SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ปัญหาอุทกภัย
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาวณิชา เขียวหงษ์ เลขที่ 12 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
น.ส.ณิชา เขียวหงษ์ เลขที่ 12 ม.6/6
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปัญหาอุทกภัย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
The disease from flood problem
ประเภทโครงงาน
เพื่อพัฒนาและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบจากอุทกภัยรวมไปถึง
วิธีการป้องกันโรคต่างๆที่อันเนื่องมาจากอุทกภัย โดยสามารถนาไปปรับ
ใช้เพื่อเป็นการป้องกันในชีวิตประจาวันได้
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวณิชา เขียวหงษ์
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน
ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และ
เหตุผล ของการทาโครงงาน)
ปัญหาอุทกภัยเป็นปัญหาทางธรรมชาติโดยมีหลายสาเหตุหลายปัจจัยที่
ทาให้เกิดปัญหาน้าท่วมไม่ว่าจะเป็นฝนตกหนักเป็นเวลานานหลายวัน
น้าท่วมขัง แหล่งกักเก็บน้าล้น ท่อระบายน้าระบายน้าไม่ทันฯ โดยปัญหา
อุทกภัยจึงก่อให้เกิดโรคต่างๆที่ถูกแพร่เข้ามาผ่านทางระบบต่างๆใน
ร่างกายและก่อให้เกิดโรคต่างๆซึ่งหากไม่รีบหาทางหรือวิธีป้องกันก็อาจ
นาไปสู่อันตรายต่อชีวิตได้
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาหาวิธีการป้องกันปัญหาอุทกภัย
2.เพื่อศึกษาหาทางป้องกันการเกิดโรคจากปัญหาอุทกภัย
3.เพื่อนาข้อมูลที่ได้ค้นคว้าไปจัดทาเป็นแผ่นพับต่างๆและเผยแพร่แก่คน
อื่นๆโดยมีจุดประสงค์ว่าเผยแพร่ข้อมูลให้ได้มากที่สุดและให้คนอื่นๆ
เข้าถึงข้อมูลที่ได้จัดทาได้อย่างง่ายและสะดวกมากที่สุด
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของ
การทาโครงงาน)
-สาเหตุของปัญหาอุทกภัย
-ผลกระทบของปัญหาน้าท่วม
-แนวทางการแก้ไขปัญหาอุทกภัย
- การป้องกันการเกิดโรคจากปัญหาอุทกภัย
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทา
โครงงาน)
ปัญหาอุทกภัย
อุทกภัย คือ ภัยและอันตรายทีเกิดจากสภาวะน้าท่วมหรือน้าท่วมฉับพลัน
หรืออันตรายเกิดจากสภาวะน้าไหลเอ่อล้นฝังแม่น้า ลาธาร หรือทางน้า
เนื่องจากมีน้าเป็นสาเหตุอาจเป็นน้าท่วม น้าป่าไหลหลากหรืออื่นๆ โดย
ปกติอุทกภัยเกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลานานทาให้ เกิดการ
สะสมน้าบนพื้นที่ซึ่งระบายออกไม่ทันทาให้ พื้นที่นั้นมีน้าท่วม ภัยร้ายที่
เกิดขึ้นโดยธรรมชาติและเป็นสิ่งที่ไม่สามารถควบคุมได้โดยเกิดจากฝน
ตกหนักต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน บางครั้งทาให้เกิดแผ่นดินถล่ม อาจมี
สาเหตุจากพายุหมุนเขตร้อนลมมรสุมมีกาลังแรง มีกาลังแรง ร่องความ
กดอากาศต่ามีกาลังแรง อากาศแปรปรวน น้าทะเลหนุนแผ่นดินไหว
เขื่อนพัง ทาให้เกิดอุทกภัยได้เสมอ ปัญหาอุทกภัยก่อให้เกิดโรคต่างๆใน
ร่างกายของเราไม่ว่าจะเป็น
 โรคน้ากัดเท้า : เกิดจากความเปียกและอับชื้นบริเวณเท้าและง่าม
นิ้วเท้า ซึ่งเป็นสาเหตุให้ผิวหนังบริเวณนั้นหลุดลอกออก ทาให้เชื้อ
โรคโดยเฉพาะอย่างยิ่งเชื้อราสามารถเข้าไปฝังตัวบริเวณนั้น ทา
ให้เกิดแผลผุพอง ผื่นคัน และสามารถอักเสบเป็นหนองได้ ทาให้
เกิดความเจ็บปวดทรมาน เดินได้ไม่สะดวก
 โรคฉี่หนู : โรคติดต่อประเภทหนึ่งโดยมีหนูเป็นพาหะ สามารถ
ติดต่อจากหนูสู่คนได้ผ่านทางปัสสาวะของหนู ไม่ว่าหนูนั้นจะฉี่ลง
น้าที่ท่วมขังหรือฉี่ลงไปในอาหารที่เรารับประทาน ภายหลังจาก
หนูฉี่ลงน้า เชื้อโรคนี้จะแพร่กระจายอยู่ในน้า และจะเข้าสู่ร่างกาย
เราผ่านทางแผลที่ผิวหนังที่สัมผัสน้านั้น
 โรคไข้เลือดออก : มีสาเหตุมาจากยุงลาย ซึ่งมักจะออกหากินเวลา
กลางวัน ผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว
คลื่นไส้อาเจียน อาการที่สังเกตได้ง่ายอย่างหนึ่งคือจะมีจุดเล็กๆ
ตามลาตัวและแขน ขา เมื่อมีอาการดังกล่าวอย่าซื้อยามา
รับประทานเอง ให้รีบไปพบแพทย์ทันที
 โรคปอดอักเสบ : เกิดขึ้นกับผู้ที่สาลักเอาน้าที่ไม่สะอาดเข้าไปใน
ระบบทางเดินหายใจ ทาให้เกิดอาการปอดอักเสบ ปอดติดเชื้อ
ผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูง ไอมาก หายใจหอบและเร็ว ผู้มีอาการนี้
ควรรีบไปพบแพทย์
 โรคตาแดง : เกิดจากการสัมผัสกับเชื้อไวรัสหรือเชื้อแบคทีเรีย ซึ่ง
มักจะเกิดจากการใช้มือหรือผ้าเช็คหน้าที่มีเชื้อเหล่านี้ไปสัมผัส
ดวงตา ผู้ป่วยจะมีอาการคันและเคืองตา บางรายอาจจะมีอาการ
ปวดดวงตา บวมแดง มีขี้ตามาก ร่วมด้วย
 โรคอหิวาตกโรค : เกิดจากเชื้อแบคทีเรียประเภท Vibrio
Cholerae มักเกิดจากการรับประทานอาหารที่ไม่สะอาด ซึ่งมี
แมลงวันเป็นพาหะ ทาให้เกิดอาการท้องร่วงอย่างรุนแรง มี
ลักษณะอุจจาระเหลวมาก ถ่ายบ่อยทั้งวัน อาการอาจจะหายไปเอง
ได้ แต่ถ้ามีอาการมากต้องรีบไปพบแพทย์โดยเร็ว
 ไข้ไทฟอยด์ : เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Salmonella Enterica
Serovar ซึ่งจะอยู่ในน้าดื่มและอาหารที่ไม่สะอาด มีเชื้อโรคปนอยู่
โดยจะเข้าไปฝังตัวในลาไส้และระบบขับถ่าย ผู้ป่วยจะมีไข้สูง
เหงื่อออกมาก กระเพาะและลาไส้อักเสบ มีอาการท้องเสียแบบไม่มี
เลือดปน ผู้ป่วยบางรายอาจจะหายได้เองใน 2-4 สัปดาห์ แต่ใน
รายที่มีอาการแทรกซ้อน เช่น เลือดออกทางเดินอาหาร ลาไส้ทะลุ
ไตวาย ช่องท้องอักเสบ อาจจะทาให้เสียชีวิตได้ ดังนั้นเมื่อมีอาการ
ไข้ไทฟอยด์ การไปพบแพทย์จึงเป็นสิ่งที่ดีที่สุด
 โรคเครียดวิตกกังวล : ผู้ประสบเหตุน้าท่วมย่อมมีอาการเครียดและ
วิตกกังวล อันเนื่องมาจากความเสียหายต่อทรัพย์สินที่เกิดขึ้น การ
ทามาหากินลาบาก ไปทางานหรือโรงเรียนไม่ได้ หาซื้อข้าวปลา
อาหารลาบาก ดังนั้นอาการเครียดและซึมเศร้าจึงมักจะเกิดขึ้นกับ
ผู้ประสบภัยทุกคน ความเครียดสามารถทาให้เกิดอาการข้างเคียง
ได้เช่น โรคกระเพาะอาหาร การทางานของหัวใจผิดปกติ ปวด
ศีรษะตลอดเวลา เบื่ออาหาร ดังนั้นเมื่อน้าท่วม ต้องบริหารจิตของ
ตนเองไม่ให้เครียดมากจนเกินไป หมั่นพูดคุยปรึกษาญาติพี่น้อง
มากขึ้น
โรคฉี่หนู เป็นโรคควรต้องระวังให้มากที่สุดหากมีปัญหาด้าน
อุทกภัยเนื่องจากโรคฉี่หนูหรือเรียกอีกอย่างว่าโรคเล็ปโตสไปโร
ซิส เป็นการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นได้ทั้งกับคนและ
สัตว์ การติดเชื้อในคนมีสาเหตุมาจากการสัมผัสดิน น้า อาหารที่
ปนเปื้อนปัสสาวะ เลือด หรือเนื้อเยื่อของของสัตว์ที่ติดเชื้อชนิดนี้
เช่น สุนัข วัว ควาย หนู สุกร ม้า สัตว์ป่า เป็นต้นโดยผู้ติดเชื้อจาก
โรคฉี่หนูจะสามารถแสดงอาการได้ตั้งแต่ 2-30 วันหลังได้รับเชื้อ
แต่ส่วนใหญ่มักแสดงอาการในช่วงประมาณ 7-14 วัน ซึ่งอาการ
ของโรคนี้อาจปรากฏตั้งแต่ไม่มีอาการเลย มีอาการขั้นอ่อนไป
จนถึงขั้นรุนแรงถึงชีวิต อาการของโรคฉี่หนูหากเป็นในระยะแรก
สามารถหายไปได้เองใน 5-7 วัน แต่มีผู้ป่วยราว 5-10 เปอร์เซ็นต์
ที่อาการเหมือนจะดีขึ้นและหายดี หลังจากนั้นประมาณ 1-3 วัน
กลับทรุดลง เนื่องจากมีการพัฒนาของโรคไปสู่โรคฉี่หนูแบบ
รุนแรง และยังสามารถส่งผลกระทบถึงอวัยวะต่าง ๆ เช่น สมอง
หัวใจ ตับ ไต หรือปอดได้เลยทีเดียว อาการของโรคชนิดรุนแรงที่
อาจเกิดขึ้นได้
การวินิจฉัยโรคฉี่หนู
การติดเชื้อโรคฉี่หนูที่ไม่รุนแรงอาจยากต่อการวินิจฉัย เนื่องจากมี
อาการคล้ายคลึงกับโรคอื่นๆ เช่น โรคหวัด ในขณะที่โรคฉี่หนู
ชนิดรุนแรงจะวินิจฉัยได้ง่ายกว่า เนื่องจากแสดงอาการรุนแรง
มากกว่าเริ่มแรกแพทย์จะตรวจร่างกายเบื้องต้นและซักถามประวัติ
ผู้ป่วย ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง เช่น เพิ่งกลับมาจากการเดินทาง เล่น
กีฬาทางน้า มีการสัมผัสกับแหล่งน้าจืด มีอาชีพที่ต้องทางานกับ
สัตว์ หรือเคยพักหรืออาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคฉี่หนู
ควรแจ้งข้อมูลเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
หากแพทย์พิจารณาแล้วว่ามีความเป็นไปได้ที่จะเป็นการติดเชื้อ
จากโรคฉี่หนู จึงอาจมีการส่งตรวจเลือดหรือตรวจปัสสาวะอย่างใด
อย่างหนึ่งหรือตรวจทั้งคู่ ส่วนกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการของโรคชนิด
รุนแรง อาจต้องใช้การวินิจฉัยวิธีอื่นร่วมด้วย เช่น การเอกซเรย์
ทรวงอก การตรวจเลือดเพื่อดูการทางานของตับและไตเพิ่มเติม
เป็นต้น
การรักษาโรคฉี่หนู
โดยมากโรคฉี่หนูมักไม่มีอาการรุนแรงและหายดีได้เอง หรืออาจ
รักษาด้วยยาปฏิชีวนะอย่างยาเพนิซิลลิน(Penicillin) หรือดอกซี
ไซคลิน(Doxycycline) เป็นระยะเวลา 5-7 วัน ซึ่งควรต้อง
รับประทานตามกาหนดให้ครบถ้วนแม้อาการจะดีขึ้นแล้วก็ตาม
เพื่อให้แน่ใจว่าเชื้อแบคทีเรียถูกกาจัดจนหมด และป้องกันการ
กลับไปติดเชื้ออีกครั้งนอกเหนือจากยาปฏิชีวนะ ผู้ป่วยอาจ
รับประทานยาแก้ปวดอย่างไอบูโพรเฟน(Ibuprofen) หรือพาราเซ
ตามอล (Paracetamol) เพื่อลดอาการปวดศีรษะ มีไข้ และปวด
กล้ามเนื้อได้เช่นกันในขณะที่ผู้ป่วยโรคฉี่หนูแบบรุนแรงจะต้อง
นอกพักที่โรงพยาบาล และรักษาอาการติดเชื้อด้วยการฉีดยา
ปฏิชีวนะเข้าไปในกระแสเลือดโดยตรง และหากมีอวัยวะใด ๆ ที่
เสียหายจากการติดเชื้อ ทาให้ไม่สามารถใช้หรือทาหน้าที่
ตามปกติได้ก็อาจจาเป็นต้องใช้เครื่องมือต่าง ๆ เข้าช่วย เช่น
ผู้ป่วยอาจต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ หรือหากติดเชื้อที่ไตทาให้ไต
เสียหายจนทางานไม่ได้ก็ต้องใช้การล้างไตเข้าช่วย เป็นต้น
ผู้ป่วยบางรายอาจออกจากโรงพยาบาลได้ภายในไม่กี่สัปดาห์ แต่
บางรายอาจต้องพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลเป็นเวลาหลายเดือน
ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับการตอบสนองต่อยาปฏิชีวนะของผู้ป่วย รวมถึง
ความเสียหายต่ออวัยวะที่ติดเชื้อส่วนหญิงตั้งครรภ์ยิ่งต้องระวังเป็น
พิเศษ เนื่องจากเชื้ออาจแพร่ไปสู่ทารกในครรภ์และส่งผลให้
เสียชีวิตได้ ดังนั้นหญิงตั้งครรภ์ที่มีอาการของโรคฉี่หนูจึงอาจต้อง
เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและเฝ้าดูอาการอย่างใกล้ชิด
การป้องกันโรคฉี่หนู
 ให้ความรู้เกี่ยวกับการติดต่อของโรคแก่ประชาชน โดยแนะนาให้
หลีกเลี่ยงการว่ายน้าหรือการเดินลุยในน้าที่อาจปนเปื้อนเชื้อ
ปัสสาวะจากสัตว์นาโรค หรือควรสวมใส่รองเท้าบู๊ตป้องกันทุกครั้ง
หากมีความจาเป็น
 หมั่นตรวจตราแหล่งน้าและดินทรายที่อาจมีเชื้อปนเปื้อน ควร
ระบายน้าตามท่อระบายออกแล้วล้างเพื่อกาจัดน้าที่ปนเปื้อน
 ส่งเสริมการป้องกันโรคแก่ผู้ที่ทาอาชีพที่มีความเสี่ยงทั้งหลาย โดย
ให้สวมถุงมือยางหรือรองเท้าบู๊ต
 ควบคุมและกาจัดหนูตามบริเวณที่อยู่อาศัย สถานที่ทางาน รวมถึง
สถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ โดยเฉพาะในพื้นที่ชนบท
 แยกสัตว์ที่ติดเชื้อออกจากสัตว์ชนิดอื่น ๆ และบริเวณที่อยู่อาศัย
เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
 ปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยงควรได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคฉี่หนู โดย
เลือกฉีดวัคซีนซีโรวาร์ (Serovars) สาหรับป้องกันเชื้อฉี่หนูชนิดที่
พบได้บ่อยตามท้องถิ่นนั้น ๆ ทั้งนี้การฉีดวัคซีนแม้จะสามารถ
ป้องกันโรคฉี่หนู แต่ไม่อาจป้องกันการติดเชื้อหรือแพร่เชื้อทาง
ปัสสาวะได้
 ปัจจุบันในบางประเทศมีวัคซีนโรคฉี่หนูสาหรับคน โดยใช้ฉีด
ป้องกันให้คนงานหรือผู้มีอาชีพเสี่ยงติดเชื้อ ได้แก่ประเทศฝรั่งเศส
เสปน อิตาลี จีน ญี่ปุ่น และอิสราเอล ส่วนในประเทศไทยยังไม่มี
วัคซีนสาหรับคน
ทฤษฎีการแก้ไขปัญหาน้าท่วม
ทฤษฏีการแก้ไขปัญหาน้าท่วมอันเนื่องมาจากพระราชดาริตามแนว
ทางการบริหารจัดการด้านน้าท่วมล้น วิธีการต่างๆ ที่พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว พระราชทานพระราชดาริในการแก้ไขปัญหาน้าท่วมคือ
1. การก่อสร้างคันกั้นน้า เพื่อป้องกันน้าท่วมซึ่งเป็นวิธีการดั้งเดิมแต่ครั้ง
โบราณโดยการก่อสร้างคันดินกั้นน้าขนาดที่เหมาะสมขนานไปตามลา
น้าห่างจากขอบตลิ่งพอสมควร เพื่อป้องกันมิให้น้าล้นตลิ่งไปท่วมใน
พื้นที่ต่างๆ ด้านใน
2. การก่อสร้างทางผันน้า เพื่อผันน้าทั้งหมดหรือบางส่วนที่ล้นตลิ่งท่วม
ท้นให้ออกไป โดยการก่อสร้างทางผันน้าหรือขุดคลองสายใหม่เชื่อมต่อ
กับลาน้าที่มีปัญหาน้า ท่วมโดยให้น้าไหลไปตามทางผันน้าที่ขุดขึ้นใหม่
ไปลงลาน้าสายอื่น หรือระบายออกสู่ทะเลตามความเหมาะสม
3. การปรับปรุงและตกแต่งสภาพลาน้า เพื่อให้น้าที่ท่วมทะลักสามารถ
ไหลไปตามลาน้าได้สะดวกหรือช่วยให้กระแสน้าไหล เร็วยิ่งขึ้น อันเป็น
การบรรเทาความเสียหายจากน้าท่วมขังได้ โดยใช้วิธีการดังนี้
– ขุดลอกลาน้าตื้นเขินให้น้าไหลสะดวกขึ้น
– ตกแต่งดินตามลาดตลิ่งให้เรียบมิให้เป็นอุปสรรคต่อทางเดินของน้า
– กาจัดวัชพืช ผักตบชวา และรื้อทาลายสิ่งกีดขวางทางน้าไหลให้
ออกไปจนหมดสิ้น
– หากลาน้าคดโค้งมาก ให้หาแนวทางขุดคลองใหม่เป็นลาน้าสายตรง
ให้น้าไหลสะดวก
4. การก่อสร้างเขื่อนเก็บกักน้าเป็นมาตรการป้องกันน้าท่วมที่สาคัญ
ประการหนึ่งในการกักเก็บน้าที่ไหลท่วมล้นในฤดูน้าหลาก โดยเก็บไว้
ทางด้านเหนือเขื่อนในลักษณะอ่างเก็บน้า
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน:
1.หาข้อมูลเกี่ยวกับปัญหานี้
2.ศึกษารวบรวมข้อมูล
3.จัดหารายงาน
4.นาเสนองาน
5.นาเสนอครู ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-หนังสือที่เกี่ยวกับปัญหาด้านสุขภาพที่เกิดจากปัญหาน้าท่วม
-วารสาร แผ่นพับรวมไปถึงข้อมูลต่างๆจากทั้งทางอนามัย โรงพยาบาลฯ
-สามารถสอบถามอาการจากผู้ที่เคยเป็นโรคนี้ซึ่งจะทาให้เราได้ข้อมูล
ได้แท้แน่นอน
งบประมาณ
ไม่เกิน 1000 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลา
ดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด
ชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทา
เอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทา
โครงงาน)
ผู้จัดทาจะได้เล็งเห็นปัญหานี้ ได้มีความรู้เกี่ยวกับข้อมูลต่างๆมากขึ้น
ทาให้สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้และสามารถนาไปเผยแพร่
วิธีการป้องกันให้กับผู้อื่นเพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นต่อๆไปได้
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทา
โครงงาน)
 https://krupenka.wordpress.com/2013/01/24/%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%
8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%
B8%81%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%A2/
 https://guru.sanook.com/8507/
 https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%89%
E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B9

More Related Content

What's hot

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม (1)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม (1)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม (1)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม (1)tthanch chai
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็มNichaphat Sanguthai
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์Pack Matapong
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกFrench Natthawut
 

What's hot (13)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม (1)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม (1)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม (1)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม (1)
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
 
Stray dog
Stray dogStray dog
Stray dog
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
W.11
W.11W.11
W.11
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
 

Similar to AT1AT1

Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอมiamauummm
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์barbeesati
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Ffim Radchasan
 
2562 final-project 14
2562 final-project 142562 final-project 14
2562 final-project 14ssuser72ad1c1
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn SathapornTaboo
 

Similar to AT1AT1 (20)

Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
Com555
Com555Com555
Com555
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 14
2562 final-project 142562 final-project 14
2562 final-project 14
 
2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
2562 final-project 14......
2562 final-project 14......2562 final-project 14......
2562 final-project 14......
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 14
2562 final-project 142562 final-project 14
2562 final-project 14
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 

AT1AT1

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ปัญหาอุทกภัย ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาวณิชา เขียวหงษ์ เลขที่ 12 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
  • 2. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม น.ส.ณิชา เขียวหงษ์ เลขที่ 12 ม.6/6 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปัญหาอุทกภัย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) The disease from flood problem ประเภทโครงงาน เพื่อพัฒนาและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบจากอุทกภัยรวมไปถึง วิธีการป้องกันโรคต่างๆที่อันเนื่องมาจากอุทกภัย โดยสามารถนาไปปรับ ใช้เพื่อเป็นการป้องกันในชีวิตประจาวันได้ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณิชา เขียวหงษ์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
  • 3. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และ เหตุผล ของการทาโครงงาน) ปัญหาอุทกภัยเป็นปัญหาทางธรรมชาติโดยมีหลายสาเหตุหลายปัจจัยที่ ทาให้เกิดปัญหาน้าท่วมไม่ว่าจะเป็นฝนตกหนักเป็นเวลานานหลายวัน น้าท่วมขัง แหล่งกักเก็บน้าล้น ท่อระบายน้าระบายน้าไม่ทันฯ โดยปัญหา อุทกภัยจึงก่อให้เกิดโรคต่างๆที่ถูกแพร่เข้ามาผ่านทางระบบต่างๆใน ร่างกายและก่อให้เกิดโรคต่างๆซึ่งหากไม่รีบหาทางหรือวิธีป้องกันก็อาจ นาไปสู่อันตรายต่อชีวิตได้ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาหาวิธีการป้องกันปัญหาอุทกภัย 2.เพื่อศึกษาหาทางป้องกันการเกิดโรคจากปัญหาอุทกภัย 3.เพื่อนาข้อมูลที่ได้ค้นคว้าไปจัดทาเป็นแผ่นพับต่างๆและเผยแพร่แก่คน อื่นๆโดยมีจุดประสงค์ว่าเผยแพร่ข้อมูลให้ได้มากที่สุดและให้คนอื่นๆ เข้าถึงข้อมูลที่ได้จัดทาได้อย่างง่ายและสะดวกมากที่สุด ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของ การทาโครงงาน) -สาเหตุของปัญหาอุทกภัย -ผลกระทบของปัญหาน้าท่วม -แนวทางการแก้ไขปัญหาอุทกภัย - การป้องกันการเกิดโรคจากปัญหาอุทกภัย หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทา โครงงาน)
  • 4. ปัญหาอุทกภัย อุทกภัย คือ ภัยและอันตรายทีเกิดจากสภาวะน้าท่วมหรือน้าท่วมฉับพลัน หรืออันตรายเกิดจากสภาวะน้าไหลเอ่อล้นฝังแม่น้า ลาธาร หรือทางน้า เนื่องจากมีน้าเป็นสาเหตุอาจเป็นน้าท่วม น้าป่าไหลหลากหรืออื่นๆ โดย ปกติอุทกภัยเกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลานานทาให้ เกิดการ สะสมน้าบนพื้นที่ซึ่งระบายออกไม่ทันทาให้ พื้นที่นั้นมีน้าท่วม ภัยร้ายที่ เกิดขึ้นโดยธรรมชาติและเป็นสิ่งที่ไม่สามารถควบคุมได้โดยเกิดจากฝน ตกหนักต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน บางครั้งทาให้เกิดแผ่นดินถล่ม อาจมี สาเหตุจากพายุหมุนเขตร้อนลมมรสุมมีกาลังแรง มีกาลังแรง ร่องความ กดอากาศต่ามีกาลังแรง อากาศแปรปรวน น้าทะเลหนุนแผ่นดินไหว เขื่อนพัง ทาให้เกิดอุทกภัยได้เสมอ ปัญหาอุทกภัยก่อให้เกิดโรคต่างๆใน ร่างกายของเราไม่ว่าจะเป็น  โรคน้ากัดเท้า : เกิดจากความเปียกและอับชื้นบริเวณเท้าและง่าม นิ้วเท้า ซึ่งเป็นสาเหตุให้ผิวหนังบริเวณนั้นหลุดลอกออก ทาให้เชื้อ โรคโดยเฉพาะอย่างยิ่งเชื้อราสามารถเข้าไปฝังตัวบริเวณนั้น ทา ให้เกิดแผลผุพอง ผื่นคัน และสามารถอักเสบเป็นหนองได้ ทาให้ เกิดความเจ็บปวดทรมาน เดินได้ไม่สะดวก  โรคฉี่หนู : โรคติดต่อประเภทหนึ่งโดยมีหนูเป็นพาหะ สามารถ ติดต่อจากหนูสู่คนได้ผ่านทางปัสสาวะของหนู ไม่ว่าหนูนั้นจะฉี่ลง น้าที่ท่วมขังหรือฉี่ลงไปในอาหารที่เรารับประทาน ภายหลังจาก หนูฉี่ลงน้า เชื้อโรคนี้จะแพร่กระจายอยู่ในน้า และจะเข้าสู่ร่างกาย เราผ่านทางแผลที่ผิวหนังที่สัมผัสน้านั้น  โรคไข้เลือดออก : มีสาเหตุมาจากยุงลาย ซึ่งมักจะออกหากินเวลา กลางวัน ผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว คลื่นไส้อาเจียน อาการที่สังเกตได้ง่ายอย่างหนึ่งคือจะมีจุดเล็กๆ ตามลาตัวและแขน ขา เมื่อมีอาการดังกล่าวอย่าซื้อยามา รับประทานเอง ให้รีบไปพบแพทย์ทันที
  • 5.  โรคปอดอักเสบ : เกิดขึ้นกับผู้ที่สาลักเอาน้าที่ไม่สะอาดเข้าไปใน ระบบทางเดินหายใจ ทาให้เกิดอาการปอดอักเสบ ปอดติดเชื้อ ผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูง ไอมาก หายใจหอบและเร็ว ผู้มีอาการนี้ ควรรีบไปพบแพทย์  โรคตาแดง : เกิดจากการสัมผัสกับเชื้อไวรัสหรือเชื้อแบคทีเรีย ซึ่ง มักจะเกิดจากการใช้มือหรือผ้าเช็คหน้าที่มีเชื้อเหล่านี้ไปสัมผัส ดวงตา ผู้ป่วยจะมีอาการคันและเคืองตา บางรายอาจจะมีอาการ ปวดดวงตา บวมแดง มีขี้ตามาก ร่วมด้วย  โรคอหิวาตกโรค : เกิดจากเชื้อแบคทีเรียประเภท Vibrio Cholerae มักเกิดจากการรับประทานอาหารที่ไม่สะอาด ซึ่งมี แมลงวันเป็นพาหะ ทาให้เกิดอาการท้องร่วงอย่างรุนแรง มี ลักษณะอุจจาระเหลวมาก ถ่ายบ่อยทั้งวัน อาการอาจจะหายไปเอง ได้ แต่ถ้ามีอาการมากต้องรีบไปพบแพทย์โดยเร็ว  ไข้ไทฟอยด์ : เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Salmonella Enterica Serovar ซึ่งจะอยู่ในน้าดื่มและอาหารที่ไม่สะอาด มีเชื้อโรคปนอยู่ โดยจะเข้าไปฝังตัวในลาไส้และระบบขับถ่าย ผู้ป่วยจะมีไข้สูง เหงื่อออกมาก กระเพาะและลาไส้อักเสบ มีอาการท้องเสียแบบไม่มี เลือดปน ผู้ป่วยบางรายอาจจะหายได้เองใน 2-4 สัปดาห์ แต่ใน รายที่มีอาการแทรกซ้อน เช่น เลือดออกทางเดินอาหาร ลาไส้ทะลุ ไตวาย ช่องท้องอักเสบ อาจจะทาให้เสียชีวิตได้ ดังนั้นเมื่อมีอาการ ไข้ไทฟอยด์ การไปพบแพทย์จึงเป็นสิ่งที่ดีที่สุด  โรคเครียดวิตกกังวล : ผู้ประสบเหตุน้าท่วมย่อมมีอาการเครียดและ วิตกกังวล อันเนื่องมาจากความเสียหายต่อทรัพย์สินที่เกิดขึ้น การ ทามาหากินลาบาก ไปทางานหรือโรงเรียนไม่ได้ หาซื้อข้าวปลา อาหารลาบาก ดังนั้นอาการเครียดและซึมเศร้าจึงมักจะเกิดขึ้นกับ ผู้ประสบภัยทุกคน ความเครียดสามารถทาให้เกิดอาการข้างเคียง
  • 6. ได้เช่น โรคกระเพาะอาหาร การทางานของหัวใจผิดปกติ ปวด ศีรษะตลอดเวลา เบื่ออาหาร ดังนั้นเมื่อน้าท่วม ต้องบริหารจิตของ ตนเองไม่ให้เครียดมากจนเกินไป หมั่นพูดคุยปรึกษาญาติพี่น้อง มากขึ้น โรคฉี่หนู เป็นโรคควรต้องระวังให้มากที่สุดหากมีปัญหาด้าน อุทกภัยเนื่องจากโรคฉี่หนูหรือเรียกอีกอย่างว่าโรคเล็ปโตสไปโร ซิส เป็นการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นได้ทั้งกับคนและ สัตว์ การติดเชื้อในคนมีสาเหตุมาจากการสัมผัสดิน น้า อาหารที่ ปนเปื้อนปัสสาวะ เลือด หรือเนื้อเยื่อของของสัตว์ที่ติดเชื้อชนิดนี้ เช่น สุนัข วัว ควาย หนู สุกร ม้า สัตว์ป่า เป็นต้นโดยผู้ติดเชื้อจาก โรคฉี่หนูจะสามารถแสดงอาการได้ตั้งแต่ 2-30 วันหลังได้รับเชื้อ แต่ส่วนใหญ่มักแสดงอาการในช่วงประมาณ 7-14 วัน ซึ่งอาการ ของโรคนี้อาจปรากฏตั้งแต่ไม่มีอาการเลย มีอาการขั้นอ่อนไป จนถึงขั้นรุนแรงถึงชีวิต อาการของโรคฉี่หนูหากเป็นในระยะแรก สามารถหายไปได้เองใน 5-7 วัน แต่มีผู้ป่วยราว 5-10 เปอร์เซ็นต์ ที่อาการเหมือนจะดีขึ้นและหายดี หลังจากนั้นประมาณ 1-3 วัน กลับทรุดลง เนื่องจากมีการพัฒนาของโรคไปสู่โรคฉี่หนูแบบ รุนแรง และยังสามารถส่งผลกระทบถึงอวัยวะต่าง ๆ เช่น สมอง หัวใจ ตับ ไต หรือปอดได้เลยทีเดียว อาการของโรคชนิดรุนแรงที่ อาจเกิดขึ้นได้ การวินิจฉัยโรคฉี่หนู การติดเชื้อโรคฉี่หนูที่ไม่รุนแรงอาจยากต่อการวินิจฉัย เนื่องจากมี อาการคล้ายคลึงกับโรคอื่นๆ เช่น โรคหวัด ในขณะที่โรคฉี่หนู ชนิดรุนแรงจะวินิจฉัยได้ง่ายกว่า เนื่องจากแสดงอาการรุนแรง มากกว่าเริ่มแรกแพทย์จะตรวจร่างกายเบื้องต้นและซักถามประวัติ ผู้ป่วย ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง เช่น เพิ่งกลับมาจากการเดินทาง เล่น กีฬาทางน้า มีการสัมผัสกับแหล่งน้าจืด มีอาชีพที่ต้องทางานกับ สัตว์ หรือเคยพักหรืออาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคฉี่หนู ควรแจ้งข้อมูลเหล่านี้ให้แพทย์ทราบ
  • 7. หากแพทย์พิจารณาแล้วว่ามีความเป็นไปได้ที่จะเป็นการติดเชื้อ จากโรคฉี่หนู จึงอาจมีการส่งตรวจเลือดหรือตรวจปัสสาวะอย่างใด อย่างหนึ่งหรือตรวจทั้งคู่ ส่วนกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการของโรคชนิด รุนแรง อาจต้องใช้การวินิจฉัยวิธีอื่นร่วมด้วย เช่น การเอกซเรย์ ทรวงอก การตรวจเลือดเพื่อดูการทางานของตับและไตเพิ่มเติม เป็นต้น การรักษาโรคฉี่หนู โดยมากโรคฉี่หนูมักไม่มีอาการรุนแรงและหายดีได้เอง หรืออาจ รักษาด้วยยาปฏิชีวนะอย่างยาเพนิซิลลิน(Penicillin) หรือดอกซี ไซคลิน(Doxycycline) เป็นระยะเวลา 5-7 วัน ซึ่งควรต้อง รับประทานตามกาหนดให้ครบถ้วนแม้อาการจะดีขึ้นแล้วก็ตาม เพื่อให้แน่ใจว่าเชื้อแบคทีเรียถูกกาจัดจนหมด และป้องกันการ กลับไปติดเชื้ออีกครั้งนอกเหนือจากยาปฏิชีวนะ ผู้ป่วยอาจ รับประทานยาแก้ปวดอย่างไอบูโพรเฟน(Ibuprofen) หรือพาราเซ ตามอล (Paracetamol) เพื่อลดอาการปวดศีรษะ มีไข้ และปวด กล้ามเนื้อได้เช่นกันในขณะที่ผู้ป่วยโรคฉี่หนูแบบรุนแรงจะต้อง นอกพักที่โรงพยาบาล และรักษาอาการติดเชื้อด้วยการฉีดยา ปฏิชีวนะเข้าไปในกระแสเลือดโดยตรง และหากมีอวัยวะใด ๆ ที่ เสียหายจากการติดเชื้อ ทาให้ไม่สามารถใช้หรือทาหน้าที่ ตามปกติได้ก็อาจจาเป็นต้องใช้เครื่องมือต่าง ๆ เข้าช่วย เช่น ผู้ป่วยอาจต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ หรือหากติดเชื้อที่ไตทาให้ไต เสียหายจนทางานไม่ได้ก็ต้องใช้การล้างไตเข้าช่วย เป็นต้น ผู้ป่วยบางรายอาจออกจากโรงพยาบาลได้ภายในไม่กี่สัปดาห์ แต่ บางรายอาจต้องพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลเป็นเวลาหลายเดือน ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับการตอบสนองต่อยาปฏิชีวนะของผู้ป่วย รวมถึง ความเสียหายต่ออวัยวะที่ติดเชื้อส่วนหญิงตั้งครรภ์ยิ่งต้องระวังเป็น พิเศษ เนื่องจากเชื้ออาจแพร่ไปสู่ทารกในครรภ์และส่งผลให้ เสียชีวิตได้ ดังนั้นหญิงตั้งครรภ์ที่มีอาการของโรคฉี่หนูจึงอาจต้อง เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและเฝ้าดูอาการอย่างใกล้ชิด
  • 8. การป้องกันโรคฉี่หนู  ให้ความรู้เกี่ยวกับการติดต่อของโรคแก่ประชาชน โดยแนะนาให้ หลีกเลี่ยงการว่ายน้าหรือการเดินลุยในน้าที่อาจปนเปื้อนเชื้อ ปัสสาวะจากสัตว์นาโรค หรือควรสวมใส่รองเท้าบู๊ตป้องกันทุกครั้ง หากมีความจาเป็น  หมั่นตรวจตราแหล่งน้าและดินทรายที่อาจมีเชื้อปนเปื้อน ควร ระบายน้าตามท่อระบายออกแล้วล้างเพื่อกาจัดน้าที่ปนเปื้อน  ส่งเสริมการป้องกันโรคแก่ผู้ที่ทาอาชีพที่มีความเสี่ยงทั้งหลาย โดย ให้สวมถุงมือยางหรือรองเท้าบู๊ต  ควบคุมและกาจัดหนูตามบริเวณที่อยู่อาศัย สถานที่ทางาน รวมถึง สถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ โดยเฉพาะในพื้นที่ชนบท  แยกสัตว์ที่ติดเชื้อออกจากสัตว์ชนิดอื่น ๆ และบริเวณที่อยู่อาศัย เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค  ปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยงควรได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคฉี่หนู โดย เลือกฉีดวัคซีนซีโรวาร์ (Serovars) สาหรับป้องกันเชื้อฉี่หนูชนิดที่ พบได้บ่อยตามท้องถิ่นนั้น ๆ ทั้งนี้การฉีดวัคซีนแม้จะสามารถ ป้องกันโรคฉี่หนู แต่ไม่อาจป้องกันการติดเชื้อหรือแพร่เชื้อทาง ปัสสาวะได้  ปัจจุบันในบางประเทศมีวัคซีนโรคฉี่หนูสาหรับคน โดยใช้ฉีด ป้องกันให้คนงานหรือผู้มีอาชีพเสี่ยงติดเชื้อ ได้แก่ประเทศฝรั่งเศส เสปน อิตาลี จีน ญี่ปุ่น และอิสราเอล ส่วนในประเทศไทยยังไม่มี วัคซีนสาหรับคน
  • 9. ทฤษฎีการแก้ไขปัญหาน้าท่วม ทฤษฏีการแก้ไขปัญหาน้าท่วมอันเนื่องมาจากพระราชดาริตามแนว ทางการบริหารจัดการด้านน้าท่วมล้น วิธีการต่างๆ ที่พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว พระราชทานพระราชดาริในการแก้ไขปัญหาน้าท่วมคือ 1. การก่อสร้างคันกั้นน้า เพื่อป้องกันน้าท่วมซึ่งเป็นวิธีการดั้งเดิมแต่ครั้ง โบราณโดยการก่อสร้างคันดินกั้นน้าขนาดที่เหมาะสมขนานไปตามลา น้าห่างจากขอบตลิ่งพอสมควร เพื่อป้องกันมิให้น้าล้นตลิ่งไปท่วมใน พื้นที่ต่างๆ ด้านใน 2. การก่อสร้างทางผันน้า เพื่อผันน้าทั้งหมดหรือบางส่วนที่ล้นตลิ่งท่วม ท้นให้ออกไป โดยการก่อสร้างทางผันน้าหรือขุดคลองสายใหม่เชื่อมต่อ กับลาน้าที่มีปัญหาน้า ท่วมโดยให้น้าไหลไปตามทางผันน้าที่ขุดขึ้นใหม่ ไปลงลาน้าสายอื่น หรือระบายออกสู่ทะเลตามความเหมาะสม 3. การปรับปรุงและตกแต่งสภาพลาน้า เพื่อให้น้าที่ท่วมทะลักสามารถ ไหลไปตามลาน้าได้สะดวกหรือช่วยให้กระแสน้าไหล เร็วยิ่งขึ้น อันเป็น การบรรเทาความเสียหายจากน้าท่วมขังได้ โดยใช้วิธีการดังนี้ – ขุดลอกลาน้าตื้นเขินให้น้าไหลสะดวกขึ้น – ตกแต่งดินตามลาดตลิ่งให้เรียบมิให้เป็นอุปสรรคต่อทางเดินของน้า – กาจัดวัชพืช ผักตบชวา และรื้อทาลายสิ่งกีดขวางทางน้าไหลให้ ออกไปจนหมดสิ้น – หากลาน้าคดโค้งมาก ให้หาแนวทางขุดคลองใหม่เป็นลาน้าสายตรง ให้น้าไหลสะดวก 4. การก่อสร้างเขื่อนเก็บกักน้าเป็นมาตรการป้องกันน้าท่วมที่สาคัญ ประการหนึ่งในการกักเก็บน้าที่ไหลท่วมล้นในฤดูน้าหลาก โดยเก็บไว้ ทางด้านเหนือเขื่อนในลักษณะอ่างเก็บน้า
  • 10. วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน: 1.หาข้อมูลเกี่ยวกับปัญหานี้ 2.ศึกษารวบรวมข้อมูล 3.จัดหารายงาน 4.นาเสนองาน 5.นาเสนอครู ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเตอร์เน็ต -หนังสือที่เกี่ยวกับปัญหาด้านสุขภาพที่เกิดจากปัญหาน้าท่วม -วารสาร แผ่นพับรวมไปถึงข้อมูลต่างๆจากทั้งทางอนามัย โรงพยาบาลฯ -สามารถสอบถามอาการจากผู้ที่เคยเป็นโรคนี้ซึ่งจะทาให้เราได้ข้อมูล ได้แท้แน่นอน งบประมาณ ไม่เกิน 1000 บาท
  • 11. ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลา ดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทา เอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทา โครงงาน) ผู้จัดทาจะได้เล็งเห็นปัญหานี้ ได้มีความรู้เกี่ยวกับข้อมูลต่างๆมากขึ้น ทาให้สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้และสามารถนาไปเผยแพร่ วิธีการป้องกันให้กับผู้อื่นเพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นต่อๆไปได้ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
  • 12. แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทา โครงงาน)  https://krupenka.wordpress.com/2013/01/24/%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8% 8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0% B8%81%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%A2/  https://guru.sanook.com/8507/  https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%89% E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B9