนักลงทุนต่างชาติบางส่วนยังกังวลว่า นายเออร์โดกัน ประธานาธิบดีของตุรกีจะมุ่งบริหาร ประเทศไปสู่ ‚Islamic State‛ (ศูนย์ธุรกิจสัมพันธ์ กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กระทรวงการ ต่างประเทศ, 2557 : ออนไลน์) 1.2 แนวคิดเรื่องอุมมะฮ์ (ความเป็นพี่น้องกันในอิสลาม) แนวคิดเรื่องอุมมะฮ์ หรือแนวคิดความเป็นพี่น้องกันในอิสลาม เป็นแนวคิดหลักในการเข้ามาให้ ความช่วยเหลือของประเทศมุสลิมหรือกลุ่มประเทศอาหรับอื่นๆต่อพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เนื่องด้วยพื้นที่แห่งนี้ประชากรส่วนใหญ่ของพื้นที่นับถือศาสนาอิสลาม หนังสือไทยกับโลกมุสลิม (ไทยกับโลกมุสลิม: เฉพาะกรณีชาวไทยมุสลิม) ได้พูดถึงเกี่ยวกับ แนวคิดนี้ว่า เนื่องจากอิสลามมิใช่ศาสนาที่แยกตัวจากชีวิตความเป็นอยู่ในโลกรวมทั้งการเมืองด้วย ดังนั้นศาสนานี้จึงนับว่าเป็นวิถีแห่งชีวิตมากกว่าจะเป็นศาสนาในความคิดของศาสนิกชนอื่นๆ ชาวมุสลิม นั้นถือว่า “พี่น้องทางศาสนา” เป็น “อุมมะฮ์” (Umma) หรือประชาชาติเดียวกัน อยู่ใต้การปกครองของ ผู้นาคนเดียวกันซึ่งเป็นผู้นาทางศาสนา การเมือง สังคม ศิลปะวิทยาการและอื่นๆ ประชากรมุสลิมมิได้ แยกจากกันโดยเชื้อชาติหรือที่อยู่ของประเทศต่างๆ เพราะอิสลามคือเครื่องผูกพันจิตใจของมุสลิมไว้ ด้วยกันอย่างแข็งแกร่ง ( จรัญ มะลูลีม กิติมา อมรทัต พรพิมล ตรีโชติ, 2538) 1.3 แนวคิดเรื่อง Islamic Humanitarian การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สาคัญตามหลักการศาสนาสาหรับ ชาวมุสลิม ในคัมภีร์อัลกรุอานและหลักคาสอนของท่านศาสดามีการกล่าวถึงการให้ความช่วยเหลือด้าน มนุษยธรรม มีการกาหนดและมีการสั่งเสียอยู่มากมาย ซึ่งนั้นเป็นทั้งสิ่งที่ควรปฏิบัติตามหลักการของ ศาสนา หรือจากสิ่งที่เป็นธรรมชาติ และรวมถึงการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ผู้ที่ไม่ใช่มุสลิม ด้วย (Jamal Krafess, 2005) 2. นโยบายต่างประเทศของตุรกี การดาเนินนโยบายต่างประเทศของตุรกีในปัจจุบันแตกต่างจากการดาเนินนโยบายต่างประเทศ ในอดีตที่มีความพยายามจะเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของสมาชิกสหภาพยุโรป อเนก เหล่าธรรมทัศน์ (2554) ได้เคยกล่าวถึงการดาเนินนโยบายต่างประเทศของตุรกีในหนังสือบูรพาภิวัฒน์ ภูมิ-รัฐศาสตร์และ เศรษฐกิจใหม่ว่า ตุรกีบัดนี้ดูจะหันหลังให้ตะวันตกเสียแล้ว หันหน้าไปสู่ตะวันออกแทน เชื่อมเข้ากับ รัสเซีย ตะวันออกกลาง และคาบสมุทรบอลข่าน (Balkans) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผูกมิตรและทาการค้ากับ ซีเรีย ซาอุดีอาระเบีย อิหร่าน และเลบานอน
  • 14. 7 นโยบายต่างประเทศของตุรกีต่อภูมิภาคอาเซียน คือ ตุรกีมีลักษณะการดาเนินนโยบาย ต่างประเทศแบบ 360 องศา ให้ความสาคัญกับทุกภูมิภาค และมุ่งไปทุกทิศทางในส่วนภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ตุรกีทา Treaty and Amity Cooperation กับอาเซียน (ASEAN TAC) และต้องการจะ ยกฐานะเป็น Dialogue Partner ของอาเซียน (สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงอังการา, 2557: ออนไลน์) 3. ประเทศมุสลิมที่ชาวไทยมุสลิมนิยมไปศึกษา จรัญ มะลูลีม (2538) กล่าวว่า ประเทศมุสลิมและสถาบันการศึกษาที่ชาวไทยมุสลิมนิยมไป ศึกษา มีความสาคัญลดหลั่นกันไป มีประเทศที่ถูกถือว่ามีความสาคัญสูงสุด ซึ่งลาดับความสาคัญได้คือ ซาอุดีอารเบีย เพราะเป็นกาเนิดของศาสนาอิสลามและศาสดามุฮัมหมัดก็ถือกาเนิดที่นี้ มีมหาวิทยาลัย ตามเมืองต่างๆหลายแห่ง ต่อมาคือ อียิปต์ เพราะถือว่าการศึกษาด้านศาสนาดีที่สุด แหล่งการศึกษา ได้รับการยอมรับมากที่สุด ส่วนประเทศอื่นๆในตะวันออกกลางที่มีชาวไทยมุสลิมไปศึกษา ที่นับว่าสาคัญ คือ ประเทศอิรัก ซูดาน ลิเบีย ซีเรีย ตูนีเซีย อิหร่าน และตุรกี 4. ทุนการศึกษาของประเทศตุรกี ในหนังสือคู่มือนักศึกษาไทยในตุรกี (สมาคมนักเรียนไทยในตุรกี, 2556)ได้อธิบายเกี่ยวกับการ เดินทางไปศึกษาที่ประเทศตุรกีของนักศึกษาไทยและทุนการศึกษาที่สนับสนุนว่า นักเรียนไทยที่เข้ามา ศึกษาในตุรกีส่วนมากมักจะเป็นนักเรียนที่ได้รับทุนการศึกษา และศึกษากันอยู่ในสองระดับ คือ ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายและระดับอุดมศึกษา ซึ่งนักเรียนแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่มก็จะมาจากเจ้าของทุนที่ แตกต่างกันไป ซึ่งนั้นก็หมายความว่าแหล่งทุนสาหรับนักเรียนไทยเพื่อที่เข้ามาศึกษาต่อในประเทศตุรกี มีอยู่หลายทุนการศึกษาด้วยกัน อาจจะเป็นได้เป็น 5 แหล่งทุนการศึกษา ดังนี้ 1. ทุนรัฐบาลประเทศตุรกี 2. ทุนกรมการศาสนาประเทศตุรกี 3. ทุนจากองค์กรเอกชนประเทศตุรกี 4. ทุนจากมหาวิทยาลัยต่างๆในตุรกี 5. การเข้าสอบตรงโดยใช้ทุนตัวเอง นอกจากนี้ยังมีรายงานว่า รัฐบาลตุรกีได้มอบทุนการศึกษาระดับปริญญาตรีแก่นักศึกษาจากสี่ จังหวัดภาคใต้ผ่านมูลนิธิมิตรภาพไทย-ตุรกี ซึ่งมีสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เป็นองค์ประธานกิตติมศักดิ์ อีกด้วย (ไกรฤษษ์ นานา, 2552) เจ้าหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศที่ไปทาหน้าที่เป็นผู้ประสานงานที่ ศอ.บต. ระหว่าง พ.ศ. 2553- 2556 (นายมงคล สินสมบูรณ์) ได้ให้ข้อมูลว่า ทุนที่รัฐบาลตุรกีให้แก่นักเรียนและนักศึกษาไทย มุสลิมไปศึกษาต่อในสายสามัญและศาสนา มีจานวนรวมปีละประมาณ 20 ทุน เริ่มเป็นที่รับรู้และได้รับ
  • 15. 8 ความสนใจเพิ่มมากขึ้น แต่การรับรู้และความสนใจยังจากัดวงอยู่เฉพาะในโรงเรียนเอกชนของชาวตุรกี ซึ่งมีอยู่ 4 แห่งทั่วประเทศ โดยสาหรับในหมู่เยาวชนไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ข้อมูลยังไม่เป็น ที่แพร่หลายทั่วถึง และให้ข้อเสนอแนะว่าจาเป็นที่จะต้องเพิ่มการประชาสัมพันธ์ประเทศตุรกีให้เป็นที่รู้จัก มากขึ้น (นางสาวเนตรนภา คงศร, 2557) บทความเรื่อง “ตุรกีกับความช่วยเหลือเพื่อสันติภาพในพื้นที่ขัดแย้งสามจังหวัดชายแดนภาคใต้/ ปาตานี” โดยยาสมิน ซัตตาร์ (2558) กล่าวว่าในส่วนของภาครัฐมีการให้ความช่วยเหลือในด้านการให้ ทุนการศึกษามาศึกษาต่อยังประเทศตุรกีที่มีการคัดเลือกนักเรียนนักศึกษาจากในพื้นที่ (พื้นที่สาม จังหวัดชายแดนภาคใต้/ปาตานี) มาศึกษาต่อยังประเทศตุรกี (ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้: ออนไลน์) 6. ความช่วยเหลือขององค์กรพัฒนาเอกชนตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยาสมิน ซัตตาร์ (2558) กล่าวว่ามูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชน เสรีภาพ และการช่วยเหลือทางด้าน มนุษยธรรม หรือ อีฮาฮา ได้เข้ามาให้ความช่วยเหลือในด้านการศึกษา ซึ่งได้สนับสนุนในการสร้าง โรงเรียน 1 แห่ง ในพื้นที่อ.ยะหยิ่ง หรือ โรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยา โดยที่การสนับสนุนในครั้งนี้เป็น การช่วยเหลือที่ให้ทางโรงเรียนมีการดูแลบริหารการเรียนการศึกษา โดยคนในพื้นที่ ในบริเวณโรงเรียน ยังมีพื้นที่สาหรับหอพัก และส่วนที่กาลังพัฒนาพื้นที่ต่อไปเรื่อยๆ (ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้: ออนไลน์) 7. ความช่วยเหลือของประเทศอาหรับในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จากงานวิจัยเรื่อง องค์กรมุสลิมข้ามชาติกับความมั่นคงของมนุษย์: ศึกษากรณีองค์การ สงเคราะห์มุสลิมนานาชาติแห่งซาอุดีอาระเบียในประเทศไทย (นายฮาฟิส สาและ; 2550) ได้กล่าวถึง องค์กรให้ความช่วยเหลือจากประเทศซาอุดีอาระเบียที่เข้ามามีบทบาทในพื้นที่สามจังหวัดชายแดน ภาคใต้ไว้ว่า องค์การสงเคราะห์มุสลิมนานาชาติแห่งซาอุดีอาระเบีย หรือ IIROSA ถูกก่อตั้งเป็นองค์กร เอกชนด้านมนุษยธรรมขึ้นในปี ค.ศ.1978 และเริ่มเข้ามาในประเทศไทยเมื่อกลางปี 1987 จากนั้นได้ ขยายเครือข่ายการดาเนินงานไปยังพื้นที่ต่างๆเกือบทั่วภูมิภาคทั่วประเทศ โดยได้จัดตั้งสานักงานย่อย ในส่วนของภาคใต้ที่จังหวัดยะลา IIROSA ยังมีเครือข่ายการดาเนินงานอยู่ทั่วเกือบทั่วภูมิภาค เช่น มูลนิธิสงเคราะห์เด็กกาพร้าและการกุศล จังหวัดยะลา แต่ทั้งนี้จุดเปลี่ยนของ IIROSA เกิดขึ้นหลังจากเหตุการณ์ 9/11 ที่สหรัฐอเมริกาประกาศใช้ นโยบายต่อต้านการก่อการร้าย และตั้งข้อสงสัยต่อการดาเนินการขององค์กรการกุศลในโลกมุสลิมว่ามี ส่วนเกี่ยวข้องกับการให้เงินสนับสนุนกลุ่มก่อการร้าย ซึ่งรวมถึง IIROSA ด้วย ทาให้หลังจากนั้นการ ดาเนินงานของ IIROSA ไม่มีความคล่องตัวและส่งผลกระทบต่อการให้ความช่วยเหลือต่อองค์กรในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้
  • 16. 9 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับบทบาทของประเทศตุรกีในการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน การพัฒนาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2. เข้าใจถึงมุมมองของคนในพื้นที่ต่อบทบาทการเข้ามาของประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ 3. สามารถเปรียบเทียบบทบาทการให้ความช่วยเหลือของประเทศตุรกีกับประเทศอาหรับอื่นๆ ที่มีอยู่ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 4. สามารถสรุป วิเคราะห์ องค์ความรู้ใหม่ และแนวโน้มเกี่ยวกับบทบาทของประเทศตุรกีต่อ พื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้
  • 17. 10 บทที่ 2 บทบาทของตุรกีในการให้การสนับสนุนพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผ่านการช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์ การศึกษา และเด็กกาพร้า 1.1 รูปแบบการให้ความช่วยเหลือ จากการวิจัยพบว่าการเข้ามาของประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้จะเข้ามาใน ลักษณะของการให้ความช่วยด้านมนุษยธรรมเป็นหลัก โดยสามารถแบ่งรูปแบบการให้ความช่วยเหลือ และการให้การสนับสนุนของประเทศตุรกีต่อพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ออกเป็น 6 รูปแบบ คือ 1. การสร้างอาคารที่พักให้เด็กกาพร้า และสร้างมัสยิด 2. การให้ความช่วยเหลือเรื่องการทากรุบาน 3. การให้ถุงยังชีพแก่ผู้ยากจน และการเลี้ยงละศีลอดในเดือนรอมฎอน 4. การสนับสนุนทุนการศึกษาในพื้นที่ และการศึกษาต่อที่ประเทศตุรกี 5. การจัดรถรับส่งเด็กกาพร้าเพื่อเดินทางไปโรงเรียน 6. การให้ความช่วยเหลืองบสนับสนุนการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์จัดแสดงเรื่องราวด้านวัฒนธรรม โดยรูปแบบของการให้ความช่วยเหลือและการสนับสนุนทั้งหมดนั้นมีความแตกต่างกันตาม ลักษณะการดาเนินงานขององค์กรจากประเทศตุรกีที่เข้ามาให้ความช่วยเหลือแต่ละองค์กร และบริบท ขององค์กรในพื้นที่ที่ได้รับความช่วยเหลือ 1.2 องค์กรจากประเทศตุรกีที่มีบทบาทในพื้นที่ จากการวิจัยเบื้องต้นพบว่าองค์กรของตุรกีที่เข้ามามีบทบาทในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ นั้นแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือองค์กรพัฒนาเอกชนจากตุรกี และส่วนที่สองคือความช่วยเหลือจาก หน่วยงานรัฐบาลตุรกี 1.2.1 การให้ความช่วยเหลือโดยองค์กรพัฒนาเอกชนจากตุรกี องค์กรพัฒนาเอกชนจากตุรกีที่เข้ามาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีหลายองค์กร บางองค์กรเข้ามาให้ความช่วยเหลือ บางองค์กรเป็นองค์กรที่ให้ความช่วยเหลือในระดับระหว่าง ประเทศ มีการดาเนินงานในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้มาเป็นระยะเวลานาน มีความ ต่อเนื่อง และทางานร่วมมือกับองค์กรในพื้นที่หลายพื้นที่ ในขณะที่บางองค์กรเข้ามาให้ความ ช่วยเหลือเพียงระยะเวลาสั้นๆ และลักษณะการให้ความช่วยเหลือของแต่ละองค์กรต่อพื้นที่ก็มี ลักษณะที่แตกต่างกันไป 1.2.1.1 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชน เสรีภาพ และการช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม (INSANI YARDIM VAKFI หรือ The IHH Humanitarian Relief Foundation - iHH) เป็นมูลนิธิ จากประเทศตุรกีที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมในพื้นที่ความขัดแย้ง และ
  • 18. 11 พื้นที่ที่ต้องการการพัฒนาทั่วโลก ปัจจุบันให้ความช่วยเหลือแล้ว 5 ทวีป 136 ประเทศ ลักษณะ เป็นองค์กรกลางที่ทาหน้าที่ประสานงานระหว่างผู้ให้ทุนและผู้ได้รับทุนช่วยเหลือ มูลนิธิ iHH เข้ามาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ใน ค.ศ. 2005 บทบาทการ ดาเนินงานขององค์กรในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นลักษณะของการสนับสนุน งบประมาณในการก่อสร้างอาคารที่พักให้แก่เด็กกาพร้า ค่าครองชีพในแต่ละวันของเด็กกาพร้า ทุนการศึกษาของเด็กกาพร้าที่มีรายชื่ออยู่ในการดูแลในทุกระดับจนกว่าเด็กคนนั้นจะไม่ต้องการ ศึกษาต่อ โดยที่ทุนการศึกษาทั้งหมด เป็นทุนให้เปล่า ไม่มีผลผูกมัดใดๆทั้งสิ้น นอกจากนี้ยังให้ การสนับสนุนรถรับส่งนักเรียนกาพร้าเพื่อเดินทางไปโรงเรียน การให้งบสนับสนุนซื้อวัวสาหรับ ทากรุบาน การให้ถุงยังชีพแก่ผู้ยากจน และการเลี้ยงละศีลอดในเดือนรอมฎอน โดยมีพื้นที่ที่ มูลนิธิ iHH ให้การช่วยเหลือดูแลทั้งสิ้น 2 อาเภอในจังหวัดนราธิวาส 3 อาเภอในจังหวัดปัตตานี และมีแนวโน้นการให้ความช่วยเหลืออีก 1 อาเภอ ในจังหวัดยะลาในอีกไม่นาน (ข้อมูลจาก ผู้อานวยการสถานที่เลี้ยงเด็กกาพร้าเมอสรา) มูลนิธิ iHH ถือเป็นมูลนิธิที่มีบทบาท และมอบงบประมาณช่วยเหลือองค์กรในพื้นที่สาม จังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อพัฒนาด้านการศึกษาและงานช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมมากที่สุด องค์กรหนึ่ง รูปภาพที่ 1 ป้ายของมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชน เสรีภาพ และการช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม ในสถาบันศึกษานูรุลญีนาน 1.2.1.2 Hasaner Foundation เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนตุรกีที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนี 1.2.1.3 IGMG (Islamische Gemeinschaft Milli Goius) องค์กรพัฒนาเอกชนที่เข้ามา เป็นระยะเวลาสั้นๆ และมิได้ต่อเนื่อง มักเข้ามาให้ความช่วยเหลือในเรื่องของการทากรุบาน 1.2.1.4 WAFA (Weltweiter Einsatz for Arme) องค์กรพัฒนาเอกชนที่เข้ามาเป็น ระยะเวลาสั้นๆ และมิได้ต่อเนื่อง มักเข้ามาให้ความช่วยเหลือในเรื่องของการทากรุบาน
  • 19. 12 1.2.1.5 CARE เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนที่ดาเนินงานในประเด็นเชิงศาสนามากที่สุดใน บรรดาองค์กรพัฒนาเอกชนของตุรกีที่เข้ามาในพื้นที่สามจังหวัด รูปแบบของการดาเนินงาน อาทิเช่น การฝึกให้เด็กท่องจาอัลกรุอาน การให้ความสาคัญกับคาแปลในแต่ละประโยคของอัล กรุอาน เป็นต้น แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นบทบาทของ CARE ก็ยังคงน้อยมากเมื่อเทียบกับองค์กรพัฒนา เอกชนอื่นๆที่มีบทบาทอยู่ในพื้นที่ 1.2.1.6 DNEZ เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนจากตุรกีที่เพิ่งเข้ามาดาเนินงานในพื้นที่สาม จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้ไม่นาน ทางานประเด็นเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือเรื่องกรุบานเป็น หลัก 1.1.2 การให้ความช่วยเหลือโดยองค์กรภายใต้หน่วยงานของรัฐบาลตุรกี หน่วยงานของรัฐบาล หรือองค์กรที่ให้ความช่วยเหลือภายใต้หน่วยงานของรัฐบาล ซึ่งมี บทบาทต่อเยาวชนในพื้นที่ และมีบทบาทอยู่ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ปัจจุบันประกอบไป ด้วยหน่วยงานดังนี้ 1.1.2.1 สถานทูตตุรกีประจาประเทศไทย โดยการสนับสนุนทุนการศึกษาให้เยาวชนใน พื้นที่ไปศึกษาต่อ ณ ประเทศตุรกี ในระดับต่างๆ ทั้งที่เป็นทุนการศึกษาจากรัฐบาลของประเทศ ตุรกีโดยตรง และทุนการศึกษาจากภาคส่วนอื่นๆด้วย โดยการดาเนินการสมัครขอทุนการศึกษา ผ่านทางสถานทูตตุรกีประจาประเทศไทย 1.1.2.2 องค์กรดียานัต เป็นองค์กรภายใต้กระทรวงการศาสนาประเทศตุรกี การเข้ามา ให้ความช่วยเหลือในประเทศไทยจึงเป็นการประสานงานผ่านสถานทูต บทบาทขององค์กร ดียานัตในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นลักษณะของการสนับสนุนงบประมาณในการ ก่อสร้างอาคารเรียน สร้างมัสยิด การเลี้ยงอาหารละศีลอดในเดือนรอมฎอน การให้ความ ช่วยเหลือเรื่องการทากรุบาน และการให้ทุนการศึกษาแก่เยาวชนในพื้นที่เพื่อศึกษาต่อระดับ มัธยมปลายที่ประเทศตุรกี 1.1.2.3 องค์กร TIKA (Turkey International Koperation and Development Agency) เป็นองค์กรให้ความช่วยเหลือระหว่างประเทศภายใต้หน่วยงานของรัฐบาล เริ่มเข้ามามีบทบาท ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้ไม่นาน โดยการให้ความช่วยเหลือจะเป็นในลักษณะของ การสานต่องานจากองค์กรพัฒนาเอกชนของตุรกีที่ได้ดาเนินอยู่แล้วในพื้นที่ เช่น การสานต่อ โครงการก่อสร้างหอพักเด็กกาพร้าโรงเรียนฟุรกอน อ.สุไหง-โกลก จ.นราธิวาส จากที่ก่อนหน้า นั้นผู้รับผิดชอบโครงการ คือ องค์กร iHH และบทบาทที่สาคัญในพื้นที่ที่เพิ่งเริ่มดาเนินงาน คือ การสนับสนุนการก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์เพื่อแสดงโบราณวัตถุทางวัฒนธรรม ในจังหวัด นราธิวาส ซึ่งยังไม่แล้วเสร็จ แต่ถือเป็นนิมิตหมายของบทบาทรูปแบบการดาเนินงานใหม่ๆของ องค์กรจากตุรกีต่อพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้นอกเหนือไปจากการให้ความช่วยเหลือเรื่อง มนุษยธรรมเท่านั้น
  • 20. 13 1.3 องค์กรในพื้นที่ที่ได้รับความช่วยเหลือจากตุรกีโดยตรง ความช่วยเหลือและการให้การสนับสนุนของประเทศตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ใน รูปแบบต่างๆนั้น ได้ดาเนินงานประสานผ่านมูลนิธิในพื้นที่ที่สาคัญ 2 มูลนิธิ โดยลักษณะการให้ความ ช่วยเหลือผ่านทั้งสองมูลนิธิมีลักษณะที่แตกต่างกันไป 1.2.1 มูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจน (The Foundation for the relief of Orphans and Needy) มูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจน หรือที่รู้จักกันในนามของโรงเรียนบูรณา การศึกษาวิทยา อ.ยะหริ่ง เป็นองค์กรแรกในพื้นที่ที่ได้รับความช่วยเหลือและการสนับสนุนจากประเทศ ตุรกี โดยมูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจนได้เริ่มทางานร่วมกันกับ มูลนิธิเพื่อสิทธิ มนุษยชน เสรีภาพ และการช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม (INSANI YARDIM VAKFI หรือ The IHH Humanitarian Relief Foundation - iHH) นับตั้งแต่ ค.ศ.2005 ในลักษณะของการทาบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding – MOU) ในขณะนั้นการทางานร่วมกันของทั้งสององค์กรเป็น ลักษณะของการให้ความช่วยเหลือแก่มุสลิมทั่วประเทศไทย ทั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จังหวัด เชียงใหม่ และจังหวัดชายแดนภาคใต้ ต่อมาใน ค.ศ.2011 มูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจนจึงเริ่มมีโครงการสร้าง หอพักให้กับเด็กกาพร้าในพื้นที่อาเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี และใน ค.ศ.2012 มูลนิธิก็ได้เปิด สถานศึกษาคือโรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยาขึ้นในบริเวณเดียวกัน มีพื้นที่จานวน 11 ไร่ 1 งาน 43 ตารางวา การสร้างอาคารที่พักให้กับเด็กกาพร้า เนื่องจากมูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจนมีการดาเนินงานเปิดสถานศึกษาใน บริเวณเดียวกัน อาคารที่พักของมูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจนจึงมีลักษณะเป็น หอพักของโรงเรียน แบ่งอาคารที่พักเป็น 2 ส่วน คือ หอพักสาหรับเด็กกาพร้า (หรือเรียกว่านักเรียนทุน) กับหอพักสาหรับเด็กนักเรียนทั่วไป
  • 21. 14 รูปภาพที่ 2 มัสยิดในพื้นที่โรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยา อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี ความช่วยเหลือด้านการศึกษา โรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยา ก่อตั้งขึ้นใน ค.ศ.2012 โดยเริ่มแรกได้รับการสนับสนุน งบประมาณการก่อสร้างและการดาเนินงานจากมูลนิธิ iHH ของตุรกี และการให้ความช่วยเหลือจะจากัด เฉพาะนักเรียนที่เป็นเด็กกาพร้า ต่อมาโรงเรียนก็เปิดรับนักเรียนทั้งที่เป็นนักเรียนกาพร้า และนักเรียน ทั่วไป ปัจจุบันมีนักเรียนที่ได้รับทุนการศึกษา (นักเรียนที่เป็นเด็กกาพร้า) จานวน 104 คน และนักเรียน ทั่วไปจานวน 150 คน ระดับชั้น ชาย หญิง รวม มัธยมศึกษาปีที่ 1 62 36 98 มัธยมศึกษาปีที่ 2 31 17 48 มัธยมศึกษาปีที่ 3 10 13 23 มัธยมศึกษาปีที่ 4 0 12 12 รวม 103 78 181 ตารางที่ 1 แสดงจานวนนักเรียนโรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยา (ตรุกี) (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ.2557 จาก องค์การบริหารส่วนตาบลปิยามุมัง) การเรียนการสอนของโรงเรียนใช้รูปแบบของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามควบคู่กับการ เรียนสายสามัญ โรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยาเป็นโรงเรียนที่มีหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นแบบ บูรณาการ เช่น การสอนวิชาคณิตศาสตร์หรือวิชาวิทยาศาสตร์โดยแทรกหลักคาสอนทางศาสนาอิสลาม เข้าไป และในการเรียนการสอนวิชาศาสนาอิสลามจะใช้ภาษาอังกฤษและภาษาอาหรับเป็นหลัก โดยใน ทุกๆปีองค์กรพัฒนาเอกชนจากตุรกีจะส่งตัวแทน 2 คน มาเป็นอาจารย์สอนให้กับเด็กในโรงเรียนนี้ นอกจากนี้ ใน ค.ศ. 2013 มูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจนก็ได้รับความ ช่วยเหลือจากองค์กรดียานะ ซึ่งเป็นองค์กรภายใต้กระทรวงศาสนาของตุรกี ในการสร้างอาคารเรียน
  • 22. 15 หลังใหม่ และสร้างมัสยิดในบริเวณเดียวกันเพื่อให้เด็กนักเรียนได้ใช้ประกอบศาสนกิจ และการให้ ทุนการศึกษาแก่เด็กนักเรียนที่จบมัธยม 3 ไปเรียนต่อระดับมัธยมปลายที่ประเทศตุรกี ผ่านการ ประสานงานจากสถานทูตตุรกี ซึ่งมีเด็กนักเรียนจากโรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยา ได้รับทุนดังกล่าวไป แล้ว จานวน 3 คน เป็นเด็กผู้ชาย 1 คน และเด็กผู้หญิง 2 คน นอกจากนี้โรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยา ยังทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการประสานงานเกี่ยวกับทุนการศึกษาดังกล่าวให้กับโรงเรียนอื่นๆในพื้นที่ ปัจจุบันโรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยาเป็นโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี โรงเรียนบูรณาการศึกษาวิทยาจึงได้รับงบประมาณการบริหารจัดการ โรงเรียนจากการสนับสนุนจากภาครัฐด้วย การให้การสนับสนุนขององค์กรจากประเทศตุรกีจึงเป็นแค่ทุน สนับสนุนบางส่วนเท่านั้น การให้ความช่วยเหลือเรื่องการทากรุบาน ใน ค.ศ.2005 มูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจนได้รับทุนเพื่อให้ความ ช่วยเหลือเรื่องการทากรุบานเฉพาะในพื้นที่จังหวัดปัตตานีจากมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชน เสรีภาพ และ การช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม (INSANI YARDIM VAKFI หรือ The IHH Humanitarian Relief Foundation) จานวน 20 ตัว ต่อมาใน ค.ศ.2013 ก็มีอีกสององค์กรที่เข้ามาให้ความช่วยเหลือเรื่องนี้ คือ องค์กรดียานัต และ องค์กร Hasaner Foundation ค.ศ. 2015 มูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจนได้รับทุนเพื่อซื้อวัวในการทากรุ บานและแจกจ่ายแก่ผู้ยากไร้ในพื้นที่ซึ่งรวมจากทั้งสามองค์กรแล้วสามารถซื้อวัวได้ทั้งหมด 252 ตัว รูปภาพที่ 3 แสดงให้เห็นถึงการเตรียมเชือดวัวกรุบานที่ได้รับจากองค์กร iHH (รูปภาพจากผู้อานวยการสถาบันการศึกษานูรุลญีนาน)
  • 23. 16 การให้ถุงยังชีพแก่ผู้ยากจน และการเลี้ยงละศีลอดในเดือนรอมฎอน เมื่อถึงเดือนรอมฎอน ตัวแทนจากองค์กรพัฒนาเอกชนของตุรกีที่มีบทบาทให้พื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้จะมีโครงการมาเยี่ยมเยียนเด็กกาพร้าในความดูแลและประชาชนในพื้นที่ใกล้เคียง จึงได้ มีการจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างองค์กรพัฒนาเอกชนของตุรกีในการมอบถุงยังชีพแก่ประชาชน โดยใน ถุงยังชีพจะประกอบไปด้วยของใช้ที่จาเป็นสาหรับชีวิตประจาวัน ราคาเบ็ดเสร็จประมาณ 500-700 บาท ต่อถุง กิจกรรมการเลี้ยงละศีลอดในเดือนรอมฎอนจะจัดเลี้ยงในบริเวณสนามหน้าอาคารหอพักของเด็ก กาพร้าในแต่ละพื้นที่ นอกจากจะเป็นการละศีลอดร่วมกันระหว่างตัวแทนจากองค์พัฒนาเอกชนจากตุรกี และเด็กกาพร้าที่ได้รับความช่วยเหลือแล้ว ก็ยังได้เชิญประชาชนในบริเวณข้างเคียงมาร่วมละศีลอดด้วย โดยจานวนผู้ร่วมละศีลอดขึ้นอยู่กับความจุของสนามที่ใช้จัดกิจกรรม ทั้งนี้งบประมาณสาหรับผู้ร่วมละศีล อดแต่ละคนราคาค่าอาหารตกประมาณ 100 บาท 1.2.2 มูลนิธิพัฒนาชุมชนเป็นสุข (Yayasan Membina Masyarakat Bahagia) มูลนิธิพัฒนาชุมชนเป็นสุขตั้งอยู่ที่อาเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ทาหน้าที่เป็นองค์กรกลางที่คอย ประสานงานให้ระหว่างองค์กรพัฒนาเอกชนจากตุรกีที่ต้องกรให้ความช่วยเหลือกับองค์กรในพื้นที่ที่ ทางานด้านเด็กกาพร้าและได้รับความช่วยเหลือ โดยการช่วยเหลือในทุกรูปแบบจะถูกประสานผ่าน มูลนิธิแห่งนี้ทั้งทุนช่วยเหลือด้านการศึกษา ทุนก่อสร้างอาคารเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้า ทุนสนับสนุน การซื้อวัวกรุบาน และอื่นๆ มูลนิธิจะเป็นผู้จัดสรรงบประมาณตามที่องค์กรแต่ละแห่งต้องการหรือที่ได้ตก ลงกับผู้ให้การสนับสนุน ในกรณีที่เป็นงบประมาณความช่วยเหลือเพื่อซื้อวัวทากรุบาน มูลนิธิก็จะแบ่งให้ ตามความเหมาะสมตามสภาพพื้นที่ของแต่ละองค์กร ปัจจุบันมีองค์กรจาก 5 พื้นที่ที่อยู่ภายใต้การ ประสานงานของมูลนิธิพัฒนาชุมชนเป็นสุข ประกอบไปด้วย องค์กรจากพื้นที่อาเภอตากใบ และอาเภอสุ ไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส องค์กรจากพื้นที่อาเภอสายบุรี และอาเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี และ องค์กรจากพื้นที่อาเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา การสร้างอาคารที่พักให้กับเด็กกาพร้า มูลนิธิพัฒนาชุมชนเป็นสุขได้รับทุนช่วยเหลือในการก่อสร้างอาคารเพื่อเป็นบ้านพักให้กับเด็ก กาพร้าโดยได้รับความช่วยเหลือด้านงบประมาณการก่อสร้างอาคารที่พักจากมูลนิธิ iHH ของตุรกี เงื่อนไขสาหรับการให้ความช่วยเหลือในการก่อสร้างอาคารหอพักเด็กกาพร้าคืองบประมาณที่มอบให้นั้น จะเป็นงบประมาณสาหรับการก่อสร้างเท่านั้น ไม่รวมที่ดินที่จะใช้จัดตั้ง องค์กรในพื้นที่ที่จะเป็นผู้จัดตั้ง อาคารหอพักต้องมีที่ดินอยู่แล้ว แล้วที่ดินนั้นต้องเป็นที่ดินที่บริจาคเพื่อการกุศลตามหลักกฎหมาย อิสลาม และมีใบรับรองจากคณะกรรมการอิสลามประจาจังหวัดแล้วเท่านั้น และค่าใช้จ่ายในการดูแล หอพักและค่าอาหารของเด็กกาพร้าทุกคนในหอพัก มูลนิธิ iHH เป็นผู้ดูแลทั้งหมด