SlideShare a Scribd company logo
กลุ่ม ไหน
สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
ธรรมวัฒน์ สกลพรรค 54215109
อภิสิทธ์ ถือมั่น 54215124
เรวัตร นิลมงคลเลิศ 54215126
ณัฐวัฒน์ ตั้งธิติพรพงศ์ 54215135
ณัฐวุฒิ ยิ่งอนันต์บวร 54215136
อรรถวัฒน์ ต่อศรีเจริญ 54215148
สิทธิรัตน์ จันทรสิริกำจร 54214843
บทที่ 1
สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคงของชาติ
กำรศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งแวดล้อมกับควำมมั่นคงของชำติเป็นเรื่องใหม่ที่เพิ่งจะมีกำรตื่
น ตั ว เ มื่ อ ป ล ำ ย ปี ท ศ ว ร ร ษ ที่ 1 9 7 0
หลังจำกนั้นมำควำมสนใจในปัญหำสิ่งแวดล้อมในฐำนะที่เป็นภัยอย่ำงใหม่ต่อควำมมั่นคงก็มีเพิ่มมำกขึ้น
คำจำกัดควำม “ควำมมั่นคงแห่งชำติ” ในประเทศตะวันตกโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในสหรัฐอเมริกำ
แต่เดิมนั้นให้ควำมสำคัญกับมิติทำงทหำร เช่น กำรเสริมสร้ำงกำลังทำงทหำรของชำติ
ขณะที่สงครำมเย็นคลำยควำมตึงเครียดลงในทศวรรษ 1970 คำจำกัดควำมควำมมั่นคงแห่งชำติ
สหรัฐอเมริกำก็เริ่มรวมเอำประเด็นปัญหำทำงเศรษฐกิจเข้ำไว้ในตำแหน่งที่สำคัญด้วย
“Our Common Future” รำยงำนของคณะกรรมำธิกำรโลกว่ำด้วยสิ่งแวดล้อมและกำรพัฒนำ
เ ป็ น แ น ว ค ว ำ ม คิ ด ที่ ไ ด้ รั บ ก ำ ร ต อ ก ย้ ำ อี ก ใ น ปี 1 9 8 7 โ ด ย
“ค ว ำ ม คิ ด ทั้ ง ห ม ด เ กี่ ย ว กั บ ค ว ำ ม มั่น ค ง ดั ง ที่ เ ข้ ำ ใจ กั น ม ำ เ ป็ น ป ร ะ เ พ ณี
ใน แ ง่ ข อ ง ก ำ ร คุ ก ค ำ ม อ ธิ ป ไต ย ข อ ง ช ำ ติ ท ำ ง ก ำ ร เ มื อ ง แ ล ะ ก ำ ร ท ห ำ ร
ต้องขยำยรวมไปถึงผลกระทบจำกควำมกดดันต่อสิ่งแวดล้อมที่ทวีขึ้น ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชำติ
ระดับภูมิภำคและระดับโลก ไม่มีหนทำงที่จะแก้ควำมไม่มั่นคงทำงสิ่งแวดล้อมด้วยกำรทหำร”
สิ่ง แ ว ด ล้อ ม ห ม ำย ถึง สภ ำพ โด ย ทั่ว ไป ข อ ง ระบ บ นิ เ ว ศ น์ ( ecosystem )
ซึ่งอำจแบ่งได้เป็นสี่ด้ำนใหญ่ๆ คือ ป่ำไม้ พื้นที่รำบ ชำยฝั่งทะเลและแหล่งน้ำ อำกำศ
กำรศึกษำคว ำมสัมพันธ์ระห ว่ำงสิ่ง แวดล้อมกับ ค วำมมั่นค งจึงเป็ นกำรศึกษำ
คว ำมขัดแย้ง (Conflict) ที่เกิดจำกกำรแย่ งชิงและใช้สอย ท รัพ ยำกรสิ่งแว ดล้อมต่ำง ๆ
ซึ่ ง ใ น ส ภ ำ ว ะ ข อ ง ก ำ ร มี ท รั พ ย ำ ก ร จ ำ กั ด ข ำ ด แ ค ล น
และมีสภำพเสื่อมโทรมลงเป็นสำเหตุหรือปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหำควำมขัดแย้งระหว่ำงกลุ่มชนด้วย
กัน และ/หรือระหว่ำงรัฐกับกลุ่มชน หรือแม้แต้ระหว่ำงรัฐต่อรัฐ โดยจะแบ่งกำรศึกษำออกเป็น 2 ระดับ
คือ ระดับนำนำชำติหรือระหว่ำงรัฐ ตั้งแต่ 2 รัฐขึ้นไปจนถึงปัญหำร่วมกันระดับโลก (Global)
กับระดับชำติหรือภำยในประเทศ
ใ น ปั จ จุ บั น ก ำ ร ศึ ก ษ ำ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม กั บ ค ว ำ ม มั่ น ค ง
มักจะเน้นกำรเชื่ อมโยงค วำมเสื่อมโท รมท ำงสิ่งแวดล้อม ( environmental degradation )
กับควำมมั่นคงของชำติโดยผู้ทำกำรศึกษำต่ำงเสนอกรอบควำมคิดและแนวทำงกำรวิเครำะห์ควำมสัมพั
นธ์ระหว่ำงตัวแปรต่ำงๆ ในลักษณะที่เป็นควำมสัมพันธ์เชิงเหตุและผลต่อกัน ( Cause Links )
อย่ำงไรก็ดี อำจกล่ำวได้ว่ำ ตัวแบบ ( Model ) ที่ได้จำกกำรศึกษำเหล่ำนี้ยังเป็นตัวแบบที่มีข้อจำกัดอยู่
ใ น ที่ นี้ จ ะ ไ ด้ ก ล่ ำ ว ถึ ง ง ำ น ส ำ คั ญ 3 ชิ้ น
ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อกำรปรับปรุงตัวแบบที่ใช้วิเครำะห์ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งแวดล้อมกับควำมมั่นคง
ต่อไป งำนเหล่ำนี้จะได้แก่
งำนของ Daniel Deudney
Deudney ไม่เห็นด้วยที่จะเชื่อมโยงควำมเสื่อมโทรมทำงสิ่งแวดล้อมกับควำมมั่นคงแห่งชำติ
โ ด ย ใ ห้ เ ห ตุ ผ ล 3 ป ร ะ ก ำ ร คื อ ใ น ป ร ะ ก ำ ร แ ร ก
เขำเห็นว่ำเป็นกำรวิเครำะห์ที่ผิดทำงที่จะถือว่ำควำมเสื่อมโทรมทำงสิ่งแวดล้อมเป็นภยันตรำยอย่ำงหนึ่ง
ของควำมมั่นคงแห่งชำติ ทั้งนี้เพรำะจุดเน้นของควำมมั่นคงแห่งชำติซึ่งอยู่ที่ควำมรุนแรงระหว่ำงรัฐนั้น
มีควำมเกี่ยวข้องกับปัญหำหรือกำรแก้ปัญหำด้ำนสิ่งแวดล้อมน้อยมำก ในประกำรที่สอง
ค ว ำ ม พ ย ำ ย ำ ม ที่ จ ะ ล ด พ ลั ง อ ำ ร ม ณ์ ด้ ำ น ช ำ ติ นิ ย ม ล ง
โดยหวังที่จะก่อให้เกิดกำรระดมพลังเพื่อให้เกิดกำรตระหนักในปัญหำสิ่งแวดล้อมและให้มีกำรดำเนินกำร
แ ก้ ไ ข นั้ น อ ำ จ เ ป็ น ผ ล เ สี ย ไ ด้ แ ล ะ ใ น ป ร ะ ก ำ ร ที่ ส ำ ม
ควำมเสื่อมโทรมทำงสิ่งแวดล้อมจะก่อให้เกิดสงครำมระหว่ำงรัฐได้ยำก
งำนของ Homer-Dixon
Homer-Dixon
เป็นนักวิชำกำรที่อยู่ในกลุ่มที่เห็นว่ำปัญหำสิ่งแวดล้อมกำลังกลำยเป็นปัญหำที่มีผลสะเทือนโดยตรงต่อระ
บ บ ค ว ำ ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ ำ ง ป ร ะ เ ท ศ
และต้องกำรวิเครำะห์ว่ำกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนสิ่งแวดล้อมขนำนใหญ่จะก่อให้เกิดควำมขัดแย้งอย่ำงรุนแร
ง ใน ร ะ ดั บ ช ำ ติ แ ล ะ น ำ น ำ ช ำ ติ ไ ด้ ห รือ ไ ม่ อ ย่ ำ ง ไ ร ง ำ น ข อ ง Homer-Dixon
เป็นกำรเสนอกรอบกำรวิเครำะห์เบื้องต้นสำหรับปัญหำกำรเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมกับควำมขัดแย้ง
ทั้ ง ที่ รุ น แ ร ง แ ล ะ ไ ม่ รุ น แ ร ง
โดยเสนอสมมติฐำนที่เป็นระบบเกี่ยวกับควำมเชื่อมโยงระหว่ำงกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนสิ่งแวดล้อมกับควำ
มขัดแย้งที่รุนแรง ทั้งนี้โดยอำศัยพื้นฐำนด้ำนทฤฎีควำมขัดแย้งทำงสังคม ( Social Conflict Theory )
Homer-Dixon แ ย ก แ ย ะ ปั ญ ห ำ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม อ อ ก เ ป็ น 7 ก ลุ่ ม
และเชื่อมโยงปัญหำดังกล่ำวกับผลกระทบทำงสังคม 4 ประเภท ซึ่งจะนำไปสู่ควำมขัดแย้ง 3
ด้ำนด้วยเช่นกัน
ปัญหำสิ่งแวดล้อม 7 กลุ่มที่ประเทศกำลังพัฒนำกำลังเผชิญอยู่ได้แก่
สำหรับผลกระทบทำงสังคมของกำรเปลี่ยนแปลงทำงสิ่งแวดล้อมในประเทศที่กำลังพัฒนำนั้นได้แก่
1. กำรลดลงของคุณภำพทำงกำรผลิตเศรษฐกิจ
2. กำรเปลี่ยนแปลงในกำรผลิตทำงกำรเกษตรของภูมิภำค
3. กำรเคลื่อนย้ำยประชำกร (กำรพลัดที่นำคำที่อยู่)
4. กำรแตกแยกของสถำบัน และพฤติกรรมทำงสังคม
ผลกระทบด้ำนสังคมทั้งสี่นี้ต่ำงเกี่ยวโยงกันและกันดังภำพ (ซึ่งแทนด้วยเลข 1 – 4 ตำมหัวข้อข้ำงต้น)
เมื่อเกิดผลกระทบด้ำนสังคม 4 ประกำรนี้แล้ว ก็จะเกิดควำมขัดแย้ง 3 ประเภท คือ
1. ควำมขัดแย้งที่เกิดจำกควำมขำดแคลนขั้นพื้นฐำน
2. ควำมขัดแย้งด้ำนกำรสูญเสียเอกลักษณ์ของกลุ่ม
3. ควำมขัดแย้งเชิงเปรียบเทียบและกำรเกิดกำรก่อกำรร้ำย
ภำพข้ำงล่ำงแสดงประเภทของควำมขัดแย้งที่มักจะเกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมในประเทศที่กำลั
งพัฒนำ
โด ย สรุป แล้ว ก ำรต่ อสู้และค ว ำม ขั ด แย้ ง ที่ รุน แรง อำจ เกิ ดขึ้ น ได้ เพ รำะ
กลุ่มชนในสังคมเชื่อว่ำโอกำสที่จะก่อให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงสันตินั้นถูกปิดกั้นหมด
ต ำ ม ค ว ำ ม เ ห็ น ข อ ง Homer-Dixon นั้ น
กำรที่ประสิทธิภำพทำงกำรผลิตลดต่ำลงบวกกับกำรแตกสลำยของสถำบันจะนำไปสู่ควำมขัดแย้งประเภ
ท ที่ เ กิ ด จ ำ ก ค ว ำ ม รู้ สึ ก ถู ก ก ด ขี่ เ ชิ ง เ ป รี ย บ เ ที ย บ
แ ล ะ ค ว ำ ม ขั ด แ ย้ ง เ ช่ น นี้ ก็ จ ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ก ำ ร ต ก ต่ ำ ท ำ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
และกำรแยกสลำยของสถำบันได้ด้วยเช่นกัน
งำนของ Celso R. Roque
ง ำ น ข อ ง Roque
เกี่ยวกับปัญหำที่มีควำมชัดเจนและเป็นรูปธรรมมำกขึ้นเพรำะเป็นกรณีศึกษำอย่ำงละเอียด
แ ล ะ มี ป ร ะ เ ด็ น ที่ จ ำ กั ด ข อ บ เ ข ต ไ ว้ แ ค บ ก ว่ ำ ข อ ง Homer-Dixon
ซึ่ ง เ ส น อ ตั ว แ บ บ ที่ มี ส ม ม ติ ฐ ำ น ค่ อ น ข้ ำ ง ก ว้ ำ ง Roque
เชื่องโยงควำมไม่เท่ำเทียมกันทำงเศรษฐกิจกับควำมเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมกับกำรต่อสู้ก่อกำรร้ำยใ
นฟิลิปปินส์
Roque แ บ่ ง ค ว ำ ม ขั ด แ ย้ ง ที่ เกิ ด จ ำก สิ่ง แ ว ด ล้อ ม อ อ ก เ ป็ น 2 ป ระ เภ ท
ประเภทแรกนั้นควำมเสื่อมโทรมในสิ่งแวดล้อมนำไปสู่ควำมขัดแย้งทำงสังคมโดยตรง ประเภทที่สอง
มี ค ว ำ ม ซั บ ซ้ อ น ม ำ ก ก ว่ ำ ค ว ำ ม ขั ด แ ย้ ง ป ร ะ เ ภ ท แ ร ก
เพรำะกำรทำลำยสิ่งแวดล้อมนำไปสู่กำรตกต่ำทำงเศรษฐกิจ ควำมไม่เท่ำเทียมกันทำงเศรษฐกิจ
จนในที่สุดก่อให้เกิดควำมขัดแย้งทำงสังคมได้
Roque อธิบำยควำมขัดแย้งสองประเภทนี้โดยภำพข้ำงล่ำง
กำรปรับตัวแบบกับสถำนกำรณ์ในประเทศไทย
ตัวแบบของควำมขัดแย้งในกรณีของประเทศจะเป็นดังภำพ
กำรศึกษำกรณีของประเทศไทย จะวิเครำะห์ควำมขัดแย้งทั้งสองประเภทนี้ที่ Roque วำงแนวทำงไว้
แม้ว่ ำกำรใช้กรอบ กำ รวิเค รำะห์จะแตกต่ำงไป จำกข อง Roque ในตัว แป รห ลักก็คือ
ก ำ ร ท ด แ ท น ก ำ ร ต ก ต่ ำ ท ำ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ด้ ว ย ก ำ ร เ ติ บ โ ต ท ำ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
ว่ำเป็นตัวแปรที่ก่อให้เกิดทั้งควำมไม่เท่ำเทียมกันทำงเศรษฐกิจและควำมเสื่อมโทรมของสภำพแวดล้อม
บทที่ 2
จากความไม่มั่นคงสู่การพัฒนา
เป็ นที่ท รำบ กันดีว่ ำตั้งแต่ส่งค รำมโลกค รั้ง ที่สอง โลกได้ถูกแบ่ งเป็ น 2 ขั้ว
ขั้ว ห นึ่ ง มีส ห รัฐอ เม ริก ำ เป็ น ผู้น ำ แ ล ะอีก ขั้ว ห นึ่ ง มี สห ภ ำ พ โซ เวี ย ต เ ป็ น ผู้น ำ
ทั้งสองขั้วนี้จะแตกต่ำงกันทำงด้ำนอุดมกำรณ์ทำงกำรเมือง และทำงด้ำนกำรจัดระบบเศรษฐกิจ
โดยแต่ละขั้วต่ำงมุ่งเสนอและปฏิบัติกำรทุกวิถีทำงที่จะทำให้อุดมกำรณ์และระเบียบทำงสังคม เศรษฐกิจ
กำรเมือง ของฝ่ำยตนเป็นกระแสหลัก
กำรแข่งขันระหว่ำงสองขั้วได้ก่อให้เกิดกำรเน้นหนักในกำรสร้ำงแสนยำนุภำพทำงกำรทหำรด้วยกำรแข่ง
ขันทำงกำลังอำวุธ ทั้งที่เป็นอำวุธทันสมัยและอำวุธหลักดั้งเดิมและเมื่อเสร็จสิ้นสงครำมโลกครั้งที่ 2
สหรัฐอเมริกำเป็นประเทศที่มั่งคั่งที่สุดในโลกไม่ว่ำจะวัดกันด้วยรำยได้ต่อหัวของประชำกร
ก ำ ร ด ำ ร ง ชี พ ข อ ง ป ร ะ ช ำ ช น ร ะ ดั บ ก ำ ร พั ฒ น ำ อุ ต ส ำ ห ก ร ร ม
อัต รำค ว ำมเจริญ ท ำง เศ รษ ฐกิจห รือฐำนะท ำง กำรค ลัง สห รัฐอเมริกำก็เป็ น ผู้น ำ
นอกจำกนั้นกำรผลิตทำงอุตสำหกรรมของโลกมำกกว่ำครึ่งหนึ่ง เป็นกำรผลิตในสหรัฐอเมริกำ
ภำยหลังสงครำมโลกครั้งที่ 2 ของมิติควำมมั่นคง จะเน้นหนักไปในด้ำนกำรสร้ำงกำลังทหำร
เพื่อป้ องกันภัยคุก ค ำมจ ำก ป ระเท ศ ค อมมิว นิสต์ เนื่ อง จำก โลกแบ่ งออก เป็ น 2 ขั้ว
และกำรเลือกของไทยเรำที่อยู่กับขั้วโลกเสรี ซึ่งนำโดยสหรัฐอเมริกำมีผลทั้งทำงบวกและทำงลบต่อไทย
ในด้ำนบวก คือ กำรที่ไทยเป็นรัฐเล็กและยังไม่มีกำลังอำนำจทำงเศรษฐกิจ-กำรทหำรที่กล้ำแกร่งนัก
ก็สำมำรถมีหลักประกันในเอกรำช-อธิปไตยของชำติได้จำกพันธมิตรที่เป็นอภิมหำอำนำจ
และยังช่ว ยเหลือในท ำงเศ รษฐกิจและกำรศึกษำ-ฝึกอบ รมอีกด้วย แต่ในด้ำนลบ คือ
กำรที่เรำกลำยเป็นเสมือน “รัฐลูกน้อง” นโยบำยด้ำนหลักๆ เช่น กำรต่ำงประเทศ กำรทหำร
และกำรพัฒ นำเศ รษฐกิจข องเรำถูกกำห นดและชี้นำโดย กำรเมืองข อง “รัฐลูกพี่ ”
ผลกระทบสำคัญคือมีกำรเกิดขบวนกำรของพรรคคอมมิวนิสต์ขึ้น
ในทศวรรษที่ 1960 ถูกกำหนดให้เป็น “ทศวรรษแห่งกำรพัฒนำ” โดยสหรัฐอเมริกำยกเอำ “กำรพัฒนำ”
ม ำ เ ป็ น อุ ด ม ก ำ ร ณ์ ใ ห ม่ ใ น ก ำ ร ต่ อ สู้ กั บ ฝ่ ำ ย ค อ ม มิ ว นิ ส ต์
แนวคิดเกี่ยวกับกำรพัฒนำที่สหรัฐอเมริกำนำมำเผยแพร่กับประเทศไทยก็ยังคงเป็นแนวคิดที่เน้นกำรเติ
บโตทำงเศรษฐกิจและกำรใช้ทรัพยำกรธรรมชำติเพื่อพัฒนำมำกกว่ำกำรแสวงหำควำมเหมำะสมระหว่ำง
กำรพัฒนำเศรษฐกิจกับกำรรักษำทรัพยำกรและสิ่งแวดล้อม
ดั ง นั้ น จึ ง ก ล่ ำ ว ไ ด้ ว่ ำ
ในสองทศวรรษแรกแห่งกำรพัฒนำนั้นประเทศไทยตกอยู่ในกระแสกำรพัฒนำเศรษฐกิจที่มิได้มีกำรตระห
นักถึงกำรสงวนรักษำสิ่งแวดล้อมเลย จึงส่งผลให้ประเทศไทยต้องเผชิญกับปมปัญหำที่แก้ไม่ตกคือ
ควำมเหมำะสมระหว่ำงกำรพัฒนำเศรษฐกิจแบบเร่งกำรเติบโตของอุตสำหกรรม
ปั ญ ห ำ ที่ คิ ด กั น ไ ม่ ต ก เ มื่ อ มี น โ ย บ ำ ย ใ ห ม่ คื อ
ไทยเสื่อมโสมลงจนอยู่ในขั้นวิกฤตเพรำะผลจำกกำรใช้สอยทรัพยำกรธรรมชำติอย่ำงเกินขอบเขตและกำ
รเ ร่ง พั ฒ น ำอุ ต ส ำห ก ร รม เพื่ อ บ รร ลุ ถึง ก ำ ร เป็ น ป ระ เ ท ศ อุ ต ส ำห ก ร รม ให ม่
ทำให้เกิดกำรขัดกันอย่ำงรุนแรงระหว่ำงกำรเติบโตของพลังภำยในประเทศสองด้ำน
ความหมายของ “ป่า” ที่เปลี่ยนแปลงไป
ป่ำไม้จะมีควำมหมำยที่ชัดเจนในฐำนะที่เป็นส่วนประกอบที่สำคัญยิ่งอย่ำงหนึ่งของระบบนิเวศน์
แต่ในควำมห มำยท ำงกำรเมือง-กำรทห ำรของป่ำก็มีนัย สำคัญ ต่อนโย บำยข องรัฐด้ว ย
ยิ่ ง ภ ำ ย ห ลั ง ก ำ ร รุ่ ง เ รื อ ง ข อ ง วิ ท ย ำ ศ ำ ส ต ร์ แ บ บ นิ ว ตั น ด้ ว ย แ ล้ ว
ธรรมชำติยิ่งกลำยเป็นเพียงระบบกลไกแบบหนึ่ง ที่มหนุษย์ใช้ประโยชน์ควบคู่กับกำรเอำรัดเอำเปรียบ
ใ น อ ดี ต ห ำ ก ป่ ำ ไ ม่ เ ป็ น ส ว น ที่ ส ง บ บ ริ สุ ท ธิ์
ก็เป็นส่วนที่อันตรำยต้องระแวดระวังเป็นพิเศษที่จะเข้ำไปแต่ในทำงเศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรมนั้น
ป่ำเป็นส่วนที่ล้ำหลัง ลำบำก ยำกแค้น และมีวัฒนำธรรมที่ต่ำกว่ำเมือง
ดั ง นั้ น ก ำ ร ข ย ำ ย ตั ว ท ำ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ก ำ ร เ พิ่ ม ขึ้ น ข อ ง พ ล เ มื อ ง
ข้อจำกัดทำงเทคโนโลยีกำรผลิตนำไปสู่กำรขยำยพื้นที่กำรทำมำหำกินมำกกว่ำกำรเพิ่มผลผลิตในที่ดินก
น่วยเดิม ล้วนแต่มีผลทำให้เกิดกำรใช้ประโยชน์จำกทรัพยำกรธรรมชำติอย่ำงรุนแรงและต่อเนื่อง
จึง เ กิ ด ป ฏิ กิ ริย ำ ลู ก โซ่ ที่ เ กิ ด จ ำก ค ว ำ ม ไม่ ส ม ดุ ล ร ะห ว่ ำ ง ก ำร พั ฒ น ำ เมื อ ง -
ชนบทกับควำมมั่นคงทำงทหำรที่นำไปสู่ควำมไม่มั่นคงหรือภยันตรำย
ความไม่มั่นคงผลักดันการพัฒนา
ควำมสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์-ลูกน้องนี้มักเกิดขึ้นในบริเวณที่อยู่ใกล้เคียงกับเส้นทำงคมนำคม
ดั ง นั้ น ร ะ บ บ ดั ง ก ล่ ำ ว จึ ง ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ก ำ ร จั ด ส ร ร ใ ช้ ท รั พ ย ำ ก ร
ซึ่งยังไม่มีเจ้ำของและรัฐยังคงสงวนควำมเป็นเจ้ำของไว้อย่ำงกว้ำงขวำงจนอำนำจรัฐไม่อำจติดตำมดูแลไ
ด้อย่ำงทั่วถึง โดยประชำชนที่อยู่ในท้องที่ที่ห่ำงไกล ประชำชนเหล่ำนี้จะหันไปหำควำมคุ้มครองจำก
พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ซึ่งจะได้รับกำรสนับสนุนจำกประชำชนตำมพื้นที่ที่ทำงรัฐเข้ำไม่ถึง
ดังนั้นควำมไม่มั่นคงของรัฐไทย จึงมิได้เกิดขึ้นจำกกำรไร้กรรมสิทธิ์เพรำะกำรสูญเสียที่ดินทำกิน
แต่เกิดจำกควำมต้องกำรใช้ทรัพยำกรธรรมชำติในอำณำบริเวณที่ยังไม่มีผู้จับจองกรรมสิทธิ์
จ ำ ก ก ำ ร ที่ รั ฐ ไ ม่ ส ำ ม ำ ร ถ มี น โ ย บ ำ ย ที่ ชั ด เ จ น ใ น เ รื่ อ ง นี้ ไ ด้
จึงก่อให้เกิดปัญหำของกำรที่ประชำชนจะต้องอำศัยอำนำจบำงอย่ำงมำป้ องกันกรรมสิทธิ์
ซึ่งขัดแย้งกับกรรมสิทธิ์ตำมกฎหมำย ยิ่งรัฐใช้อำนำจตำมกฎหมำยกดดันประชำชนมำกเท่ำใด
พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยก็ยิ่งเติบโตมำกเท่ำนั้น
ควำมไม่มั่นคงของรัฐจึงมีลักษณะสองด้ำน คือ ในอำณำบริเวณที่อำนำจรัฐไปถึงนั้น
อำนำจรัฐก็จะผูก พันกับ อำนำจ-อิท ธิพลข องเจ้ำพ่ อท้ องถิ่นต ำงๆ อีก ด้ำนห นึ่งนั้น
ใ น อ ำ ณ ำ บ ริ เ ว ณ ที่ อ ำ น ำ จ รั ฐ ยั ง ไ ป ไ ม่ ถึ ง ยั ง อ่ อ น แ อ อ ยู่
พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยก็จะเข้ำมำแทนที่โดยมีหน้ำที่สำคัญในกำรป้องกันมิให้อำนำจรัฐเข้ำม
ำ ถึ ง อ ำ ณ ำ บ ริ เ ว ณ เ ห ล่ ำ นั้ น
กำรที่พรรค คอมมิว นิสต์แห่ งประเทศ ไท ย ยึดยุท ธศ ำสตร์แบ บ จีนคือใช้ป่ ำล้อมเมืองนี้
มีผลทำให้ป่ำที่ยังอุดมสมบูรณ์อยู่กลำยเป็นอำณำบริเวณของรัฐที่มีควำมหมำย มิใช่ในทำงทรัพยำกร-
เศรษฐกิจแต่เพียงด้ำนเดียว หำกมีควำมห มำยท ำงกำรเมือง-ค วำมมั่นคงตำมไปด้ว ย
ค ว ำ ม แ ต ก ต่ ำ ง ร ะ ห ว่ ำ ง พื้ น ที่ สี ข ำ ว -สี ช ม พู -สี แ ด ง
จึงครอบซ้อนไปบนควำมแตกต่ำงระหว่ำงพื้นที่ทำกินของประชำชนอีกด้วย โดยพื้นที่สีชมพู-สีแดง ก็คือ
พื้น ที่ น อ ก เข ต ช ล ป ระ ท ำน เป็ น เ ข ต ช น บ ท ที่ อ ยู่ ห่ ำ ง ไก ล แล ะ ที่ สำ คัญ ก็ คื อ
มักจะประกอบด้วยอำณำบริเวณของกำรใช้ทรัพยำกรที่ทำกิน ซึ่งรัฐมิได้รับรองกรรมสิทธิ์
จ ำ ก ข้ อ มู ล ข้ ำ ง ต้ น
เรำจึงเห็นว่ำในระยะแรกของควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมไม่มั่นคงกับกำรพัฒนำนั้น กำรแบ่งสรร -
ใช้ ท รัพ ย ำ ก ร ธ ร ร ม ช ำ ติ ยั ง มิ ใช่ ปั จ จั ย ที่ ก่ อ ให้ เกิ ด ค ว ำม ไม่ มั่น ค ง เ พิ่ ม ขึ้ น
ในทำงตรงกันข้ำมทรัพยำกรธรรมชำติที่ค่อนข้ำงอุดมสมบูรณ์มีส่วนในกำรช่วยให้ประชำชนในชนบทจำ
นวนมำกมีทำงเลือกและทำงออก เพรำะยังมีที่ทำกินและยังสำมำรถไปหักร้ำงถำงพงได้
ซึ่งสภำวะนี้กำลังหมดไปในปัจจุบัน
ด้ ว ย เ ห ตุ นี้ เ อ ง รั ฐ จึ ง เ ริ่ ม ก ำ ร พั ฒ น ำ โ ด ย ที่ ไ ม่ มี ปั ญ ห ำ -
ข้ อ จ ำ กั ด ท ำ ง ด้ ำ น ท รั พ ย ำ ก ร ธ ร ร ม ช ำ ติ ม ำ ก นั ก
แ ท้ จ ริง แ ล้ว รัฐ มิได้ เห็ น ค ว ำ ม จ ำ เป็ น ค ว ำ ม ส ำ คัญ เ รื่อ ง ก ำ รป ฏิ รู ป ที่ ดิน เล ย
ห ำ ก มุ่ ง ส ร้ ำ ง โ ค ร ง ส ร้ ำ ง พื้ น ฐ ำ น ที่ เ ป็ น ถ น น ห น ท ำ ง ไ ฟ ฟ้ ำ
ตลอดจนขยำยหน่วยงำนของรัฐออกไปยังส่วนภูมิภำค และส่วนท้องถิ่นอย่ำงกว้ำงขวำง
โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งหน่วยงำนทำงด้ำนกำรรักษำควำมสงบเรียบร้อยภำยใน
เครื่องบ่งชี้ควำมรุนแรงจองสถำนกำรณ์กำรก่อกำรร้ำยในประเทศไทยเริ่มมีขึ้นตั้งแต่
มีกำรจัดตั้งหน่วยงำนของรัฐที่มีภำรกิจเฉพำะเจำะจงในกำรดำเนินกำรแก้ปัญหำดังกล่ำว คือ วันที่ 24
ธันวำคม 2508 คณะรับมนตรีได้จัดตั้ง กองอำนวยกำรป้องกันและปรำบปรำมคอมมิวนิสต์ (กอ.ปค.) ขึ้น
ให้มีควำมรับผิดชอบในกำรปรำบปรำมผู้ก่อกำรร้ำยคอมมิวนิสต์ทั่วประเทศ ยกเว้นบริเวณภำคใต้
กำรตระหนักถึงภัยคุคำมควำมมั่นคงของประเทศไทยเริ่มมีขึ้นนับตั้งแต่ปี พ.ศ.2504 ซึ่งในปีนั้น
ค อ ม มิ ว นิ ส ต์ ใ น ล ำ ว แ ล ะ เ วี ย ด น ำ ม เ ห นื อ
สำมำรถยึดค รอง พื้นที่ ป ระเท ศ ลำวไว้ได้ทั้งห มดจ รดจ นช ำย แดนริมฝั่ง แม่น้ ำโข ง
จังหวัดที่มีอำณำบริเวณดังกล่ำวติดต่อกับลำว ได้แก่ เชียงรำย น่ำน เลย หนองคำย นครพนม มุกดำหำร
และอุบลรำชธำนี จึงเป็นจุดยุทธศำสตร์ที่สำคัญ
โค ร ง ก ำ ร ก่ อ ส ร้ำ ง แ ล ะ บู ร ณ ะ ท ำ ง ห ล ว ง 7 ปี พ .ศ . 2 5 0 8 -2 5 1 4
เป็นควำมพยำยำมอย่ำงเป็นระบบครั้งแรกในกำรก่อสร้ำงโครงข่ำยทำงหลวงสำยประธำน
ใน ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น ก็ ไ ด้ มี โค ร ง ก ำ ร ก่ อ ส ร้ำ ง แ ล ะ บู ร ณ ะ ท ำ ง ห ล ว ง จั ง ห วั ด
เป็นโครงกำรเสริมแผนแม่บทสนับสนุนแผนก่อสร้ำงและบูรณะทำงหลวงแผ่นดิน ในระหว่ำง พ.ศ.2508-
2514 รัฐบำลได้เร่งบูรณะ ทำงหลวงด้วยกำรลำดยำงทั่วประเทศถึง 2,569 กม. และก่อสร้ำงแล้วเสร็จ
3,280 กม. รวมเป็นระยะทำง 5,849 กม. นอกจำกนี้ได้ทำกำรก่อสร้ำงและบูรณะทำงหลวงจังหวัดถึง
4,500 กม.
ก่อนที่จะมีแผนกำรบูรณะและก่อสร้ำงทำงหลวงนั้น ในปี 2506 รัฐบำลไทยได้ร่วมมือกับ USOM
และ OICC ก่อสร้ำงทำงเร่งด่วนขึ้น เรียกว่ำ ทำงยุทธศำสตร์ ( securityroad )
เ มื่ อ ก ำ ร ก่ อ ก ำ ร ร้ ำ ย ค อ ม มิ ว นิ ส ต์ เ ริ่ ม รุ น แ ร ง ม ำ ก ขึ้ น
รัฐบำลจึงได้มอบหมำยให้กรมทำงหลวงดำเนินกำรก่อสร้ำงทำงหลวงในบริเวณที่มีผู้ก่อกำรร้ำยคุกคำมถึ
ง 55 สำยทำง รวมระยะทำงประมำณ 3,054 กม.
บทที่3
การพัฒนาสู่ความไม่มั่งคง
ในยุคที่กำรสร้ำงถนนกับกำรพัฒนำเศรษฐกิจ ที่รัฐส่งเสริมกำรปลูกพืชเพื่อกำรส่งออก
โดยกำรส่งเสริมนี้ ส่งผลให้ประชำชนในชนบทที่ไร้ซึ่งที่ดินทำกินเข้ำไปทำไร่ในบริเวณป่ำสงวนมำกขึ้น
เนื่องจำกพื้นที่เข ตป่ำสงวนนั้นยังเป็นพื้นที่ที่มีกำรก่อกำรร้ำยท ำให้ก ำรดูแลท ำได้ย ำก
จึงเกิดกำรบุ กรุกเขตป่ำสงวนเป็นไปอย่ำงต่อเนื่อง ห ลังจำกกำรพัฒ นำเศรษฐกิจ 30ปี
ผลปรำกฏว่ำจำนวนหมู่บ้ำนในเขตป่ำสงวนเพิ่มขึ้นในภำคเหนือ และภำคใต้
โดย กำรข ย ำย ตัวข องพื้นที่ ท ำกำรเกษต รกลับ ตรงกันข้ำมกับ สัดส่วนมูลค่ำสินค้ำ
ปัจจุบันแรงงำนในภำคเกษตรกรรมร้อยละ 33 ของทั้งหมดที่ทำงำนในเขตป่ำสงวนก็ไม่ได้มีรำยได้ที่ดี
ในเวลำเดียวกันมีกำรพิจำรณำถึงจำนวนของควำมยำกจน แล้วเห็นได้ว่ำมีกำรลดลงระดับหนึ่ง
แ ต่ ก ลั บ เ พิ่ ม ม ำ ก ขึ้ น ใ น เ ว ล ำ ต่ อ ม ำ
ค ว ำม ย ำก จน ข อง ป ระ ช ำก รดัง ก ล่ำว มีค ว ำม เกี่ ย ว พันกั บ ก ำรบุ ก รุก ท ำลำย ป่ ำ
มีปัจจัยต่ำงๆเรียงตำมลำดับควำมสำคัญ คือ
1.รำยได้ของคนในจังหวัด
2.กำรเพิ่มขึ้นของประชำกร
3.รำคำพืชไร่
4.มูลค่ำของป่ำไม้ และผลผลิตที่นำออกจำกป่ำ และกำรสร้ำงถนนในชนบท
จ ำ ก ข้ อ มู ล นี้ พ อ ส รุ ป ไ ด้ ว่ ำ ก ำ ร พั ฒ น ำ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
แม้จะก่อให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงรำยได้ต่อหัวประชำกรเพิ่มมำกขึ้น แต่ก็ไม่ได้เป็นกำรแก้ปัญหำหลัก
ซึ่ ง ไ ด้ แ ก่ ค ว ำ ม ไ ม่ เ ท่ ำ เ ที ย ม กั น ท ำ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
ป ระช ำก รจ ำน ว น ห นึ่ ง ที่ ท ำก ำรเก ษ ต รก ร รม ยั ง ไม่ มีที่ ท ำกิ น เป็ น ข อง ต น เอ ง
ซึ่งรัฐบำลยังไม่มีนโยบำยจัดกำรที่ดินเป็นที่ยอมรับ
กำรพัฒนำเศรษฐกิจที่รัฐบำลสนับสนุนกำรปลูกพืชส่งออก มีผลโดยตรงกับกำรบุกรุกทำลำยป่ำ
ปัญหำที่ทำให้เกิดกำรเผชิญหน้ำของรัฐและประชำชนในขณะนี้คือเรื่องกำรจัดสินที่ดินทำกิน
ประเด็นหลักคือ ปัจจุบันรัฐมีควำมต้องกำรปรับปรุง ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมโดยนโยบำยเพิ่มพื้นที่ป่ำไม้
ข อ ง ป ระ เท ศ ให้ มีถึ ง 4 0 % ใน ปี พ .ศ .2 5 3 2 นั้ น มี พื้ น ที่ ป่ ำไม้ เพี ย ง 2 7 .9 %
แ ต่ ยั ง มี เ ก ษ ต ร ก ร ไ ร้ ที่ ท ำ กิ น อี ก ห ลั ก แ ส น ค รั ว เ รื อ น
เมื่อ ค ำนึ ง ถึง สภ ำพ ค ว ำมเ ป็ น จริง ข อง น โย บ ำย ฟื้ น ฟู สิ่ง แ ว ด ล้อ ม จ ะเห็ น ได้ว่ ำ
ก ำ ร ขั ด แ ย้ ง ร ะ ห ว่ ำ ง ส ภ ำ พ ค ว ำ ม เ ป็ น จ ริ ง กั บ น โ ย บ ำ ย
จะนำไปสู่ควำมขัดแย้งขั้นรุนแรงกับประชำชนกลุ่มต่ำงๆ
ปัญ ห ำที่ก ำลังเกิดขึ้นในปัจจุบัน เป็ นปัญ ห ำที่มีค วำมซับ ซ้อน ทั้งนี้เนื่ องจำก
ควำมขัดแย้งระหว่ำงรัฐกับประชำชนนั้น มีที่มำยำวนำนละเกี่ยวพันกับหลำยปัญหำหลำยปัญหำ
ตั้งแต่ควำมยำกจน จนไปถึงปัญหำนโยบำยเกษตรในอดีต เมื่อครั้งยังมีคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยอยู่
รัฐ กั บ ป ร ะ ช ำ ช น ยั ง ไ ม่ ไ ด้ มี ค ว ำ ม ขั ด แ ย้ ง กั น แ บ บ ใน ปั จ จุ บั น เ พ ร ำ ะ
รัฐให้ ค วำมสำคัญ กับ ก ำรจัดก ำรกับ ปัญ ห ำก ำรก่ อก ำรร้ำย จึงมุ่ง แก้ ไข ปัญ ห ำนั้น
โดยใช้ประชำชนเพื่อทำสงครำมเอำชนะคอมมิวนิสต์ เมื่อพรรคคอมมิวนิสต์ยุติกำรปฏิบัติหน้ำที่แล้ว
ปัญหำที่มีจำกกำรพัฒนำในตลอด 30ปีนั้นก็ได้แสดงออกมำ
จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ ำ เ ป้ ำ ห ม ำ ย ข อ ง รั ฐ
คือเป้ ำห มำยท ำงด้ำนค ว ำมมั่นค งไม่ใช่ เป้ ำห มำย ก ำรจัดก ำรที่ท ำกินให้ ป ระช ำช น
ใน ข ณ ะ ที่ ฝ่ ำ ย ป ร ะ ช ำ ช น ต้ อ ง ก ำ ร ค ว ำ ม มั่ น ค ง ใน ด้ ำ น ก ำ ร ท ำ กิ น
เมื่อเจ้ำหน้ำที่จัดกำรรวบรวมชำวบ้ำนให้อยู่เป็นกลุ่มก้อน เป็นไปตำมเงื่อนไขข้อกำ หนดใหม่
ซึ่ ง ต่ ำ ง ไ ป จ ำ ก ห มู่ บ้ ำ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น เ อ ง ข อ ง ป ร ะ ช ำ ช น จึ ง เ กิ ด ปั ญ ห ำ ขึ้ น
ทำให้มีผู้ได้รับที่ดินน้อยกว่ำที่เคยครอบครองอยู่เดิม
เป็นยกกรณีศึกษำที่เกี่ยวข้องกับกำรพัฒนำเพื่อควำมมั่งคง
แต่กลับทำให้เกิดปัญหำต่ำงๆและข้อสงสัยในหลำยๆด้ำน
ในตัวอย่ำงแรกโค รงกำรพัฒ นำป่ ำดงให ญ่ มีวัตถุป ระสงค์เพื่อกำรปลูกฟื้นฟูป่ ำ
แต่ไม่ได้ให้ป ระช ำช นมีส่วนร่วม กำรพัฒ นำเริ่มต้นจำกพื้นที่แห่ งนี้มีกำรก่ อกำรร้ำย
ร ะ ห ว่ ำ ง นั้ น ก็ ไ ม่ เ ค ย เ กิ ด เ รื่ อ ง ก ำ ร ป ะ ท ะ ห รือ ขั ด แ ย้ ง กั บ ป ร ะ ช ำ ช น
แ ต่ เ มื่ อ พื้ น ที่ นี้ ไ ม่ ก ำ ร ก่ อ ก ำ ร ร้ ำ ย แ ล ะ มั่น ค ง ท ำ ง ยุ ท ธ ศ ำ ส ต ร์ แ ล้ ว
ท ำ ไม ข้ ำ ร ำ ช ก ำ ร ก ลั บ ม ำ ต้ อ ง เ ผ ชิ ย ห น้ ำ กั บ ป ร ะ ช ำ ช น แ ล ะ พ ร ะ ส ง ฆ์
จนก่อให้เกิดคควำมขัดแย้งและควำมไม่มั่นคงเกิดขึ้น
ตั ว อ ย่ ำ ง ที่ ส อ ง ก ำ ร ส ร้ ำ ง ท ำ ง เ กิ ด ก ำ ร ขั ด กั น ข อ ง น โ ย บ ำ ย
อำจเป็นเพรำะหน่วยงำนรำชกำรตั้งวัตถุประสงค์หลักด้ำนใดด้ำนหนึ่งขำดกำรทบทวนวัตถุประสงค์และแ
ผ น ง ำ น โค ร ง ก ำ ร โ ด ย เ ที ย บ เ คี ย ง กั บ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง รั ฐ ใน ด้ ำ น อื่ น ๆ
จึ ง ท ำ ใ ห้ ห น่ ว ย ง ำ น บ ำ ง ห น่ ว ย มี ง ำ น เ พิ่ ม ขึ้ น
และบ ำง ห น่ ว ย ง ำน ที่เป็ นผู้รัก ษ ำก ฎ ห ม ำย ห ลัก ในก ำรป้ อง กันอนุ รัก ษ์ธรรม ช ำติ
ก ลั บ เ ส น อ ค ว ำ ม เ ห็ น ส อ ด ค ล้ อ ง ไ ป กั บ ก ำ ร ส ร้ำ ง ท ำ ง เ พื่ อ ค ว ำ ม มั่น ค ง
แ ท น ที่ จ ะ ให้ ค ว ำ ม เ ห็ น ที่ เ กี่ ย ว กั บ ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง ก ำ ร ส ร้ำ ง ท ำ ง ต่ อ ป่ ำ ไ ม้
ร ว ม ไ ป ถึ ง ก อ ง ทั พ ภ ำ ค ต่ ำ ง ๆ ก็ ไ ม่ ป ร ำ ก ฏ ว่ ำ มี ข้ อ เ ส น อ ข้ อ ดี ข้ อ เ สี ย
ผลกระทบต่อสภำพแวดล้อมและป่ำแต่อย่ำงใด
กรณีป่ำดงใหญ่เป็นกำรเปลี่ยนแปลงนโยบำยควำมมั่นคงไปเป็นนโยบำยอนุรักษ์
และกรณีกำรสร้ำงทำงเป็นกำรใช้นโยบำยควำมมั่นคงที่มีน้ำหนักสูงกว่ำนโยบำยอนุรักษ์
ข้อสรุปจำกทั้งสองกรณีศึกษำนี้ กำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจไม่ใช่กำรตกต่ำของเศรษฐกิจ
ที่ น ำ ไ ป สู่ ค ว ำ ม เ สื่ อ ม โ ท ร ม ข อ ง สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ บ ว ก กั บ ปั จ จั ย อื่ น ๆ
ก็ก่อให้เกิดควำมขัดแย้งทำงสังคมด้วยเช่นกัน
บทที่ 4
ความมั่นคง การพัฒนา การมีส่วนร่วม กับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
เท่ำที่ผ่ำน กำรพูดถึงควำมเกี่ยวพันระหว่ำงกำรทำลำยสิ่งแวดล้อมกับควำมมั่นคงส่วนมำก
เป็นเพียงสมมติฐำนอยู่ จึงได้ทำกำรทดสอบว่ำสมมติฐำนเหล่ำนี้
โ ด ย ก ำ ร ศึ ก ษ ำ ปั ญ ห ำ ต่ ำ ง ๆ นี้
เกิ ด จ ำก ก ำ รม อ ง เ ห็ น ถึ ง ปั ญ ห ำ สิ่ง แ ว ด ล้อ ม ที่ เกิ ด ขึ้ น อ ย่ ำง รว ด เร็ว ทั่ว โล ก
โดยได้เริ่มจำกมห ำอำนำจอย่ ำงสห รัฐอเมริกำที่ได้ถอดตัวจำกควำมขัดแย้งอินโดจีน
และลดกำรแข่งขันด้ำนอำวุธนิวเคลียร์ โดยเปลี่ยนไปเน้นทำงด้ำนกำรค้ำเสรี และยังมีกำรรักษำธรรมชำติ
ซึ่งเป็นองค์ประกอบของระเบียบโลกใหม่ โดยยังมีทำงด้ำน เศรษฐกิจ กำรเมือง สิ่งแวดล้อม
แทนทำงด้ำนควำมมั่นคงทำงทหำรและกำรเมือง โดยกำรเปลี่ยนแบบนี้จะส่งผลถึงประเทศที่กำลังพัฒนำ
ซึ่งประเทศเหล่ำนี้ พัฒนำเศรษฐกิจด้วยทรัพยำกรธรรมชำติเป็นหลัก เช่น ไทย มำเลเชีย อินโดนีเซีย
จึงได้รับแรงกดดันจำกนโยบำยปกป้ องสิ่งแวดล้อม ให้ประเทศเหล่ำนี้รักษำสิ่งแวดล้อมมำกขึ้น
ซึ่ ง จ ะ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ก ำ ร เ ร่ ง พั ฒ น ำ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ เ ห ล่ ำ นี้
โดยเฉพำะด้ำนป่ำไม้ในเขตร้อนของมำเลเชีย และอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นสินค้ำส่งออกที่สำคัญ
ซึ่งทำงประเทศเหล่ำนี้ได้มองว่ำ เป็นกำรกีดกันทำงเศรษฐกิจ ที่แฝงมำในรูปแบบใหม่
จำก ส่ ว น ข อ ง บ ท ที่ 2 นั้น แส ด ง ให้ เห็ น ว่ ำ ค ว ำม ไม่ มั่น ค ง ท ำง ก ำ รเมือ ง
ไม่ ไ ด้ มี ส ำ เห ตุ จ ำ ก ค ว ำ ม ย ำ ก จ น ห รือ ใช้ ที่ ดิ น ท ำ กิ น แ ต่ ม ำ จ ำ ก ปั ญ ห ำ
ควำมสัมพันธ์ของรัฐกับคอมมิวนิสต์จีน โดยจำกควำมขัดแย้งนี้จึงมุ่งแก้ไขปัญหำควำมไม่มั่นคง
โดยได้สร้ำงทำงเข้ำไปให้ถึงบริเวณด้ำนนอกของฐำนที่มั่นของผู้ก่อกำรร้ำย โดยจะเห็นว่ำ
ควำมหมำยของป่ำ มีทั้งทำงเศรษฐกิจ ทำงทหำร และกำรเมือง มำกกว่ำลักษณะทำงนิเวศน์
สถำนภำพของป่ำในด้ำนนี้จึงเป็นสัญลักษณ์ และเป็นรูปธรรมของควำมไม่มั่นคง โดยทำงรัฐบำลไทย
จึงมีนโยบำยทุ่มเงินไปเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรเข้ำถึงป่ำ โดยทำเพื่อ เงื่อนไขทำงควำมมั่นคง
โดยกำรศึกษำของเรำให้ควำมสำคัญกับ นโยบำยของรัฐ ในส่วนของกำรสร้ำงถนนเข้ำไปในเขตป่ำเขำ
เพ ร ำ ะใน เว ล ำ 30ปี ที่ ผ่ ำ น ม ำ ค ว ำ ม มั่น ค ง ด้ ำน ที่ ไท ย มี ปั ญ ห ำอ ยู่ ซึ่ง ก็ คื อ
ควำมมั่นคงด้ำนทหำรและทำงกำรเมือง มำกกว่ำด้ำนเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม โดยมีคำกล่ำวว่ำ
ก ำรเข้ ำใจ ปัญ ห ำค ว ำม มั่น ค ง ที่ ดีที่ สุ ด คือ ให้ ดูว่ ำค ว ำม ไม่ มั่น ค ง มีด้ำน ใด บ้ ำง
เพรำะควำมไม่มั่นคงเป็นรูปธรรมมำกกว่ำ รัฐจึงลดควำมไม่มั่นคงด้วยกำรแก้ปัญหำภำยใน
ใ น ก ร ณี ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ก ำ ร มี ผู้ ก่ อ ก ำ ร ร้ ำ ย ค อ ม มิ ว นิ ส ต์
เป็ นปัจ จัย สำคัญ ที่ มีผ ลก ระท บ ต่อ ก ำรเมือง ในป ระ เท ศ ไท ย จึงแ ก้ปั ญ ห ำโด ย
สร้ำ ง ถ น น เ ข้ ำไป ใน เข ต ป่ ำเ ข ำ ท ำให้ เข้ ำ ใก ล้ฐำน มั่น ข อง พ รร ค ค อ ม มิว นิ ส ต์
ฐำนมั่นจึงเป็นบริเวณที่อยู่ในวงล้อมของถนน จนมีคนสังเกตว่ำ ยุทธศำสตร์ป่ำล้อมเมืองนั้น
ต้องพ่ำยแพ้แก่ยุทธศำสตร์เมืองล้อมป่ำ นอกจำกสร้ำงทำงแล้ว รัฐยังส่งเสริมให้จัดตั้งหมู่บ้ำน
เพื่อเหตุผลทำงด้ำนยุทธศำสตร์ และยังเน้นสร้ำงควำมมั่นคงทำงกำรทหำรและทำงกำรเมือง
โดย ให้ ใช้พื้นที่ ป่ ำในก ำรท ำกิน ตั้ง ที่ อยู่ อำศัย ก ลำย เป็ น ห มู่บ้ ำน เป็ นผ ลท ำให้
ป ระ ช ำ ช น เ ข้ ำ ไป อ ยู่ ใน เข ต ป่ ำส ง ว น เป็ น จ ำน ว น ม ำ ก แ ล ะ รุก ล้ ำ ไป เรื่ อ ย ๆ
เ ป็ น เ ห ตุ ท ำ ให้ ป ร ะ ช ำ ช น ใน ช น บ ท ส นั บ ส นุ น รั ฐ บ ำ ล อี ก ด้ ว ย เ พ ร ำ ะ มี
ถนนสำยใหญ่ในกำรขนส่งพืชผักได้สะดวกยิ่งขึ้น
ดังนั้นในประเทศไทยจึงแตกต่ำงจำกกรณีอื่นๆเพรำะงำนวิชำกำรไม่ว่ำเป็นด้ำนทฤษฏีหรือกรณี
ศึ ก ษ ำ ปั ญ ห ำ ด้ ำ น ค ว ำ ม มั่ น ค ง กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เ กื อ บ ทั้ ง ห ม ด
คิดว่ำเกิดจำกควำมขำดแคลนและควำมตกต่ำของเศรษฐกิจอยู่ควบคู่ไปกับควำมเสื่อมโทรมของสภำพแ
วด ล้อม โดย สรุป ได้ว่ำ กำรต กต่ ำท ำง เศ รษฐกิจอันมีผลมำจำกค ว ำมข ำดแค ลน
จะนำไปสู่กำรเพิ่มขึ้นของควำมไม่เท่ำเทียมกัน ซึ่งก่อให้เกิดควำมไม่มั่นคงอีกทอดหนึ่ง
งำนวิจัยนี้ศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมมั่นคงกับกำรเปลี่ยนแปลงทำงสิ่งแวดล้อมภำยในสภ
ำพกำรณ์ของกำรเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจ เพรำะประเทศไทยมีควำมมั่นคงทำงด้ำนอำหำร
ซึ่งไม่ได้น้อยลงแม้สิ่งแวดล้อมจะเสื่อมโทรมลง เมื่อเทียบกับประเทศซูดำนและเอธิโอเปีย
เ พ ร ำ ะ ต้ อ ง น ำ เ งิ น ม ำ ซื้ อ อ ำ วุ ธ ใน ก ำ ร ป ร ำ บ ผู้ ก่ อ ก ำ ร ร้ ำ ย ใ น ป ร ะ เ ท ศ
และในบังคลำเทศมีกำรให้ชำวเบงคลีแย่งที่ทำกินของเผ่ำชำวเขำ ทำให้สูญเสียที่ดินทำกิน
และมีควำมสัมพันธ์ด้ำนลบระหว่ำงกำรเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมกับกำรเปลี่ยนแปลงทำงกำรเมือง
ส่วนในประเทศไทย กำรเสื่อมโทรมทำงสิ่งแวดล้อมเกิดจำก กำรบุกรุกป่ำเพื่อปลูกพืชไร่ของชำวนำ
นอกจำกปลูกข้ำว ทำให้ชำวบ้ำนมีรำยได้เพิ่มขึ้น และน่ำเป็นสำเหตุสำคัญที่ทำให้ชำวนำอยู่ได้
ถึงแม้รำคำข้ำวจะตกต่ำก็ตำม เพรำะมีรำยได้จำกกำรปลูกพืชไร่อยู่ โดยกำรเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม
( ค ว ำ ม ไ ม่ มั่ น ค ง ท ำ ง ด้ ำ น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม )
ได้เป็นกำรทดแทนที่รัฐต้องเผชิญ กับควำมไม่มั่นคงทำงท หำรและท ำงกำรเมืองมำกขึ้น
ในส่วนนี้ควำมมั่นคงทำงทหำรและทำงกำรเมืองจึงเป็นสิ่งที่แลกเปลี่ยนกับควำมมั่นคงทำงสิ่งแวดล้อม
นอก จ ำก นี้ยั งมีปัจ จัย แท รก ซ้อนที่ เรีย ก ว่ ำปัจ จัย ในระย ะห รือขั้นต อนกลำง เช่ น
ระดับ ค ว ำม เจ ริญ ท ำง เศ รษ ฐกิ จ ลัก ษ ณ ะพื้ น ฐำน ด้ำน ป ระช ำก ร ที่ ดิน ท ำกิ น
ดังนั้นจะเห็นว่ำควำมเกี่ยวผันของกำรทำลำยสิ่งแวดล้อมกับควำมมั่นคงจึงอยู่ที่ว่ำ จะเกิดขึ้นที่จุดใด
เมื่อใด โดยของประเทศไทยนั้นจะเกิดอย่ำงต่อเนื่อง โดยแฝงมำในรูปแบบกำรพัฒนำเศรษฐกิ จ
เน้ น ข ย ำย พื้ น ที่ ป ลู ก พื ช ไร่ บุ ก รุ ก ป่ ำ สง ว น แต่ ถ้ำม อ ง ใน มุ ม ข อ ง รัฐ บ ำ ลนั้ น
จะเป็นกำรเพิ่มทำงเลือกด้ำนนโยบำยมำกขึ้น เพรำะกำรผ่อนปรนให้เกษตรกรไปทำไร่ในเขตสงวน
ทั้งๆที่มีนโยบำยให้สงวนป่ำไว้แต่แรก
ปัญหำของประเทศไทยในปัจจุบันเป็นปัญหำของระบบเศรษฐกิจทวิภำคที่ภำคธุรกิจเอกชนขยำ
ยตัวอย่ำงรวดเร็ว ในขณะที่ภำคเศรษฐกิจของประชำชนที่เป็นคนจนในเมืองและเกษตรกรรำยย่อย
ลักษณะของระบบเศรษฐกิจทวิภำคซึ่งส่วนเมืองโดยเฉพำะเมืองหลวงกับส่วนชนบทแตกต่ำงกันทำงเศร
ษฐกิจอย่ ำงมำก เพรำะ กำรบริห ำรรวมและอำนำจต่ำงๆยังอยู่ในส่ว นกลำงมำกด้ว ย
และในส่วนชนบทขำดตัวแทนในกำรปกป้องชีวิตควำมเป็นอยู่และตัวแทนในกำรเรียกร้องสิทธิประโยชน์
ต่ำงๆ
เมื่ อเป รีย บ เที ย บ ค ว ำม ต้อง ก ำรข อง รัฐแ ละรำษ ฎ รผู้ย ำก ไร้แ ล้ว เห็ น ว่ ำ
มีควำมต้องกำรเข้ำถึงป่ำเหมือนกัน แต่ต่ำงกันที่ รำษฎรกับป่ำสัมพันธ์กันเชิงเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
เป็นหลัก แต่ของรัฐนั้นนอกจำกมีด้ำนเศรษฐกิจแล้ว ยังมีทำงด้ำนกำรทหำรและกำรเมืองอีกด้วย
โดย จะเห็นได้จ ำก กำรที่รัฐเพิ่มค ว ำมสำมำรถในก ำรเข้ำถึงป่ ำด้วย กำรสร้ำงถนนก็ดี
หรือกำรดำรงอธิปไตย ล้วนมำจำกกำรพิจำรณำด้ำนควำมมั่นคงทำงกำรทหำรและทำงกำรเมืองทั้งสิ้น
เห็นได้จำกกรณีศึกษำที่กล่ำวมำ
ควำมขัดแย้งด้ำนสิ่งแวดล้อม คือ ค วำมขัดแย้งที่เกิดจำกกำรเข้ำถึงท รัพยำกร
ก ำ ร ใ ช้ ส อ ย ท รั พ ย ำ ก ร ห รื อ ก ำ ร เ ป็ น เ จ้ ำ ข อ ง ก ร ร ม สิ ท ธิ์
มีที่ ม ำ จ ำก ก ำรเข้ ำถึง ป่ ำเพื่ อรัก ษ ำ ค ว ำ ม มั่น ค ง ท ำง ก ำ รท ห ำรแ ล ะ ก ำรเ มือ ง
เพ ร ำที่ ดิ น มี ค ว ำ ม ส ำ คั ญ กั บ รัฐ ม ำก ก ว่ ำค น ที่ เ ป็ น เ พี ย ง เ ค รื่ อ ง มื อ ดั ง นั้ น
รำษฎรอีสำนจึงเป็นเพียงเครื่องมือไม่ใช่เป้ำหมำยของรัฐ เป้ำหมำยของรัฐคือ กำรมีอำนำจครอบงำ
ปกครองพื้นที่ ซึ่งคนเป็นส่วนหนึ่งในพื้นที่นั้น เมื่อรัฐสำมำรถเข้ำถึงและจัดกำรกับพื้นที่นั้นได้
รั ฐ จึ ง หั น ม ำ จั ด ก ำ ร กั บ ค น ซึ่ ง เ ป็ น ต้ น เ ห ตุ ใ ห้ เ กิ ด ค ว ำ ม ขั ด แ ย้ ง
ดังที่ปรำกฏในกรณีของป่ำดงใหญ่และโครงกำรจัดที่ดินทำกินให้รำษฎรผู้ยำกไร้ (คจก.)
และทหำรได้ปรับเปลี่ยนบทบำทกลำยมำเป็นหน่วยงำนหลักที่ประสำนกำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติ
เ พ ร ำ ะ พื้ น ที่ ป่ ำ เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง ดิ น แ ด น
โดยเฉพำะป่ำที่มีแนวโน้มว่ำจะกลับไปเป็นพื้นที่ที่มีปัญหำด้ำนควำมมั่นคงของรัฐ
ก ำร ก่ อ ก ำ ร ร้ำ ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น อ ย่ ำ ง ต่ อ เ นื่ อ ง ไป กั บ ก ำ ร พั ฒ น ำ ป ร ะ เ ท ศ
เป็ น เงื่ อ น ไข ส ำคั ญ ที่ ท ำให้ เ กิ ด ค ว ำม ขั ด แ ย้ ง ท ำง สิ่ง แ ว ด ล้อ ม เพิ่ ม ม ำก ขึ้ น
เนื่ อ ง จ ำ ก รัฐ ได้น ำ ทั้ง ด้ำ น ก ำ รรัก ษ ำ ค ว ำม มั่น ค ง ด้ ำน ก ำร พัฒ น ำเศ รษ ฐกิ จ
ภ ำ ค ช น บ ท มี ค ว ำ ม ส ำ คั ญ ต่ อ รัฐ ใ น ด้ ำ น ค ว ำ ม มั่ น ค ง ท ำ ง ก ำ ร ท ห ำ ร
เพรำะรัฐมีเป้ำหมำยเพื่อควบคุมรำษฎรในชนบทนั้น ถ้ำรัฐมีควำมสำมำรถเข้ำถึงชนบทได้ยำกเพียงใด
ค น ใน ช น บ ท นั้ น ก็ จ ะ ยิ่ ง เ ข้ ำ ถึ ง ท รัพ ย ำ ก ร ธ ร ร ม ช ำ ติ แ ล ะ ใช้ ส อ ย ไ ด้ ม ำ ก
ซึ่งจะทำให้เกิดควำมขัดแย้งระหว่ำงรำษฎรและรัฐ
ใ น ก ำ ร ศึ ก ษ ำ ค ว ำ ม ขั ด แ ย้ ง ด้ ำ น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
จึงได้มีกำรใช้ตัวแบบในกำรศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรัฐกับประชำสังคม ในลักษณะสำมมิติ คือ
ค ว ำ ม มั่ น ค ง ก ำ ร พั ฒ น ำ แ ล ะ ก ำ ร มี ส่ ว น ร่ ว ม
มำใช้ในก ำรวิเครำะห์ผลกระทบ จำก กำรใช้และแบ่ งปันท รัพยำกรที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม
ได้ผลสรุปว่ำควำมมั่นคงและกำรพัฒนำที่ขำดกำรมีส่วนร่วมนั้นมีผลให้รัฐกับรำษฎรมีควำมขัดแย้งเพิ่มม
ำก ขึ้ น ค ว ำม สัม พัน ธ์ใน มิติต่ ำง ๆ นั้น จะเ ป็ น ใน รู ป แ บ บ ข อ ง เห ตุ ก่ อให้ เกิ ด ผ ล
เมื่อรัฐยังเป็นศุนย์กลำงในกำรกำหนดควำมมั่นคง กำรพัฒนำและกำรแบ่งปันกำรใช้ทรัพยำกร
ก็จะส่งผลให้เกิดควำมขัดแย้งต่อไปเรื่อยๆ
มิติควำมสัมพันธ์จะมีผลต่อกำรเป็นลูกโซ่ ในกำรวิเครำะห์ควำมขัดแย้งโดยอำศัยกรณีศึกษำ
เพ รำ ะก ร ณี ต่ ำ ง ๆ มีร ำย ล ะ เอีย ด ที่ แ ต ก ต่ ำง กั น ไป โด ย เ ฉ พ ำะ ผู้ก ระท ำ ก ำ ร
กำรใช้กรณีศึกษำโดยเชื่อมโยงกับกำรวิเครำะห์แบบมหภำคนั้นมีประโยชน์มำกกว่ำกำรใช้ตัวแบบควำม
ขัดแย้ง ที่มีตัว แป รเพีย ง สองถึงสำม ตัว เช่ น ค ว ำม ไม่เท่ ำเที ย ม เศ รษ ฐกิจตกต่ ำ
ดั ง เ ช่ น ก ร ณี สึ ก ษ ำ ที่ ย ก ตั ว อ ย่ ำ ง ม ำ 2
กรณีจะเห็นว่ำนโยบำยของรัฐต้องกำรส่งเสริมภำคธุรกิจของเอกชนในด้ำนอุตสำหกรรม
ท ำให้ มีผ ลก ระท บ ถึง ป ระช ำช น โด ย ตรง แ ละเป็ น เห ตุ ที่ ท ำให้ เกิ ด กำรขั ดแ ย้ ง
แท นที่รัฐจะมีนโย บ ำย ฟื้นฟู ธรรมช ำติในระย ะเว ลำที่กำรถือค รอง ที่ดินยัง มีผลอยู่
และยุตินโยบ ำยผ่อนป รนกับประชำชยเพรำะห มดควำมจำเป็นในกำรช่วงชิงป ระชำช น
ทำให้ไทยในปัจจุบันมีสถำรกำรณ์ที่ล่อแหลมต่อกำรไร้ควำมมั่นคงเป็นอย่ำงมำก
ใน อ ดี ต ป ร ะเ ท ศ ไท ย จ ะมี ร ะ บ บ ก ำ รป ก ค ร อ ง ที่ ไ ม่ ใช่ ป ร ะช ำ ธิป ไต ย
และขำดกำรมีส่วนร่วมทำงกำรเมือง ประกอบกับสถำนกำรณ์ต่ำงๆที่ส่อถึงควำมมั่นคงของรัฐ
ก็ได้เปลี่ยนระบบกำรปกครองจำกเผด็จกำรให้มีควำมผ่อนปรนกับประชำชนมำกขึ้น และในปัจจุบัน
ผลที่ตำมมำจำกกำรก่อกำรร้ำยอย่ำงต่อเนื่องได้ทำให้เกิดองค์กรและกิจกรรมที่เกี่ยวกับกำรจัดกำรทรัพย
ำกรธรรมชำติ โดยเป็นองค์กรที่เกี่ยวกับกำรปรำบปรำมกำรก่อกำรร้ำยทำให้กำรก่อกำรร้ำยลดจำนวนลง
โด ย มีน โย บ ำย แล ะม ำต รก ำรที่ ไม่ ตั้ง ใจ ให้ เกิ ด ผ ลล บ ต่ อค ว ำม มั่น ค ง ข อง ช ำ ติ
ต ำ ม ข้ อ เ ส น อ ข อ ง ส ภ ำ ค ว ำ ม มั่ น ค ง
ซึ่งในกรณีข องกำรสร้ำงท ำงเป็นกำรเกี่ยวโยงกับ มำตรกำรคว ำมมั่นค งท ำงกำรทห ำร
แต่ก็ ยังเป็ นโช ค ดีข องป ระเท ศ ไท ย ที่รูป แบ บ กำรก่ อกำรร้ำย นั้นจะเป็ น กำรกด ขี่
กำรที่ภำคธุรกิจเอกชนมีควำมร่ำรวยมำกขึ้น โดยกำรเบียดเบียนประชำชนยังไม่ชัดเจน
ท ำ ใ ห้ ก ำ ร ก่ อ ก ำ ร ร้ ำ ย ยื ด เ ยื้ อ แ ต่ ใ น ปั จ จุ บั น ก ำ ร ไ ด้ เ ป รี ย บ -
เสีย เป รียบ ระห ว่ ำงภำค เศ รษฐกิจข องธุรกิจเอกช นกับ ข องป ระชำช นเริ่มชัดเจนขึ้น
โดยสังเกตุได้จำกกำรรุกคืบของภำคเอกชนเพื่อครอบครองพื้นที่ใหญ่ๆและสร้ำงสถำนที่ท่องเที่ยว
เพรำะควำมมั่นคงทำงกำรทหำรมีมำกขึ้น ภัยจำกกำรก่อกำรร้ำยในพื้นที่ห่ำงไกลก็กลำยเป็นพื้นที่สงบ
ก ำ ร ล ง ทุ น จึง เ กิ ด ขึ้ น ค ว ำม ขั ด แ ย้ ง จึ ง เ กิ ด ขึ้ น ต ำ ม ม ำ จึง อ ำ จ ก ล่ ำ ว ได้ ว่ ำ
"เมื่อรัฐมีคว ำมไม่มั่นค งท ำงท ห ำรป ระชำช นได้รับ ค วำมมั่นค งในกำรประกอบอำชีพ
แต่เมื่อรัฐได้ควำมมั่นคงทำงหทำรแล้วประชำชนกลับมีควำมไม่มั่นคงในชีวิตควำมเป็นอยู่"
ควำมมั่นคงกับสิ่งแวดล้อมในกรณีงำนวิจัยนี้ เป็นกำรศึกษำควำมสัมพันธ์ระดับภำยในสังคม
ซึ่งต่ำงกับกระแสหลักทั่วไปในกำรศึกษำด้ำนนี้ที่จะเป็นกำรศึกษำในระดับโลก เพรำะปัญหำควำมมั่นคง
ปัญหำสิ่งแวดล้อมมักได้รับควำมสนใจจำกคนทั้งโลก แต่ควำมร่วมมือต่ำงๆนั้นเป็นไปได้ยำก
เพ รำ ะ ผ ล ป ร ะ โย ช น์ ข อ ง ช ำติ ที่ เป็ น เงื่ อ น ไข ส ำคั ญ เ มื่ อ พิ จ ำ รณ ำ ดีๆ แ ล้ ว
ปั ญ ห ำ ค ว ำ ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ ำ ง ค น กั บ ธ ร ร ม ช ำ ติ
เรำจะพบว่ำกลุ่มชนหรือชนชั้นนั้นมีผลกระทบโดยตรงต่อสิ่งแวดล้อม
กรณีศึกษำควำมขัดแย้งระหว่ำงกลไกของรัฐกับรำษฎรมีควำมเหมำะสมในแง่ของกำรนำปัจจัยท
ำ ง วั ฒ น ธ ร ร ม ม ำ เ ป็ น ตั ว แ ป ร ใ น ก ำ ร วิ เ ค ร ำ ะ ห์
เพ รำะวัฒ นธรรมข อง รำช กำรเป็ น วัฒ น ธรรม ห ลัก ที่ เน้นค ว ำมมั่น ค ง และพัฒ น ำ
มี ลั ก ษ ณ ะ ที่ เ รี ย ก ว่ ำ เ ท ค นิ ค นิ ย ม
ส่วนวัฒ นธรรมข องป ระช ำชนที่เน้นกำรสอดค ล้องกับ ธรรมช ำติเรียกว่ำนิเท ศ น์นิย ม
ค ว ำม ขัด แย้ งภ ำย ในสัง ค ม เดีย ว กั บ ที่ เกิด จำก กำรวัฒ นธรรมย่ อย ที่ แตก ต่ำงกั น
ค ว ำ ม ขั ด แ ย้ ง ดั ง ก ล่ ำ ว จึ ง มี รำ ก ลึก ก ว่ ำค ว ำม ขั ด แ ย้ ง ที่ เกิ ด จ ำ ก น โย บ ำ ย
จ ำก ก รณีป่ ำดง ให ญ่ สะ ท้ อนให้ เห็ นถึงค ว ำมแต ก ต่ำง กัน ระ ห ว่ ำงสอง วัฒ นธรรม
จำกที่เห็นได้ว่ ำช ำวบ้ำนห ำพระเป็ นที่พึ่ง สุดท้ำย สะท้อนถึงวัฒ นธรรมข องช ำวบ้ำน
ส่วนทำงรำชกำรอำศัยกฏระเบียบ ข้อบังคับต่อบทบำทของพระสงฆ์ แต่ปัญหำของชำวบ้ำน
แต่ปัญหำของชำวบ้ำนจริงๆนั้นเป็นปัญหำระหว่ำงคนกับธรรมชำติ ไม่ใช่กับกฏระเบียบ
เพ รำะช ำว บ้ ำน มีค ว ำม สำนึ ก ที่ จ ะ อยู่ ร่ว ม กั บ ป่ ำแ ละ ธ รรมช ำติอย่ ำง ก ลม ก ลืน
ทำงรำชกำรกลับมีควำมคิดในกำรจัดกำรป่ำเปลี่ยนไปตำมสถำนกำรณ์
กำรวิเครำะห์ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมมั่นคงกับสิ่งแวดล้อมจึงจำเป็นต้องทำสองระดับควบคู่กัน
คื อ ร ะ ดั บ ม ห ภ ำ ค แ ล ะ ร ะ ดั บ จุ ล ภ ำ ค
กำรใช้กรอบกำรวิเครำะห์แบบมหภำคต้องเพิ่มปัจจัยทำงวัฒนธรรมเข้ำไปในกำรวิเครำะห์ด้วย
จ ะ ท ำ ใ ห้ ส ำ ม ำ ร ถ เ ข้ ำ ใ น ใ จ ส ถ ำ น ก ำ ร ณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จ ริ ง ไ ด้
กำรพิจำรณ ำแบ บ นี้เกิดขึ้นได้เพ รำะมีกำรอำศัย ไตรลักษณ รัฐแย กมิติค วำมมั่นค ง
และกำรพัฒนำว่ำมีวัฒนธรรมที่ต่ำงไปจำกวัฒนธรรมของประชำสังคม ตัวแบบของ Homer-Dixon
ที่นำมำเป็นตัวอย่ำงของกำรวิเครำะห์ที่มีข้อบกพร่องนั้นไม่ได้คำนึงถึงปัจจัยด้ำนวัฒนธรรมอย่ำงลึกซึ่ง
เพ รำะ ข ำด ก ำรแ ย ก ค ว ำม มั่น ค ง ก ำรพัฒ น ำ แ ละก ำ รมีส่ว น ร่ว ม ออ ก จำก กั น
โดยสรุปแล้วปัญหำของควำมมั่นคงในตัวของมันเอง และปญหำสิ่งแวดล้อมนัน้มีควำมซับซ้อนอยู่แล้ว
เมื่ อน ำม ำเกี่ ย ว พัน กั น แล้ว ค ว ำมซับ ซ้อ น จะยิ่ ง เพิ่ม ม ำก ขึ้ น ที่ เกี่ ย ว โย ง ถึง กั น
ดังกรณีศึกษำทั้งสองที่ชี้ให้เห็นถึงกระบวนกำรตัดสินใจถูกกำหนกโดยปัจจัยกำรสำเหนียกปัญหำ
งำนวิจัยของเรำเป็นกำรวิเครำะห์พฤติกรรมของรัฐที่มีต่อประชำสังคม ชี้ให้เห็นถึงประเด็นต่ำงๆ
ที่ควำมกำรวิเครำะห์และนำไปสำนต่อ คือ
1.ในสังคมที่กำลังจะพัฒนำ จะมีลักษณะเป็นทวิภำวะ
จนอำจกล่ำวได้ว่ำมีกำรขนำนไประหว่ำงระบบเศรษฐกิจของเมืองและชนบท
ในกำรวิเครำะห์มักจะละเลยในส่วนของชนบทออกไป ย่อมทำให้เกิดควำมเข้ำใจผิด
2.ทวิภำวะก่อให้เกิดควำมขัดแย้งทำงด้ำนนโยบำยของรัฐที่มีต่อส่วนต่ำงๆ
ปัญหำของประเทศที่กำลังพัฒนำคือจุดสมดุลของกำรพัฒนำ
3.ทวิภำวะก่อให้เกิดควำมขัดแย้งในส่วนย่อยของควำมขัดแย้งทำงกำรเมืองเศรษฐกิจและสังคม
เพรำะส่วนรัฐและชนชั้นนำมักจะมีเป้ำหมำย ในขณะที่ประชนชนผู้เสียเปรียบในชนบท
มีเป้ำหมำยที่แตกต่ำงกันไป
4.รัฐไทยเป็นพฤติกรรมที่แสวงหำส่วนเกิน
เพรำะรำชกำรใช้อำนำจเด็ดขำดในกำรแบ่งปันทรัพยำกร ตลอดชนสิทธิประโยชน์อื่นๆ
5.กำรพัฒนำควำมมั่นคงเมื่อถึงในระดับหนึ่ง จะเริ่มมีควำมหมำยเปลี่ยนไป
จนควำมมั่นคงหลำยๆด้ำนเริ่มมีควำมขัดแย้งกันเองเช่น
ทำงกำรทหำรอำจขัดแย้งกับทำงด้ำนสิ่งแวดล้อม
6.ในแง่ของทฤษฎีและแนวคิด มีควำมจำเป็นที่จะต้องคำนึงถึงกรอบมหำภำค
ในกำรพิจำรณำเศรษฐกิจกำรเมืองของควำมขัดแย้ง แทนที่จะมุ่งหำควำมสัมพันธ์โดยตรง
ส่วนที่ 2 เชื่อมโยงแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนกับหนังสือสิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
การพัฒนาที่ยั่งยืน
ในควำมหมำยกำรพัฒนำที่ยั่งยืน หมำยถึง “กำรตอบสนองควำมต้องกำรของคนรุ่นปัจจุบัน
โดยไม่มีผลกระทบในทำงลบต่อควำมต้องกำรของคนรุ่นต่อไปในอนำคต”
ซึ่งในกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืนสำมำรถแบ่งออกได้หลำกหลำยมิติ
มิติทางสังคม จะต้องรวมหมำยถึง วัฒนธรรม และภูมิปัญญำท้องถิ่น ซึ่งเป็นระเบียบวิถีชีวิต
ของสังคม
ที่ทำให้มนุษย์ปรับตัวและดำรงชีวิตอยู่กับสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่นได้ โดยไม่ทำลำยสิ่งแวดล้อม
และให้รวมถึงศำสนำธรรม ซึ่งเป็นระเบียบจิตใจของคนในสังคมที่ทำให้สังคมอยู่ได้โดยสงบสุข สิ่งเหล่ำ
นี้ล้วนถือเป็นกำรสร้ำงเงื่อนไขสังคมใหม่ ให้สังคมมีกำรเปลี่ยนแปลงไปสู่กำรพัฒนำที่พึงปรำรถนำ ก่อใ
ห้เกิดควำมเอื้ออำทร ควำมรัก ควำมสำมัคคี สมำนฉันท์ต่อกัน ชุมชนสังคมมีควำมเข้มแข็ง
มิติสิ่งแวดล้อม หมำยถึง ทุกสิ่งทุกอย่ำงที่อยู่รอบตัวมนุษย์ ทั้งเป็นสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต
เกี่ยวโยงสัมพันธ์กันเป็นระบบนิเวศน์ ที่สำมำรถให้คุณและให้โทษต่อมนุษย์ได้ ทั้งที่ขึ้นกับควำมสมดุล
หรือไม่สมดุลของระบบนิเวศ โดยจะต้องมีกำรอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม
พัฒนำเทคโนโลยีและกำรพลังงำน ที่สะอำด ปลอดภัย ปลอดมลภำวะ เพื่อกำรมีสภำพแวดล้อมที่ดี
มิติเทคโนโลยี หมำยถึง เกิดกำรเลือกใช้ในสิ่งที่เหมำะสมกับควำมต้องกำร
และตอบสนองให้ได้ผลประโยชน์มำกที่สุด รู้จักปรับปรุงให้เหมำะสมกับสภำพแวดล้อมและควำมเป็นจริง
มีกำรพัฒนำภูมิปัญญำของตนเองให้ก้ำวหน้ำ
มิติด้านเศรษฐกิจ กำรทำให้เกิดดุลยภำยของกำรพัฒนำ คือ เศรษฐกิจที่มีรำกฐำนมั่นคง
มีขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันและสำมำรถพึ่งตนเองได้ โดยมีเศรษฐกิจพอเพียงตำมแนวพระรำชดำริ
ของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวเป็นแนวคิดหลัก ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในกำรทำให้คนมีคุณภำพ
ชีวิตที่ดีขึ้น ประชำชนมีควำมมั่นคงปลอดภัย และสำมำรถพึ่งพำตนเองได้ในที่สุด
จำกบทควำมในหนังสือเล่มนี้ได้กล่ำวว่ำเป็นที่ทรำบกันดีว่ำตั้งแต่ส่งครำมโลกครั้งที่สอง
โลกได้ถูกแบ่งเป็น 2 ขั้ว ขั้วหนึ่งมีสหรัฐอเมริกำเป็นผู้นำ และอีกขั้วหนึ่งมีสหภำพโซเวียตเป็นผู้นำ
ทั้งสองขั้วนี้จะแตกต่ำงกันทำงด้ำนอุดมกำรณ์ทำงกำรเมือง และทำงด้ำนกำรจัดระบบเศรษฐกิจ
โดยแต่ละขั้วต่ำงมุ่งเสนอและปฏิบัติกำรทุกวิถีทำงที่จะทำให้อุดมกำรณ์และระเบียบทำงสังคม เศรษฐกิจ
กำรเมือง ของฝ่ำยตนเป็นกระแสหลัก
กำรแข่งขันระหว่ำงสองขั้วได้ก่อให้เกิดกำรเน้นหนักในกำรสร้ำงแสนยำนุภำพทำงกำรทหำรด้วย
กำรแข่งขันทำงกำลังอำวุธ ทั้งที่เป็นอำวุธทันสมัยและอำวุธหลักดั้งเดิมและเมื่อเสร็จสิ้นสงครำมโลกครั้งที่
2 สหรัฐอเมริกำเป็นประเทศที่มั่งคั่งที่สุดในโลกไม่ว่ำจะวัดกันด้วยรำยได้ต่อหัวของประชำกร
ก ำ ร ด ำ ร ง ชี พ ข อ ง ป ร ะ ช ำ ช น ร ะ ดั บ ก ำ ร พั ฒ น ำ อุ ต ส ำ ห ก ร ร ม
อัต รำค ว ำมเจริญ ท ำง เศ รษ ฐกิจห รือฐำนะท ำง กำรค ลัง ส ห รัฐอเมริกำก็เป็ น ผู้น ำ
นอกจำกนั้นกำรผลิตทำงอุตสำหกรรมของโลกมำกกว่ำครึ่งหนึ่ง เป็นกำรผลิตในสหรัฐอเมริกำ
จำกบ ท ค ว ำม นี้ท ำให้ เห็ น ภ ำพ ท ำง ด้ำน กำรพัฒ น ำใน มิติท ำง เท ค โน โล ยี
ที่ ฝ่ ำ ย ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก ำ กั บ ฝ่ ำ ย ส ห ภ ำ พ โ ซ เ วี ย ต
ต่ำงฝ่ำยต่ำงได้นำควำมรู้ทำงด้ำนเทคโนโลยีเข้ำมำเป็นเครื่องมือในกำรแสดงศักยภำพของตนเอง
ซึ่งถ้ำฝ่ำยไหนพัฒนำเทคโนโลยีได้มีประสิทธิภำพมำกกว่ำก็จะเป็นผู้ได้เปรียบกับสงครำมครั้งนี้
จ ำ ก บ ท ค ว ำ ม นี้ แ ส ด ง ว่ ำ
ถึงแม้สงครำมทุกคนจะมองว่ำเป็นสิ่งเลวร้ำยแต่ในควำมเลวร้ำยนั้นได้ก่อให้เกิดกำรพัฒนำทำงด้ำนเทคโ
นโลยีอย่ำงรวดเร็ว
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง

More Related Content

Viewers also liked

กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาดกลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
freelance
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
freelance
 
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
freelance
 
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...
freelance
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
freelance
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
freelance
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
freelance
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
freelance
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
freelance
 
กลุ่มโนโลโก้ --Nologo
กลุ่มโนโลโก้ --Nologoกลุ่มโนโลโก้ --Nologo
กลุ่มโนโลโก้ --Nologofreelance
 
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงานกลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
freelance
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
freelance
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
freelance
 

Viewers also liked (13)

กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาดกลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
 
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...
กลุ่มกระบือตัวที่สี่แห่งกัตตาก้า --สู่คลื่นลูกที่สี่...หลักจากเทคโนโลยีเปลี่ย...
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
 
กลุ่มโนโลโก้ --Nologo
กลุ่มโนโลโก้ --Nologoกลุ่มโนโลโก้ --Nologo
กลุ่มโนโลโก้ --Nologo
 
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงานกลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
 

Similar to กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง

โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยweeraboon wisartsakul
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยweeraboon wisartsakul
 
World issues
World issuesWorld issues
World issues
Teeranan
 
Education reform
Education reformEducation reform
Education reform
Pattie Pattie
 
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...Poramate Minsiri
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155
Teeranan
 
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศบริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
อภิสร แท่นพิทักษ์
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
Teeranan
 

Similar to กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง (8)

โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัย
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัย
 
World issues
World issuesWorld issues
World issues
 
Education reform
Education reformEducation reform
Education reform
 
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155
 
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศบริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 

More from freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
freelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
freelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
freelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
freelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
freelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
freelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
freelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
freelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
freelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
freelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
freelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
freelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
freelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
freelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
freelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
freelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
freelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
freelance
 

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง

  • 1. กลุ่ม ไหน สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง ธรรมวัฒน์ สกลพรรค 54215109 อภิสิทธ์ ถือมั่น 54215124 เรวัตร นิลมงคลเลิศ 54215126 ณัฐวัฒน์ ตั้งธิติพรพงศ์ 54215135 ณัฐวุฒิ ยิ่งอนันต์บวร 54215136 อรรถวัฒน์ ต่อศรีเจริญ 54215148 สิทธิรัตน์ จันทรสิริกำจร 54214843
  • 2. บทที่ 1 สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคงของชาติ กำรศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งแวดล้อมกับควำมมั่นคงของชำติเป็นเรื่องใหม่ที่เพิ่งจะมีกำรตื่ น ตั ว เ มื่ อ ป ล ำ ย ปี ท ศ ว ร ร ษ ที่ 1 9 7 0 หลังจำกนั้นมำควำมสนใจในปัญหำสิ่งแวดล้อมในฐำนะที่เป็นภัยอย่ำงใหม่ต่อควำมมั่นคงก็มีเพิ่มมำกขึ้น คำจำกัดควำม “ควำมมั่นคงแห่งชำติ” ในประเทศตะวันตกโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในสหรัฐอเมริกำ แต่เดิมนั้นให้ควำมสำคัญกับมิติทำงทหำร เช่น กำรเสริมสร้ำงกำลังทำงทหำรของชำติ ขณะที่สงครำมเย็นคลำยควำมตึงเครียดลงในทศวรรษ 1970 คำจำกัดควำมควำมมั่นคงแห่งชำติ สหรัฐอเมริกำก็เริ่มรวมเอำประเด็นปัญหำทำงเศรษฐกิจเข้ำไว้ในตำแหน่งที่สำคัญด้วย “Our Common Future” รำยงำนของคณะกรรมำธิกำรโลกว่ำด้วยสิ่งแวดล้อมและกำรพัฒนำ เ ป็ น แ น ว ค ว ำ ม คิ ด ที่ ไ ด้ รั บ ก ำ ร ต อ ก ย้ ำ อี ก ใ น ปี 1 9 8 7 โ ด ย “ค ว ำ ม คิ ด ทั้ ง ห ม ด เ กี่ ย ว กั บ ค ว ำ ม มั่น ค ง ดั ง ที่ เ ข้ ำ ใจ กั น ม ำ เ ป็ น ป ร ะ เ พ ณี ใน แ ง่ ข อ ง ก ำ ร คุ ก ค ำ ม อ ธิ ป ไต ย ข อ ง ช ำ ติ ท ำ ง ก ำ ร เ มื อ ง แ ล ะ ก ำ ร ท ห ำ ร ต้องขยำยรวมไปถึงผลกระทบจำกควำมกดดันต่อสิ่งแวดล้อมที่ทวีขึ้น ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชำติ ระดับภูมิภำคและระดับโลก ไม่มีหนทำงที่จะแก้ควำมไม่มั่นคงทำงสิ่งแวดล้อมด้วยกำรทหำร” สิ่ง แ ว ด ล้อ ม ห ม ำย ถึง สภ ำพ โด ย ทั่ว ไป ข อ ง ระบ บ นิ เ ว ศ น์ ( ecosystem ) ซึ่งอำจแบ่งได้เป็นสี่ด้ำนใหญ่ๆ คือ ป่ำไม้ พื้นที่รำบ ชำยฝั่งทะเลและแหล่งน้ำ อำกำศ กำรศึกษำคว ำมสัมพันธ์ระห ว่ำงสิ่ง แวดล้อมกับ ค วำมมั่นค งจึงเป็ นกำรศึกษำ คว ำมขัดแย้ง (Conflict) ที่เกิดจำกกำรแย่ งชิงและใช้สอย ท รัพ ยำกรสิ่งแว ดล้อมต่ำง ๆ ซึ่ ง ใ น ส ภ ำ ว ะ ข อ ง ก ำ ร มี ท รั พ ย ำ ก ร จ ำ กั ด ข ำ ด แ ค ล น และมีสภำพเสื่อมโทรมลงเป็นสำเหตุหรือปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหำควำมขัดแย้งระหว่ำงกลุ่มชนด้วย กัน และ/หรือระหว่ำงรัฐกับกลุ่มชน หรือแม้แต้ระหว่ำงรัฐต่อรัฐ โดยจะแบ่งกำรศึกษำออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับนำนำชำติหรือระหว่ำงรัฐ ตั้งแต่ 2 รัฐขึ้นไปจนถึงปัญหำร่วมกันระดับโลก (Global) กับระดับชำติหรือภำยในประเทศ ใ น ปั จ จุ บั น ก ำ ร ศึ ก ษ ำ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม กั บ ค ว ำ ม มั่ น ค ง มักจะเน้นกำรเชื่ อมโยงค วำมเสื่อมโท รมท ำงสิ่งแวดล้อม ( environmental degradation ) กับควำมมั่นคงของชำติโดยผู้ทำกำรศึกษำต่ำงเสนอกรอบควำมคิดและแนวทำงกำรวิเครำะห์ควำมสัมพั นธ์ระหว่ำงตัวแปรต่ำงๆ ในลักษณะที่เป็นควำมสัมพันธ์เชิงเหตุและผลต่อกัน ( Cause Links ) อย่ำงไรก็ดี อำจกล่ำวได้ว่ำ ตัวแบบ ( Model ) ที่ได้จำกกำรศึกษำเหล่ำนี้ยังเป็นตัวแบบที่มีข้อจำกัดอยู่ ใ น ที่ นี้ จ ะ ไ ด้ ก ล่ ำ ว ถึ ง ง ำ น ส ำ คั ญ 3 ชิ้ น
  • 3. ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อกำรปรับปรุงตัวแบบที่ใช้วิเครำะห์ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งแวดล้อมกับควำมมั่นคง ต่อไป งำนเหล่ำนี้จะได้แก่ งำนของ Daniel Deudney Deudney ไม่เห็นด้วยที่จะเชื่อมโยงควำมเสื่อมโทรมทำงสิ่งแวดล้อมกับควำมมั่นคงแห่งชำติ โ ด ย ใ ห้ เ ห ตุ ผ ล 3 ป ร ะ ก ำ ร คื อ ใ น ป ร ะ ก ำ ร แ ร ก เขำเห็นว่ำเป็นกำรวิเครำะห์ที่ผิดทำงที่จะถือว่ำควำมเสื่อมโทรมทำงสิ่งแวดล้อมเป็นภยันตรำยอย่ำงหนึ่ง ของควำมมั่นคงแห่งชำติ ทั้งนี้เพรำะจุดเน้นของควำมมั่นคงแห่งชำติซึ่งอยู่ที่ควำมรุนแรงระหว่ำงรัฐนั้น มีควำมเกี่ยวข้องกับปัญหำหรือกำรแก้ปัญหำด้ำนสิ่งแวดล้อมน้อยมำก ในประกำรที่สอง ค ว ำ ม พ ย ำ ย ำ ม ที่ จ ะ ล ด พ ลั ง อ ำ ร ม ณ์ ด้ ำ น ช ำ ติ นิ ย ม ล ง โดยหวังที่จะก่อให้เกิดกำรระดมพลังเพื่อให้เกิดกำรตระหนักในปัญหำสิ่งแวดล้อมและให้มีกำรดำเนินกำร แ ก้ ไ ข นั้ น อ ำ จ เ ป็ น ผ ล เ สี ย ไ ด้ แ ล ะ ใ น ป ร ะ ก ำ ร ที่ ส ำ ม ควำมเสื่อมโทรมทำงสิ่งแวดล้อมจะก่อให้เกิดสงครำมระหว่ำงรัฐได้ยำก งำนของ Homer-Dixon Homer-Dixon เป็นนักวิชำกำรที่อยู่ในกลุ่มที่เห็นว่ำปัญหำสิ่งแวดล้อมกำลังกลำยเป็นปัญหำที่มีผลสะเทือนโดยตรงต่อระ บ บ ค ว ำ ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ ำ ง ป ร ะ เ ท ศ และต้องกำรวิเครำะห์ว่ำกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนสิ่งแวดล้อมขนำนใหญ่จะก่อให้เกิดควำมขัดแย้งอย่ำงรุนแร ง ใน ร ะ ดั บ ช ำ ติ แ ล ะ น ำ น ำ ช ำ ติ ไ ด้ ห รือ ไ ม่ อ ย่ ำ ง ไ ร ง ำ น ข อ ง Homer-Dixon เป็นกำรเสนอกรอบกำรวิเครำะห์เบื้องต้นสำหรับปัญหำกำรเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมกับควำมขัดแย้ง ทั้ ง ที่ รุ น แ ร ง แ ล ะ ไ ม่ รุ น แ ร ง โดยเสนอสมมติฐำนที่เป็นระบบเกี่ยวกับควำมเชื่อมโยงระหว่ำงกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนสิ่งแวดล้อมกับควำ มขัดแย้งที่รุนแรง ทั้งนี้โดยอำศัยพื้นฐำนด้ำนทฤฎีควำมขัดแย้งทำงสังคม ( Social Conflict Theory ) Homer-Dixon แ ย ก แ ย ะ ปั ญ ห ำ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม อ อ ก เ ป็ น 7 ก ลุ่ ม และเชื่อมโยงปัญหำดังกล่ำวกับผลกระทบทำงสังคม 4 ประเภท ซึ่งจะนำไปสู่ควำมขัดแย้ง 3 ด้ำนด้วยเช่นกัน ปัญหำสิ่งแวดล้อม 7 กลุ่มที่ประเทศกำลังพัฒนำกำลังเผชิญอยู่ได้แก่
  • 4. สำหรับผลกระทบทำงสังคมของกำรเปลี่ยนแปลงทำงสิ่งแวดล้อมในประเทศที่กำลังพัฒนำนั้นได้แก่ 1. กำรลดลงของคุณภำพทำงกำรผลิตเศรษฐกิจ 2. กำรเปลี่ยนแปลงในกำรผลิตทำงกำรเกษตรของภูมิภำค 3. กำรเคลื่อนย้ำยประชำกร (กำรพลัดที่นำคำที่อยู่) 4. กำรแตกแยกของสถำบัน และพฤติกรรมทำงสังคม ผลกระทบด้ำนสังคมทั้งสี่นี้ต่ำงเกี่ยวโยงกันและกันดังภำพ (ซึ่งแทนด้วยเลข 1 – 4 ตำมหัวข้อข้ำงต้น) เมื่อเกิดผลกระทบด้ำนสังคม 4 ประกำรนี้แล้ว ก็จะเกิดควำมขัดแย้ง 3 ประเภท คือ 1. ควำมขัดแย้งที่เกิดจำกควำมขำดแคลนขั้นพื้นฐำน 2. ควำมขัดแย้งด้ำนกำรสูญเสียเอกลักษณ์ของกลุ่ม 3. ควำมขัดแย้งเชิงเปรียบเทียบและกำรเกิดกำรก่อกำรร้ำย ภำพข้ำงล่ำงแสดงประเภทของควำมขัดแย้งที่มักจะเกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมในประเทศที่กำลั งพัฒนำ
  • 5. โด ย สรุป แล้ว ก ำรต่ อสู้และค ว ำม ขั ด แย้ ง ที่ รุน แรง อำจ เกิ ดขึ้ น ได้ เพ รำะ กลุ่มชนในสังคมเชื่อว่ำโอกำสที่จะก่อให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงสันตินั้นถูกปิดกั้นหมด ต ำ ม ค ว ำ ม เ ห็ น ข อ ง Homer-Dixon นั้ น กำรที่ประสิทธิภำพทำงกำรผลิตลดต่ำลงบวกกับกำรแตกสลำยของสถำบันจะนำไปสู่ควำมขัดแย้งประเภ ท ที่ เ กิ ด จ ำ ก ค ว ำ ม รู้ สึ ก ถู ก ก ด ขี่ เ ชิ ง เ ป รี ย บ เ ที ย บ แ ล ะ ค ว ำ ม ขั ด แ ย้ ง เ ช่ น นี้ ก็ จ ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ก ำ ร ต ก ต่ ำ ท ำ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ และกำรแยกสลำยของสถำบันได้ด้วยเช่นกัน งำนของ Celso R. Roque ง ำ น ข อ ง Roque เกี่ยวกับปัญหำที่มีควำมชัดเจนและเป็นรูปธรรมมำกขึ้นเพรำะเป็นกรณีศึกษำอย่ำงละเอียด แ ล ะ มี ป ร ะ เ ด็ น ที่ จ ำ กั ด ข อ บ เ ข ต ไ ว้ แ ค บ ก ว่ ำ ข อ ง Homer-Dixon ซึ่ ง เ ส น อ ตั ว แ บ บ ที่ มี ส ม ม ติ ฐ ำ น ค่ อ น ข้ ำ ง ก ว้ ำ ง Roque เชื่องโยงควำมไม่เท่ำเทียมกันทำงเศรษฐกิจกับควำมเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมกับกำรต่อสู้ก่อกำรร้ำยใ นฟิลิปปินส์ Roque แ บ่ ง ค ว ำ ม ขั ด แ ย้ ง ที่ เกิ ด จ ำก สิ่ง แ ว ด ล้อ ม อ อ ก เ ป็ น 2 ป ระ เภ ท ประเภทแรกนั้นควำมเสื่อมโทรมในสิ่งแวดล้อมนำไปสู่ควำมขัดแย้งทำงสังคมโดยตรง ประเภทที่สอง มี ค ว ำ ม ซั บ ซ้ อ น ม ำ ก ก ว่ ำ ค ว ำ ม ขั ด แ ย้ ง ป ร ะ เ ภ ท แ ร ก เพรำะกำรทำลำยสิ่งแวดล้อมนำไปสู่กำรตกต่ำทำงเศรษฐกิจ ควำมไม่เท่ำเทียมกันทำงเศรษฐกิจ จนในที่สุดก่อให้เกิดควำมขัดแย้งทำงสังคมได้ Roque อธิบำยควำมขัดแย้งสองประเภทนี้โดยภำพข้ำงล่ำง
  • 6. กำรปรับตัวแบบกับสถำนกำรณ์ในประเทศไทย ตัวแบบของควำมขัดแย้งในกรณีของประเทศจะเป็นดังภำพ กำรศึกษำกรณีของประเทศไทย จะวิเครำะห์ควำมขัดแย้งทั้งสองประเภทนี้ที่ Roque วำงแนวทำงไว้ แม้ว่ ำกำรใช้กรอบ กำ รวิเค รำะห์จะแตกต่ำงไป จำกข อง Roque ในตัว แป รห ลักก็คือ ก ำ ร ท ด แ ท น ก ำ ร ต ก ต่ ำ ท ำ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ด้ ว ย ก ำ ร เ ติ บ โ ต ท ำ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ว่ำเป็นตัวแปรที่ก่อให้เกิดทั้งควำมไม่เท่ำเทียมกันทำงเศรษฐกิจและควำมเสื่อมโทรมของสภำพแวดล้อม
  • 7. บทที่ 2 จากความไม่มั่นคงสู่การพัฒนา เป็ นที่ท รำบ กันดีว่ ำตั้งแต่ส่งค รำมโลกค รั้ง ที่สอง โลกได้ถูกแบ่ งเป็ น 2 ขั้ว ขั้ว ห นึ่ ง มีส ห รัฐอ เม ริก ำ เป็ น ผู้น ำ แ ล ะอีก ขั้ว ห นึ่ ง มี สห ภ ำ พ โซ เวี ย ต เ ป็ น ผู้น ำ ทั้งสองขั้วนี้จะแตกต่ำงกันทำงด้ำนอุดมกำรณ์ทำงกำรเมือง และทำงด้ำนกำรจัดระบบเศรษฐกิจ โดยแต่ละขั้วต่ำงมุ่งเสนอและปฏิบัติกำรทุกวิถีทำงที่จะทำให้อุดมกำรณ์และระเบียบทำงสังคม เศรษฐกิจ กำรเมือง ของฝ่ำยตนเป็นกระแสหลัก กำรแข่งขันระหว่ำงสองขั้วได้ก่อให้เกิดกำรเน้นหนักในกำรสร้ำงแสนยำนุภำพทำงกำรทหำรด้วยกำรแข่ง ขันทำงกำลังอำวุธ ทั้งที่เป็นอำวุธทันสมัยและอำวุธหลักดั้งเดิมและเมื่อเสร็จสิ้นสงครำมโลกครั้งที่ 2 สหรัฐอเมริกำเป็นประเทศที่มั่งคั่งที่สุดในโลกไม่ว่ำจะวัดกันด้วยรำยได้ต่อหัวของประชำกร ก ำ ร ด ำ ร ง ชี พ ข อ ง ป ร ะ ช ำ ช น ร ะ ดั บ ก ำ ร พั ฒ น ำ อุ ต ส ำ ห ก ร ร ม อัต รำค ว ำมเจริญ ท ำง เศ รษ ฐกิจห รือฐำนะท ำง กำรค ลัง สห รัฐอเมริกำก็เป็ น ผู้น ำ นอกจำกนั้นกำรผลิตทำงอุตสำหกรรมของโลกมำกกว่ำครึ่งหนึ่ง เป็นกำรผลิตในสหรัฐอเมริกำ ภำยหลังสงครำมโลกครั้งที่ 2 ของมิติควำมมั่นคง จะเน้นหนักไปในด้ำนกำรสร้ำงกำลังทหำร เพื่อป้ องกันภัยคุก ค ำมจ ำก ป ระเท ศ ค อมมิว นิสต์ เนื่ อง จำก โลกแบ่ งออก เป็ น 2 ขั้ว และกำรเลือกของไทยเรำที่อยู่กับขั้วโลกเสรี ซึ่งนำโดยสหรัฐอเมริกำมีผลทั้งทำงบวกและทำงลบต่อไทย ในด้ำนบวก คือ กำรที่ไทยเป็นรัฐเล็กและยังไม่มีกำลังอำนำจทำงเศรษฐกิจ-กำรทหำรที่กล้ำแกร่งนัก ก็สำมำรถมีหลักประกันในเอกรำช-อธิปไตยของชำติได้จำกพันธมิตรที่เป็นอภิมหำอำนำจ และยังช่ว ยเหลือในท ำงเศ รษฐกิจและกำรศึกษำ-ฝึกอบ รมอีกด้วย แต่ในด้ำนลบ คือ
  • 8. กำรที่เรำกลำยเป็นเสมือน “รัฐลูกน้อง” นโยบำยด้ำนหลักๆ เช่น กำรต่ำงประเทศ กำรทหำร และกำรพัฒ นำเศ รษฐกิจข องเรำถูกกำห นดและชี้นำโดย กำรเมืองข อง “รัฐลูกพี่ ” ผลกระทบสำคัญคือมีกำรเกิดขบวนกำรของพรรคคอมมิวนิสต์ขึ้น ในทศวรรษที่ 1960 ถูกกำหนดให้เป็น “ทศวรรษแห่งกำรพัฒนำ” โดยสหรัฐอเมริกำยกเอำ “กำรพัฒนำ” ม ำ เ ป็ น อุ ด ม ก ำ ร ณ์ ใ ห ม่ ใ น ก ำ ร ต่ อ สู้ กั บ ฝ่ ำ ย ค อ ม มิ ว นิ ส ต์ แนวคิดเกี่ยวกับกำรพัฒนำที่สหรัฐอเมริกำนำมำเผยแพร่กับประเทศไทยก็ยังคงเป็นแนวคิดที่เน้นกำรเติ บโตทำงเศรษฐกิจและกำรใช้ทรัพยำกรธรรมชำติเพื่อพัฒนำมำกกว่ำกำรแสวงหำควำมเหมำะสมระหว่ำง กำรพัฒนำเศรษฐกิจกับกำรรักษำทรัพยำกรและสิ่งแวดล้อม ดั ง นั้ น จึ ง ก ล่ ำ ว ไ ด้ ว่ ำ ในสองทศวรรษแรกแห่งกำรพัฒนำนั้นประเทศไทยตกอยู่ในกระแสกำรพัฒนำเศรษฐกิจที่มิได้มีกำรตระห นักถึงกำรสงวนรักษำสิ่งแวดล้อมเลย จึงส่งผลให้ประเทศไทยต้องเผชิญกับปมปัญหำที่แก้ไม่ตกคือ ควำมเหมำะสมระหว่ำงกำรพัฒนำเศรษฐกิจแบบเร่งกำรเติบโตของอุตสำหกรรม ปั ญ ห ำ ที่ คิ ด กั น ไ ม่ ต ก เ มื่ อ มี น โ ย บ ำ ย ใ ห ม่ คื อ ไทยเสื่อมโสมลงจนอยู่ในขั้นวิกฤตเพรำะผลจำกกำรใช้สอยทรัพยำกรธรรมชำติอย่ำงเกินขอบเขตและกำ รเ ร่ง พั ฒ น ำอุ ต ส ำห ก ร รม เพื่ อ บ รร ลุ ถึง ก ำ ร เป็ น ป ระ เ ท ศ อุ ต ส ำห ก ร รม ให ม่ ทำให้เกิดกำรขัดกันอย่ำงรุนแรงระหว่ำงกำรเติบโตของพลังภำยในประเทศสองด้ำน ความหมายของ “ป่า” ที่เปลี่ยนแปลงไป ป่ำไม้จะมีควำมหมำยที่ชัดเจนในฐำนะที่เป็นส่วนประกอบที่สำคัญยิ่งอย่ำงหนึ่งของระบบนิเวศน์ แต่ในควำมห มำยท ำงกำรเมือง-กำรทห ำรของป่ำก็มีนัย สำคัญ ต่อนโย บำยข องรัฐด้ว ย ยิ่ ง ภ ำ ย ห ลั ง ก ำ ร รุ่ ง เ รื อ ง ข อ ง วิ ท ย ำ ศ ำ ส ต ร์ แ บ บ นิ ว ตั น ด้ ว ย แ ล้ ว ธรรมชำติยิ่งกลำยเป็นเพียงระบบกลไกแบบหนึ่ง ที่มหนุษย์ใช้ประโยชน์ควบคู่กับกำรเอำรัดเอำเปรียบ ใ น อ ดี ต ห ำ ก ป่ ำ ไ ม่ เ ป็ น ส ว น ที่ ส ง บ บ ริ สุ ท ธิ์ ก็เป็นส่วนที่อันตรำยต้องระแวดระวังเป็นพิเศษที่จะเข้ำไปแต่ในทำงเศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรมนั้น ป่ำเป็นส่วนที่ล้ำหลัง ลำบำก ยำกแค้น และมีวัฒนำธรรมที่ต่ำกว่ำเมือง ดั ง นั้ น ก ำ ร ข ย ำ ย ตั ว ท ำ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ก ำ ร เ พิ่ ม ขึ้ น ข อ ง พ ล เ มื อ ง ข้อจำกัดทำงเทคโนโลยีกำรผลิตนำไปสู่กำรขยำยพื้นที่กำรทำมำหำกินมำกกว่ำกำรเพิ่มผลผลิตในที่ดินก น่วยเดิม ล้วนแต่มีผลทำให้เกิดกำรใช้ประโยชน์จำกทรัพยำกรธรรมชำติอย่ำงรุนแรงและต่อเนื่อง จึง เ กิ ด ป ฏิ กิ ริย ำ ลู ก โซ่ ที่ เ กิ ด จ ำก ค ว ำ ม ไม่ ส ม ดุ ล ร ะห ว่ ำ ง ก ำร พั ฒ น ำ เมื อ ง - ชนบทกับควำมมั่นคงทำงทหำรที่นำไปสู่ควำมไม่มั่นคงหรือภยันตรำย ความไม่มั่นคงผลักดันการพัฒนา
  • 9. ควำมสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์-ลูกน้องนี้มักเกิดขึ้นในบริเวณที่อยู่ใกล้เคียงกับเส้นทำงคมนำคม ดั ง นั้ น ร ะ บ บ ดั ง ก ล่ ำ ว จึ ง ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ก ำ ร จั ด ส ร ร ใ ช้ ท รั พ ย ำ ก ร ซึ่งยังไม่มีเจ้ำของและรัฐยังคงสงวนควำมเป็นเจ้ำของไว้อย่ำงกว้ำงขวำงจนอำนำจรัฐไม่อำจติดตำมดูแลไ ด้อย่ำงทั่วถึง โดยประชำชนที่อยู่ในท้องที่ที่ห่ำงไกล ประชำชนเหล่ำนี้จะหันไปหำควำมคุ้มครองจำก พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ซึ่งจะได้รับกำรสนับสนุนจำกประชำชนตำมพื้นที่ที่ทำงรัฐเข้ำไม่ถึง ดังนั้นควำมไม่มั่นคงของรัฐไทย จึงมิได้เกิดขึ้นจำกกำรไร้กรรมสิทธิ์เพรำะกำรสูญเสียที่ดินทำกิน แต่เกิดจำกควำมต้องกำรใช้ทรัพยำกรธรรมชำติในอำณำบริเวณที่ยังไม่มีผู้จับจองกรรมสิทธิ์ จ ำ ก ก ำ ร ที่ รั ฐ ไ ม่ ส ำ ม ำ ร ถ มี น โ ย บ ำ ย ที่ ชั ด เ จ น ใ น เ รื่ อ ง นี้ ไ ด้ จึงก่อให้เกิดปัญหำของกำรที่ประชำชนจะต้องอำศัยอำนำจบำงอย่ำงมำป้ องกันกรรมสิทธิ์ ซึ่งขัดแย้งกับกรรมสิทธิ์ตำมกฎหมำย ยิ่งรัฐใช้อำนำจตำมกฎหมำยกดดันประชำชนมำกเท่ำใด พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยก็ยิ่งเติบโตมำกเท่ำนั้น ควำมไม่มั่นคงของรัฐจึงมีลักษณะสองด้ำน คือ ในอำณำบริเวณที่อำนำจรัฐไปถึงนั้น อำนำจรัฐก็จะผูก พันกับ อำนำจ-อิท ธิพลข องเจ้ำพ่ อท้ องถิ่นต ำงๆ อีก ด้ำนห นึ่งนั้น ใ น อ ำ ณ ำ บ ริ เ ว ณ ที่ อ ำ น ำ จ รั ฐ ยั ง ไ ป ไ ม่ ถึ ง ยั ง อ่ อ น แ อ อ ยู่ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยก็จะเข้ำมำแทนที่โดยมีหน้ำที่สำคัญในกำรป้องกันมิให้อำนำจรัฐเข้ำม ำ ถึ ง อ ำ ณ ำ บ ริ เ ว ณ เ ห ล่ ำ นั้ น กำรที่พรรค คอมมิว นิสต์แห่ งประเทศ ไท ย ยึดยุท ธศ ำสตร์แบ บ จีนคือใช้ป่ ำล้อมเมืองนี้ มีผลทำให้ป่ำที่ยังอุดมสมบูรณ์อยู่กลำยเป็นอำณำบริเวณของรัฐที่มีควำมหมำย มิใช่ในทำงทรัพยำกร- เศรษฐกิจแต่เพียงด้ำนเดียว หำกมีควำมห มำยท ำงกำรเมือง-ค วำมมั่นคงตำมไปด้ว ย ค ว ำ ม แ ต ก ต่ ำ ง ร ะ ห ว่ ำ ง พื้ น ที่ สี ข ำ ว -สี ช ม พู -สี แ ด ง จึงครอบซ้อนไปบนควำมแตกต่ำงระหว่ำงพื้นที่ทำกินของประชำชนอีกด้วย โดยพื้นที่สีชมพู-สีแดง ก็คือ พื้น ที่ น อ ก เข ต ช ล ป ระ ท ำน เป็ น เ ข ต ช น บ ท ที่ อ ยู่ ห่ ำ ง ไก ล แล ะ ที่ สำ คัญ ก็ คื อ มักจะประกอบด้วยอำณำบริเวณของกำรใช้ทรัพยำกรที่ทำกิน ซึ่งรัฐมิได้รับรองกรรมสิทธิ์ จ ำ ก ข้ อ มู ล ข้ ำ ง ต้ น เรำจึงเห็นว่ำในระยะแรกของควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมไม่มั่นคงกับกำรพัฒนำนั้น กำรแบ่งสรร - ใช้ ท รัพ ย ำ ก ร ธ ร ร ม ช ำ ติ ยั ง มิ ใช่ ปั จ จั ย ที่ ก่ อ ให้ เกิ ด ค ว ำม ไม่ มั่น ค ง เ พิ่ ม ขึ้ น ในทำงตรงกันข้ำมทรัพยำกรธรรมชำติที่ค่อนข้ำงอุดมสมบูรณ์มีส่วนในกำรช่วยให้ประชำชนในชนบทจำ นวนมำกมีทำงเลือกและทำงออก เพรำะยังมีที่ทำกินและยังสำมำรถไปหักร้ำงถำงพงได้ ซึ่งสภำวะนี้กำลังหมดไปในปัจจุบัน ด้ ว ย เ ห ตุ นี้ เ อ ง รั ฐ จึ ง เ ริ่ ม ก ำ ร พั ฒ น ำ โ ด ย ที่ ไ ม่ มี ปั ญ ห ำ - ข้ อ จ ำ กั ด ท ำ ง ด้ ำ น ท รั พ ย ำ ก ร ธ ร ร ม ช ำ ติ ม ำ ก นั ก แ ท้ จ ริง แ ล้ว รัฐ มิได้ เห็ น ค ว ำ ม จ ำ เป็ น ค ว ำ ม ส ำ คัญ เ รื่อ ง ก ำ รป ฏิ รู ป ที่ ดิน เล ย ห ำ ก มุ่ ง ส ร้ ำ ง โ ค ร ง ส ร้ ำ ง พื้ น ฐ ำ น ที่ เ ป็ น ถ น น ห น ท ำ ง ไ ฟ ฟ้ ำ
  • 10. ตลอดจนขยำยหน่วยงำนของรัฐออกไปยังส่วนภูมิภำค และส่วนท้องถิ่นอย่ำงกว้ำงขวำง โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งหน่วยงำนทำงด้ำนกำรรักษำควำมสงบเรียบร้อยภำยใน เครื่องบ่งชี้ควำมรุนแรงจองสถำนกำรณ์กำรก่อกำรร้ำยในประเทศไทยเริ่มมีขึ้นตั้งแต่ มีกำรจัดตั้งหน่วยงำนของรัฐที่มีภำรกิจเฉพำะเจำะจงในกำรดำเนินกำรแก้ปัญหำดังกล่ำว คือ วันที่ 24 ธันวำคม 2508 คณะรับมนตรีได้จัดตั้ง กองอำนวยกำรป้องกันและปรำบปรำมคอมมิวนิสต์ (กอ.ปค.) ขึ้น ให้มีควำมรับผิดชอบในกำรปรำบปรำมผู้ก่อกำรร้ำยคอมมิวนิสต์ทั่วประเทศ ยกเว้นบริเวณภำคใต้ กำรตระหนักถึงภัยคุคำมควำมมั่นคงของประเทศไทยเริ่มมีขึ้นนับตั้งแต่ปี พ.ศ.2504 ซึ่งในปีนั้น ค อ ม มิ ว นิ ส ต์ ใ น ล ำ ว แ ล ะ เ วี ย ด น ำ ม เ ห นื อ สำมำรถยึดค รอง พื้นที่ ป ระเท ศ ลำวไว้ได้ทั้งห มดจ รดจ นช ำย แดนริมฝั่ง แม่น้ ำโข ง จังหวัดที่มีอำณำบริเวณดังกล่ำวติดต่อกับลำว ได้แก่ เชียงรำย น่ำน เลย หนองคำย นครพนม มุกดำหำร และอุบลรำชธำนี จึงเป็นจุดยุทธศำสตร์ที่สำคัญ โค ร ง ก ำ ร ก่ อ ส ร้ำ ง แ ล ะ บู ร ณ ะ ท ำ ง ห ล ว ง 7 ปี พ .ศ . 2 5 0 8 -2 5 1 4 เป็นควำมพยำยำมอย่ำงเป็นระบบครั้งแรกในกำรก่อสร้ำงโครงข่ำยทำงหลวงสำยประธำน ใน ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น ก็ ไ ด้ มี โค ร ง ก ำ ร ก่ อ ส ร้ำ ง แ ล ะ บู ร ณ ะ ท ำ ง ห ล ว ง จั ง ห วั ด เป็นโครงกำรเสริมแผนแม่บทสนับสนุนแผนก่อสร้ำงและบูรณะทำงหลวงแผ่นดิน ในระหว่ำง พ.ศ.2508- 2514 รัฐบำลได้เร่งบูรณะ ทำงหลวงด้วยกำรลำดยำงทั่วประเทศถึง 2,569 กม. และก่อสร้ำงแล้วเสร็จ 3,280 กม. รวมเป็นระยะทำง 5,849 กม. นอกจำกนี้ได้ทำกำรก่อสร้ำงและบูรณะทำงหลวงจังหวัดถึง 4,500 กม. ก่อนที่จะมีแผนกำรบูรณะและก่อสร้ำงทำงหลวงนั้น ในปี 2506 รัฐบำลไทยได้ร่วมมือกับ USOM และ OICC ก่อสร้ำงทำงเร่งด่วนขึ้น เรียกว่ำ ทำงยุทธศำสตร์ ( securityroad ) เ มื่ อ ก ำ ร ก่ อ ก ำ ร ร้ ำ ย ค อ ม มิ ว นิ ส ต์ เ ริ่ ม รุ น แ ร ง ม ำ ก ขึ้ น รัฐบำลจึงได้มอบหมำยให้กรมทำงหลวงดำเนินกำรก่อสร้ำงทำงหลวงในบริเวณที่มีผู้ก่อกำรร้ำยคุกคำมถึ ง 55 สำยทำง รวมระยะทำงประมำณ 3,054 กม. บทที่3 การพัฒนาสู่ความไม่มั่งคง ในยุคที่กำรสร้ำงถนนกับกำรพัฒนำเศรษฐกิจ ที่รัฐส่งเสริมกำรปลูกพืชเพื่อกำรส่งออก โดยกำรส่งเสริมนี้ ส่งผลให้ประชำชนในชนบทที่ไร้ซึ่งที่ดินทำกินเข้ำไปทำไร่ในบริเวณป่ำสงวนมำกขึ้น
  • 11. เนื่องจำกพื้นที่เข ตป่ำสงวนนั้นยังเป็นพื้นที่ที่มีกำรก่อกำรร้ำยท ำให้ก ำรดูแลท ำได้ย ำก จึงเกิดกำรบุ กรุกเขตป่ำสงวนเป็นไปอย่ำงต่อเนื่อง ห ลังจำกกำรพัฒ นำเศรษฐกิจ 30ปี ผลปรำกฏว่ำจำนวนหมู่บ้ำนในเขตป่ำสงวนเพิ่มขึ้นในภำคเหนือ และภำคใต้ โดย กำรข ย ำย ตัวข องพื้นที่ ท ำกำรเกษต รกลับ ตรงกันข้ำมกับ สัดส่วนมูลค่ำสินค้ำ ปัจจุบันแรงงำนในภำคเกษตรกรรมร้อยละ 33 ของทั้งหมดที่ทำงำนในเขตป่ำสงวนก็ไม่ได้มีรำยได้ที่ดี ในเวลำเดียวกันมีกำรพิจำรณำถึงจำนวนของควำมยำกจน แล้วเห็นได้ว่ำมีกำรลดลงระดับหนึ่ง แ ต่ ก ลั บ เ พิ่ ม ม ำ ก ขึ้ น ใ น เ ว ล ำ ต่ อ ม ำ ค ว ำม ย ำก จน ข อง ป ระ ช ำก รดัง ก ล่ำว มีค ว ำม เกี่ ย ว พันกั บ ก ำรบุ ก รุก ท ำลำย ป่ ำ มีปัจจัยต่ำงๆเรียงตำมลำดับควำมสำคัญ คือ 1.รำยได้ของคนในจังหวัด 2.กำรเพิ่มขึ้นของประชำกร 3.รำคำพืชไร่ 4.มูลค่ำของป่ำไม้ และผลผลิตที่นำออกจำกป่ำ และกำรสร้ำงถนนในชนบท จ ำ ก ข้ อ มู ล นี้ พ อ ส รุ ป ไ ด้ ว่ ำ ก ำ ร พั ฒ น ำ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แม้จะก่อให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงรำยได้ต่อหัวประชำกรเพิ่มมำกขึ้น แต่ก็ไม่ได้เป็นกำรแก้ปัญหำหลัก ซึ่ ง ไ ด้ แ ก่ ค ว ำ ม ไ ม่ เ ท่ ำ เ ที ย ม กั น ท ำ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ป ระช ำก รจ ำน ว น ห นึ่ ง ที่ ท ำก ำรเก ษ ต รก ร รม ยั ง ไม่ มีที่ ท ำกิ น เป็ น ข อง ต น เอ ง ซึ่งรัฐบำลยังไม่มีนโยบำยจัดกำรที่ดินเป็นที่ยอมรับ กำรพัฒนำเศรษฐกิจที่รัฐบำลสนับสนุนกำรปลูกพืชส่งออก มีผลโดยตรงกับกำรบุกรุกทำลำยป่ำ ปัญหำที่ทำให้เกิดกำรเผชิญหน้ำของรัฐและประชำชนในขณะนี้คือเรื่องกำรจัดสินที่ดินทำกิน ประเด็นหลักคือ ปัจจุบันรัฐมีควำมต้องกำรปรับปรุง ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมโดยนโยบำยเพิ่มพื้นที่ป่ำไม้ ข อ ง ป ระ เท ศ ให้ มีถึ ง 4 0 % ใน ปี พ .ศ .2 5 3 2 นั้ น มี พื้ น ที่ ป่ ำไม้ เพี ย ง 2 7 .9 % แ ต่ ยั ง มี เ ก ษ ต ร ก ร ไ ร้ ที่ ท ำ กิ น อี ก ห ลั ก แ ส น ค รั ว เ รื อ น เมื่อ ค ำนึ ง ถึง สภ ำพ ค ว ำมเ ป็ น จริง ข อง น โย บ ำย ฟื้ น ฟู สิ่ง แ ว ด ล้อ ม จ ะเห็ น ได้ว่ ำ ก ำ ร ขั ด แ ย้ ง ร ะ ห ว่ ำ ง ส ภ ำ พ ค ว ำ ม เ ป็ น จ ริ ง กั บ น โ ย บ ำ ย จะนำไปสู่ควำมขัดแย้งขั้นรุนแรงกับประชำชนกลุ่มต่ำงๆ ปัญ ห ำที่ก ำลังเกิดขึ้นในปัจจุบัน เป็ นปัญ ห ำที่มีค วำมซับ ซ้อน ทั้งนี้เนื่ องจำก ควำมขัดแย้งระหว่ำงรัฐกับประชำชนนั้น มีที่มำยำวนำนละเกี่ยวพันกับหลำยปัญหำหลำยปัญหำ ตั้งแต่ควำมยำกจน จนไปถึงปัญหำนโยบำยเกษตรในอดีต เมื่อครั้งยังมีคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยอยู่ รัฐ กั บ ป ร ะ ช ำ ช น ยั ง ไ ม่ ไ ด้ มี ค ว ำ ม ขั ด แ ย้ ง กั น แ บ บ ใน ปั จ จุ บั น เ พ ร ำ ะ รัฐให้ ค วำมสำคัญ กับ ก ำรจัดก ำรกับ ปัญ ห ำก ำรก่ อก ำรร้ำย จึงมุ่ง แก้ ไข ปัญ ห ำนั้น
  • 12. โดยใช้ประชำชนเพื่อทำสงครำมเอำชนะคอมมิวนิสต์ เมื่อพรรคคอมมิวนิสต์ยุติกำรปฏิบัติหน้ำที่แล้ว ปัญหำที่มีจำกกำรพัฒนำในตลอด 30ปีนั้นก็ได้แสดงออกมำ จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ ำ เ ป้ ำ ห ม ำ ย ข อ ง รั ฐ คือเป้ ำห มำยท ำงด้ำนค ว ำมมั่นค งไม่ใช่ เป้ ำห มำย ก ำรจัดก ำรที่ท ำกินให้ ป ระช ำช น ใน ข ณ ะ ที่ ฝ่ ำ ย ป ร ะ ช ำ ช น ต้ อ ง ก ำ ร ค ว ำ ม มั่ น ค ง ใน ด้ ำ น ก ำ ร ท ำ กิ น เมื่อเจ้ำหน้ำที่จัดกำรรวบรวมชำวบ้ำนให้อยู่เป็นกลุ่มก้อน เป็นไปตำมเงื่อนไขข้อกำ หนดใหม่ ซึ่ ง ต่ ำ ง ไ ป จ ำ ก ห มู่ บ้ ำ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น เ อ ง ข อ ง ป ร ะ ช ำ ช น จึ ง เ กิ ด ปั ญ ห ำ ขึ้ น ทำให้มีผู้ได้รับที่ดินน้อยกว่ำที่เคยครอบครองอยู่เดิม เป็นยกกรณีศึกษำที่เกี่ยวข้องกับกำรพัฒนำเพื่อควำมมั่งคง แต่กลับทำให้เกิดปัญหำต่ำงๆและข้อสงสัยในหลำยๆด้ำน ในตัวอย่ำงแรกโค รงกำรพัฒ นำป่ ำดงให ญ่ มีวัตถุป ระสงค์เพื่อกำรปลูกฟื้นฟูป่ ำ แต่ไม่ได้ให้ป ระช ำช นมีส่วนร่วม กำรพัฒ นำเริ่มต้นจำกพื้นที่แห่ งนี้มีกำรก่ อกำรร้ำย ร ะ ห ว่ ำ ง นั้ น ก็ ไ ม่ เ ค ย เ กิ ด เ รื่ อ ง ก ำ ร ป ะ ท ะ ห รือ ขั ด แ ย้ ง กั บ ป ร ะ ช ำ ช น แ ต่ เ มื่ อ พื้ น ที่ นี้ ไ ม่ ก ำ ร ก่ อ ก ำ ร ร้ ำ ย แ ล ะ มั่น ค ง ท ำ ง ยุ ท ธ ศ ำ ส ต ร์ แ ล้ ว ท ำ ไม ข้ ำ ร ำ ช ก ำ ร ก ลั บ ม ำ ต้ อ ง เ ผ ชิ ย ห น้ ำ กั บ ป ร ะ ช ำ ช น แ ล ะ พ ร ะ ส ง ฆ์ จนก่อให้เกิดคควำมขัดแย้งและควำมไม่มั่นคงเกิดขึ้น ตั ว อ ย่ ำ ง ที่ ส อ ง ก ำ ร ส ร้ ำ ง ท ำ ง เ กิ ด ก ำ ร ขั ด กั น ข อ ง น โ ย บ ำ ย อำจเป็นเพรำะหน่วยงำนรำชกำรตั้งวัตถุประสงค์หลักด้ำนใดด้ำนหนึ่งขำดกำรทบทวนวัตถุประสงค์และแ ผ น ง ำ น โค ร ง ก ำ ร โ ด ย เ ที ย บ เ คี ย ง กั บ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง รั ฐ ใน ด้ ำ น อื่ น ๆ จึ ง ท ำ ใ ห้ ห น่ ว ย ง ำ น บ ำ ง ห น่ ว ย มี ง ำ น เ พิ่ ม ขึ้ น และบ ำง ห น่ ว ย ง ำน ที่เป็ นผู้รัก ษ ำก ฎ ห ม ำย ห ลัก ในก ำรป้ อง กันอนุ รัก ษ์ธรรม ช ำติ ก ลั บ เ ส น อ ค ว ำ ม เ ห็ น ส อ ด ค ล้ อ ง ไ ป กั บ ก ำ ร ส ร้ำ ง ท ำ ง เ พื่ อ ค ว ำ ม มั่น ค ง แ ท น ที่ จ ะ ให้ ค ว ำ ม เ ห็ น ที่ เ กี่ ย ว กั บ ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง ก ำ ร ส ร้ำ ง ท ำ ง ต่ อ ป่ ำ ไ ม้ ร ว ม ไ ป ถึ ง ก อ ง ทั พ ภ ำ ค ต่ ำ ง ๆ ก็ ไ ม่ ป ร ำ ก ฏ ว่ ำ มี ข้ อ เ ส น อ ข้ อ ดี ข้ อ เ สี ย ผลกระทบต่อสภำพแวดล้อมและป่ำแต่อย่ำงใด กรณีป่ำดงใหญ่เป็นกำรเปลี่ยนแปลงนโยบำยควำมมั่นคงไปเป็นนโยบำยอนุรักษ์ และกรณีกำรสร้ำงทำงเป็นกำรใช้นโยบำยควำมมั่นคงที่มีน้ำหนักสูงกว่ำนโยบำยอนุรักษ์ ข้อสรุปจำกทั้งสองกรณีศึกษำนี้ กำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจไม่ใช่กำรตกต่ำของเศรษฐกิจ ที่ น ำ ไ ป สู่ ค ว ำ ม เ สื่ อ ม โ ท ร ม ข อ ง สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ บ ว ก กั บ ปั จ จั ย อื่ น ๆ ก็ก่อให้เกิดควำมขัดแย้งทำงสังคมด้วยเช่นกัน
  • 13. บทที่ 4 ความมั่นคง การพัฒนา การมีส่วนร่วม กับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เท่ำที่ผ่ำน กำรพูดถึงควำมเกี่ยวพันระหว่ำงกำรทำลำยสิ่งแวดล้อมกับควำมมั่นคงส่วนมำก เป็นเพียงสมมติฐำนอยู่ จึงได้ทำกำรทดสอบว่ำสมมติฐำนเหล่ำนี้ โ ด ย ก ำ ร ศึ ก ษ ำ ปั ญ ห ำ ต่ ำ ง ๆ นี้ เกิ ด จ ำก ก ำ รม อ ง เ ห็ น ถึ ง ปั ญ ห ำ สิ่ง แ ว ด ล้อ ม ที่ เกิ ด ขึ้ น อ ย่ ำง รว ด เร็ว ทั่ว โล ก โดยได้เริ่มจำกมห ำอำนำจอย่ ำงสห รัฐอเมริกำที่ได้ถอดตัวจำกควำมขัดแย้งอินโดจีน และลดกำรแข่งขันด้ำนอำวุธนิวเคลียร์ โดยเปลี่ยนไปเน้นทำงด้ำนกำรค้ำเสรี และยังมีกำรรักษำธรรมชำติ ซึ่งเป็นองค์ประกอบของระเบียบโลกใหม่ โดยยังมีทำงด้ำน เศรษฐกิจ กำรเมือง สิ่งแวดล้อม แทนทำงด้ำนควำมมั่นคงทำงทหำรและกำรเมือง โดยกำรเปลี่ยนแบบนี้จะส่งผลถึงประเทศที่กำลังพัฒนำ ซึ่งประเทศเหล่ำนี้ พัฒนำเศรษฐกิจด้วยทรัพยำกรธรรมชำติเป็นหลัก เช่น ไทย มำเลเชีย อินโดนีเซีย จึงได้รับแรงกดดันจำกนโยบำยปกป้ องสิ่งแวดล้อม ให้ประเทศเหล่ำนี้รักษำสิ่งแวดล้อมมำกขึ้น ซึ่ ง จ ะ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ก ำ ร เ ร่ ง พั ฒ น ำ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ เ ห ล่ ำ นี้ โดยเฉพำะด้ำนป่ำไม้ในเขตร้อนของมำเลเชีย และอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นสินค้ำส่งออกที่สำคัญ ซึ่งทำงประเทศเหล่ำนี้ได้มองว่ำ เป็นกำรกีดกันทำงเศรษฐกิจ ที่แฝงมำในรูปแบบใหม่ จำก ส่ ว น ข อ ง บ ท ที่ 2 นั้น แส ด ง ให้ เห็ น ว่ ำ ค ว ำม ไม่ มั่น ค ง ท ำง ก ำ รเมือ ง ไม่ ไ ด้ มี ส ำ เห ตุ จ ำ ก ค ว ำ ม ย ำ ก จ น ห รือ ใช้ ที่ ดิ น ท ำ กิ น แ ต่ ม ำ จ ำ ก ปั ญ ห ำ ควำมสัมพันธ์ของรัฐกับคอมมิวนิสต์จีน โดยจำกควำมขัดแย้งนี้จึงมุ่งแก้ไขปัญหำควำมไม่มั่นคง โดยได้สร้ำงทำงเข้ำไปให้ถึงบริเวณด้ำนนอกของฐำนที่มั่นของผู้ก่อกำรร้ำย โดยจะเห็นว่ำ ควำมหมำยของป่ำ มีทั้งทำงเศรษฐกิจ ทำงทหำร และกำรเมือง มำกกว่ำลักษณะทำงนิเวศน์ สถำนภำพของป่ำในด้ำนนี้จึงเป็นสัญลักษณ์ และเป็นรูปธรรมของควำมไม่มั่นคง โดยทำงรัฐบำลไทย จึงมีนโยบำยทุ่มเงินไปเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรเข้ำถึงป่ำ โดยทำเพื่อ เงื่อนไขทำงควำมมั่นคง โดยกำรศึกษำของเรำให้ควำมสำคัญกับ นโยบำยของรัฐ ในส่วนของกำรสร้ำงถนนเข้ำไปในเขตป่ำเขำ เพ ร ำ ะใน เว ล ำ 30ปี ที่ ผ่ ำ น ม ำ ค ว ำ ม มั่น ค ง ด้ ำน ที่ ไท ย มี ปั ญ ห ำอ ยู่ ซึ่ง ก็ คื อ ควำมมั่นคงด้ำนทหำรและทำงกำรเมือง มำกกว่ำด้ำนเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม โดยมีคำกล่ำวว่ำ ก ำรเข้ ำใจ ปัญ ห ำค ว ำม มั่น ค ง ที่ ดีที่ สุ ด คือ ให้ ดูว่ ำค ว ำม ไม่ มั่น ค ง มีด้ำน ใด บ้ ำง เพรำะควำมไม่มั่นคงเป็นรูปธรรมมำกกว่ำ รัฐจึงลดควำมไม่มั่นคงด้วยกำรแก้ปัญหำภำยใน
  • 14. ใ น ก ร ณี ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ก ำ ร มี ผู้ ก่ อ ก ำ ร ร้ ำ ย ค อ ม มิ ว นิ ส ต์ เป็ นปัจ จัย สำคัญ ที่ มีผ ลก ระท บ ต่อ ก ำรเมือง ในป ระ เท ศ ไท ย จึงแ ก้ปั ญ ห ำโด ย สร้ำ ง ถ น น เ ข้ ำไป ใน เข ต ป่ ำเ ข ำ ท ำให้ เข้ ำ ใก ล้ฐำน มั่น ข อง พ รร ค ค อ ม มิว นิ ส ต์ ฐำนมั่นจึงเป็นบริเวณที่อยู่ในวงล้อมของถนน จนมีคนสังเกตว่ำ ยุทธศำสตร์ป่ำล้อมเมืองนั้น ต้องพ่ำยแพ้แก่ยุทธศำสตร์เมืองล้อมป่ำ นอกจำกสร้ำงทำงแล้ว รัฐยังส่งเสริมให้จัดตั้งหมู่บ้ำน เพื่อเหตุผลทำงด้ำนยุทธศำสตร์ และยังเน้นสร้ำงควำมมั่นคงทำงกำรทหำรและทำงกำรเมือง โดย ให้ ใช้พื้นที่ ป่ ำในก ำรท ำกิน ตั้ง ที่ อยู่ อำศัย ก ลำย เป็ น ห มู่บ้ ำน เป็ นผ ลท ำให้ ป ระ ช ำ ช น เ ข้ ำ ไป อ ยู่ ใน เข ต ป่ ำส ง ว น เป็ น จ ำน ว น ม ำ ก แ ล ะ รุก ล้ ำ ไป เรื่ อ ย ๆ เ ป็ น เ ห ตุ ท ำ ให้ ป ร ะ ช ำ ช น ใน ช น บ ท ส นั บ ส นุ น รั ฐ บ ำ ล อี ก ด้ ว ย เ พ ร ำ ะ มี ถนนสำยใหญ่ในกำรขนส่งพืชผักได้สะดวกยิ่งขึ้น ดังนั้นในประเทศไทยจึงแตกต่ำงจำกกรณีอื่นๆเพรำะงำนวิชำกำรไม่ว่ำเป็นด้ำนทฤษฏีหรือกรณี ศึ ก ษ ำ ปั ญ ห ำ ด้ ำ น ค ว ำ ม มั่ น ค ง กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เ กื อ บ ทั้ ง ห ม ด คิดว่ำเกิดจำกควำมขำดแคลนและควำมตกต่ำของเศรษฐกิจอยู่ควบคู่ไปกับควำมเสื่อมโทรมของสภำพแ วด ล้อม โดย สรุป ได้ว่ำ กำรต กต่ ำท ำง เศ รษฐกิจอันมีผลมำจำกค ว ำมข ำดแค ลน จะนำไปสู่กำรเพิ่มขึ้นของควำมไม่เท่ำเทียมกัน ซึ่งก่อให้เกิดควำมไม่มั่นคงอีกทอดหนึ่ง งำนวิจัยนี้ศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมมั่นคงกับกำรเปลี่ยนแปลงทำงสิ่งแวดล้อมภำยในสภ ำพกำรณ์ของกำรเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจ เพรำะประเทศไทยมีควำมมั่นคงทำงด้ำนอำหำร ซึ่งไม่ได้น้อยลงแม้สิ่งแวดล้อมจะเสื่อมโทรมลง เมื่อเทียบกับประเทศซูดำนและเอธิโอเปีย เ พ ร ำ ะ ต้ อ ง น ำ เ งิ น ม ำ ซื้ อ อ ำ วุ ธ ใน ก ำ ร ป ร ำ บ ผู้ ก่ อ ก ำ ร ร้ ำ ย ใ น ป ร ะ เ ท ศ และในบังคลำเทศมีกำรให้ชำวเบงคลีแย่งที่ทำกินของเผ่ำชำวเขำ ทำให้สูญเสียที่ดินทำกิน และมีควำมสัมพันธ์ด้ำนลบระหว่ำงกำรเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมกับกำรเปลี่ยนแปลงทำงกำรเมือง ส่วนในประเทศไทย กำรเสื่อมโทรมทำงสิ่งแวดล้อมเกิดจำก กำรบุกรุกป่ำเพื่อปลูกพืชไร่ของชำวนำ นอกจำกปลูกข้ำว ทำให้ชำวบ้ำนมีรำยได้เพิ่มขึ้น และน่ำเป็นสำเหตุสำคัญที่ทำให้ชำวนำอยู่ได้ ถึงแม้รำคำข้ำวจะตกต่ำก็ตำม เพรำะมีรำยได้จำกกำรปลูกพืชไร่อยู่ โดยกำรเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม ( ค ว ำ ม ไ ม่ มั่ น ค ง ท ำ ง ด้ ำ น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ) ได้เป็นกำรทดแทนที่รัฐต้องเผชิญ กับควำมไม่มั่นคงทำงท หำรและท ำงกำรเมืองมำกขึ้น ในส่วนนี้ควำมมั่นคงทำงทหำรและทำงกำรเมืองจึงเป็นสิ่งที่แลกเปลี่ยนกับควำมมั่นคงทำงสิ่งแวดล้อม นอก จ ำก นี้ยั งมีปัจ จัย แท รก ซ้อนที่ เรีย ก ว่ ำปัจ จัย ในระย ะห รือขั้นต อนกลำง เช่ น ระดับ ค ว ำม เจ ริญ ท ำง เศ รษ ฐกิ จ ลัก ษ ณ ะพื้ น ฐำน ด้ำน ป ระช ำก ร ที่ ดิน ท ำกิ น ดังนั้นจะเห็นว่ำควำมเกี่ยวผันของกำรทำลำยสิ่งแวดล้อมกับควำมมั่นคงจึงอยู่ที่ว่ำ จะเกิดขึ้นที่จุดใด เมื่อใด โดยของประเทศไทยนั้นจะเกิดอย่ำงต่อเนื่อง โดยแฝงมำในรูปแบบกำรพัฒนำเศรษฐกิ จ เน้ น ข ย ำย พื้ น ที่ ป ลู ก พื ช ไร่ บุ ก รุ ก ป่ ำ สง ว น แต่ ถ้ำม อ ง ใน มุ ม ข อ ง รัฐ บ ำ ลนั้ น จะเป็นกำรเพิ่มทำงเลือกด้ำนนโยบำยมำกขึ้น เพรำะกำรผ่อนปรนให้เกษตรกรไปทำไร่ในเขตสงวน ทั้งๆที่มีนโยบำยให้สงวนป่ำไว้แต่แรก
  • 15. ปัญหำของประเทศไทยในปัจจุบันเป็นปัญหำของระบบเศรษฐกิจทวิภำคที่ภำคธุรกิจเอกชนขยำ ยตัวอย่ำงรวดเร็ว ในขณะที่ภำคเศรษฐกิจของประชำชนที่เป็นคนจนในเมืองและเกษตรกรรำยย่อย ลักษณะของระบบเศรษฐกิจทวิภำคซึ่งส่วนเมืองโดยเฉพำะเมืองหลวงกับส่วนชนบทแตกต่ำงกันทำงเศร ษฐกิจอย่ ำงมำก เพรำะ กำรบริห ำรรวมและอำนำจต่ำงๆยังอยู่ในส่ว นกลำงมำกด้ว ย และในส่วนชนบทขำดตัวแทนในกำรปกป้องชีวิตควำมเป็นอยู่และตัวแทนในกำรเรียกร้องสิทธิประโยชน์ ต่ำงๆ เมื่ อเป รีย บ เที ย บ ค ว ำม ต้อง ก ำรข อง รัฐแ ละรำษ ฎ รผู้ย ำก ไร้แ ล้ว เห็ น ว่ ำ มีควำมต้องกำรเข้ำถึงป่ำเหมือนกัน แต่ต่ำงกันที่ รำษฎรกับป่ำสัมพันธ์กันเชิงเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เป็นหลัก แต่ของรัฐนั้นนอกจำกมีด้ำนเศรษฐกิจแล้ว ยังมีทำงด้ำนกำรทหำรและกำรเมืองอีกด้วย โดย จะเห็นได้จ ำก กำรที่รัฐเพิ่มค ว ำมสำมำรถในก ำรเข้ำถึงป่ ำด้วย กำรสร้ำงถนนก็ดี หรือกำรดำรงอธิปไตย ล้วนมำจำกกำรพิจำรณำด้ำนควำมมั่นคงทำงกำรทหำรและทำงกำรเมืองทั้งสิ้น เห็นได้จำกกรณีศึกษำที่กล่ำวมำ ควำมขัดแย้งด้ำนสิ่งแวดล้อม คือ ค วำมขัดแย้งที่เกิดจำกกำรเข้ำถึงท รัพยำกร ก ำ ร ใ ช้ ส อ ย ท รั พ ย ำ ก ร ห รื อ ก ำ ร เ ป็ น เ จ้ ำ ข อ ง ก ร ร ม สิ ท ธิ์ มีที่ ม ำ จ ำก ก ำรเข้ ำถึง ป่ ำเพื่ อรัก ษ ำ ค ว ำ ม มั่น ค ง ท ำง ก ำ รท ห ำรแ ล ะ ก ำรเ มือ ง เพ ร ำที่ ดิ น มี ค ว ำ ม ส ำ คั ญ กั บ รัฐ ม ำก ก ว่ ำค น ที่ เ ป็ น เ พี ย ง เ ค รื่ อ ง มื อ ดั ง นั้ น รำษฎรอีสำนจึงเป็นเพียงเครื่องมือไม่ใช่เป้ำหมำยของรัฐ เป้ำหมำยของรัฐคือ กำรมีอำนำจครอบงำ ปกครองพื้นที่ ซึ่งคนเป็นส่วนหนึ่งในพื้นที่นั้น เมื่อรัฐสำมำรถเข้ำถึงและจัดกำรกับพื้นที่นั้นได้ รั ฐ จึ ง หั น ม ำ จั ด ก ำ ร กั บ ค น ซึ่ ง เ ป็ น ต้ น เ ห ตุ ใ ห้ เ กิ ด ค ว ำ ม ขั ด แ ย้ ง ดังที่ปรำกฏในกรณีของป่ำดงใหญ่และโครงกำรจัดที่ดินทำกินให้รำษฎรผู้ยำกไร้ (คจก.) และทหำรได้ปรับเปลี่ยนบทบำทกลำยมำเป็นหน่วยงำนหลักที่ประสำนกำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติ เ พ ร ำ ะ พื้ น ที่ ป่ ำ เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง ดิ น แ ด น โดยเฉพำะป่ำที่มีแนวโน้มว่ำจะกลับไปเป็นพื้นที่ที่มีปัญหำด้ำนควำมมั่นคงของรัฐ ก ำร ก่ อ ก ำ ร ร้ำ ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น อ ย่ ำ ง ต่ อ เ นื่ อ ง ไป กั บ ก ำ ร พั ฒ น ำ ป ร ะ เ ท ศ เป็ น เงื่ อ น ไข ส ำคั ญ ที่ ท ำให้ เ กิ ด ค ว ำม ขั ด แ ย้ ง ท ำง สิ่ง แ ว ด ล้อ ม เพิ่ ม ม ำก ขึ้ น เนื่ อ ง จ ำ ก รัฐ ได้น ำ ทั้ง ด้ำ น ก ำ รรัก ษ ำ ค ว ำม มั่น ค ง ด้ ำน ก ำร พัฒ น ำเศ รษ ฐกิ จ ภ ำ ค ช น บ ท มี ค ว ำ ม ส ำ คั ญ ต่ อ รัฐ ใ น ด้ ำ น ค ว ำ ม มั่ น ค ง ท ำ ง ก ำ ร ท ห ำ ร เพรำะรัฐมีเป้ำหมำยเพื่อควบคุมรำษฎรในชนบทนั้น ถ้ำรัฐมีควำมสำมำรถเข้ำถึงชนบทได้ยำกเพียงใด ค น ใน ช น บ ท นั้ น ก็ จ ะ ยิ่ ง เ ข้ ำ ถึ ง ท รัพ ย ำ ก ร ธ ร ร ม ช ำ ติ แ ล ะ ใช้ ส อ ย ไ ด้ ม ำ ก ซึ่งจะทำให้เกิดควำมขัดแย้งระหว่ำงรำษฎรและรัฐ ใ น ก ำ ร ศึ ก ษ ำ ค ว ำ ม ขั ด แ ย้ ง ด้ ำ น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม จึงได้มีกำรใช้ตัวแบบในกำรศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรัฐกับประชำสังคม ในลักษณะสำมมิติ คือ ค ว ำ ม มั่ น ค ง ก ำ ร พั ฒ น ำ แ ล ะ ก ำ ร มี ส่ ว น ร่ ว ม
  • 16. มำใช้ในก ำรวิเครำะห์ผลกระทบ จำก กำรใช้และแบ่ งปันท รัพยำกรที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม ได้ผลสรุปว่ำควำมมั่นคงและกำรพัฒนำที่ขำดกำรมีส่วนร่วมนั้นมีผลให้รัฐกับรำษฎรมีควำมขัดแย้งเพิ่มม ำก ขึ้ น ค ว ำม สัม พัน ธ์ใน มิติต่ ำง ๆ นั้น จะเ ป็ น ใน รู ป แ บ บ ข อ ง เห ตุ ก่ อให้ เกิ ด ผ ล เมื่อรัฐยังเป็นศุนย์กลำงในกำรกำหนดควำมมั่นคง กำรพัฒนำและกำรแบ่งปันกำรใช้ทรัพยำกร ก็จะส่งผลให้เกิดควำมขัดแย้งต่อไปเรื่อยๆ มิติควำมสัมพันธ์จะมีผลต่อกำรเป็นลูกโซ่ ในกำรวิเครำะห์ควำมขัดแย้งโดยอำศัยกรณีศึกษำ เพ รำ ะก ร ณี ต่ ำ ง ๆ มีร ำย ล ะ เอีย ด ที่ แ ต ก ต่ ำง กั น ไป โด ย เ ฉ พ ำะ ผู้ก ระท ำ ก ำ ร กำรใช้กรณีศึกษำโดยเชื่อมโยงกับกำรวิเครำะห์แบบมหภำคนั้นมีประโยชน์มำกกว่ำกำรใช้ตัวแบบควำม ขัดแย้ง ที่มีตัว แป รเพีย ง สองถึงสำม ตัว เช่ น ค ว ำม ไม่เท่ ำเที ย ม เศ รษ ฐกิจตกต่ ำ ดั ง เ ช่ น ก ร ณี สึ ก ษ ำ ที่ ย ก ตั ว อ ย่ ำ ง ม ำ 2 กรณีจะเห็นว่ำนโยบำยของรัฐต้องกำรส่งเสริมภำคธุรกิจของเอกชนในด้ำนอุตสำหกรรม ท ำให้ มีผ ลก ระท บ ถึง ป ระช ำช น โด ย ตรง แ ละเป็ น เห ตุ ที่ ท ำให้ เกิ ด กำรขั ดแ ย้ ง แท นที่รัฐจะมีนโย บ ำย ฟื้นฟู ธรรมช ำติในระย ะเว ลำที่กำรถือค รอง ที่ดินยัง มีผลอยู่ และยุตินโยบ ำยผ่อนป รนกับประชำชยเพรำะห มดควำมจำเป็นในกำรช่วงชิงป ระชำช น ทำให้ไทยในปัจจุบันมีสถำรกำรณ์ที่ล่อแหลมต่อกำรไร้ควำมมั่นคงเป็นอย่ำงมำก ใน อ ดี ต ป ร ะเ ท ศ ไท ย จ ะมี ร ะ บ บ ก ำ รป ก ค ร อ ง ที่ ไ ม่ ใช่ ป ร ะช ำ ธิป ไต ย และขำดกำรมีส่วนร่วมทำงกำรเมือง ประกอบกับสถำนกำรณ์ต่ำงๆที่ส่อถึงควำมมั่นคงของรัฐ ก็ได้เปลี่ยนระบบกำรปกครองจำกเผด็จกำรให้มีควำมผ่อนปรนกับประชำชนมำกขึ้น และในปัจจุบัน ผลที่ตำมมำจำกกำรก่อกำรร้ำยอย่ำงต่อเนื่องได้ทำให้เกิดองค์กรและกิจกรรมที่เกี่ยวกับกำรจัดกำรทรัพย ำกรธรรมชำติ โดยเป็นองค์กรที่เกี่ยวกับกำรปรำบปรำมกำรก่อกำรร้ำยทำให้กำรก่อกำรร้ำยลดจำนวนลง โด ย มีน โย บ ำย แล ะม ำต รก ำรที่ ไม่ ตั้ง ใจ ให้ เกิ ด ผ ลล บ ต่ อค ว ำม มั่น ค ง ข อง ช ำ ติ ต ำ ม ข้ อ เ ส น อ ข อ ง ส ภ ำ ค ว ำ ม มั่ น ค ง ซึ่งในกรณีข องกำรสร้ำงท ำงเป็นกำรเกี่ยวโยงกับ มำตรกำรคว ำมมั่นค งท ำงกำรทห ำร แต่ก็ ยังเป็ นโช ค ดีข องป ระเท ศ ไท ย ที่รูป แบ บ กำรก่ อกำรร้ำย นั้นจะเป็ น กำรกด ขี่ กำรที่ภำคธุรกิจเอกชนมีควำมร่ำรวยมำกขึ้น โดยกำรเบียดเบียนประชำชนยังไม่ชัดเจน ท ำ ใ ห้ ก ำ ร ก่ อ ก ำ ร ร้ ำ ย ยื ด เ ยื้ อ แ ต่ ใ น ปั จ จุ บั น ก ำ ร ไ ด้ เ ป รี ย บ - เสีย เป รียบ ระห ว่ ำงภำค เศ รษฐกิจข องธุรกิจเอกช นกับ ข องป ระชำช นเริ่มชัดเจนขึ้น โดยสังเกตุได้จำกกำรรุกคืบของภำคเอกชนเพื่อครอบครองพื้นที่ใหญ่ๆและสร้ำงสถำนที่ท่องเที่ยว เพรำะควำมมั่นคงทำงกำรทหำรมีมำกขึ้น ภัยจำกกำรก่อกำรร้ำยในพื้นที่ห่ำงไกลก็กลำยเป็นพื้นที่สงบ ก ำ ร ล ง ทุ น จึง เ กิ ด ขึ้ น ค ว ำม ขั ด แ ย้ ง จึ ง เ กิ ด ขึ้ น ต ำ ม ม ำ จึง อ ำ จ ก ล่ ำ ว ได้ ว่ ำ "เมื่อรัฐมีคว ำมไม่มั่นค งท ำงท ห ำรป ระชำช นได้รับ ค วำมมั่นค งในกำรประกอบอำชีพ แต่เมื่อรัฐได้ควำมมั่นคงทำงหทำรแล้วประชำชนกลับมีควำมไม่มั่นคงในชีวิตควำมเป็นอยู่"
  • 17. ควำมมั่นคงกับสิ่งแวดล้อมในกรณีงำนวิจัยนี้ เป็นกำรศึกษำควำมสัมพันธ์ระดับภำยในสังคม ซึ่งต่ำงกับกระแสหลักทั่วไปในกำรศึกษำด้ำนนี้ที่จะเป็นกำรศึกษำในระดับโลก เพรำะปัญหำควำมมั่นคง ปัญหำสิ่งแวดล้อมมักได้รับควำมสนใจจำกคนทั้งโลก แต่ควำมร่วมมือต่ำงๆนั้นเป็นไปได้ยำก เพ รำ ะ ผ ล ป ร ะ โย ช น์ ข อ ง ช ำติ ที่ เป็ น เงื่ อ น ไข ส ำคั ญ เ มื่ อ พิ จ ำ รณ ำ ดีๆ แ ล้ ว ปั ญ ห ำ ค ว ำ ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ ำ ง ค น กั บ ธ ร ร ม ช ำ ติ เรำจะพบว่ำกลุ่มชนหรือชนชั้นนั้นมีผลกระทบโดยตรงต่อสิ่งแวดล้อม กรณีศึกษำควำมขัดแย้งระหว่ำงกลไกของรัฐกับรำษฎรมีควำมเหมำะสมในแง่ของกำรนำปัจจัยท ำ ง วั ฒ น ธ ร ร ม ม ำ เ ป็ น ตั ว แ ป ร ใ น ก ำ ร วิ เ ค ร ำ ะ ห์ เพ รำะวัฒ นธรรมข อง รำช กำรเป็ น วัฒ น ธรรม ห ลัก ที่ เน้นค ว ำมมั่น ค ง และพัฒ น ำ มี ลั ก ษ ณ ะ ที่ เ รี ย ก ว่ ำ เ ท ค นิ ค นิ ย ม ส่วนวัฒ นธรรมข องป ระช ำชนที่เน้นกำรสอดค ล้องกับ ธรรมช ำติเรียกว่ำนิเท ศ น์นิย ม ค ว ำม ขัด แย้ งภ ำย ในสัง ค ม เดีย ว กั บ ที่ เกิด จำก กำรวัฒ นธรรมย่ อย ที่ แตก ต่ำงกั น ค ว ำ ม ขั ด แ ย้ ง ดั ง ก ล่ ำ ว จึ ง มี รำ ก ลึก ก ว่ ำค ว ำม ขั ด แ ย้ ง ที่ เกิ ด จ ำ ก น โย บ ำ ย จ ำก ก รณีป่ ำดง ให ญ่ สะ ท้ อนให้ เห็ นถึงค ว ำมแต ก ต่ำง กัน ระ ห ว่ ำงสอง วัฒ นธรรม จำกที่เห็นได้ว่ ำช ำวบ้ำนห ำพระเป็ นที่พึ่ง สุดท้ำย สะท้อนถึงวัฒ นธรรมข องช ำวบ้ำน ส่วนทำงรำชกำรอำศัยกฏระเบียบ ข้อบังคับต่อบทบำทของพระสงฆ์ แต่ปัญหำของชำวบ้ำน แต่ปัญหำของชำวบ้ำนจริงๆนั้นเป็นปัญหำระหว่ำงคนกับธรรมชำติ ไม่ใช่กับกฏระเบียบ เพ รำะช ำว บ้ ำน มีค ว ำม สำนึ ก ที่ จ ะ อยู่ ร่ว ม กั บ ป่ ำแ ละ ธ รรมช ำติอย่ ำง ก ลม ก ลืน ทำงรำชกำรกลับมีควำมคิดในกำรจัดกำรป่ำเปลี่ยนไปตำมสถำนกำรณ์ กำรวิเครำะห์ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมมั่นคงกับสิ่งแวดล้อมจึงจำเป็นต้องทำสองระดับควบคู่กัน คื อ ร ะ ดั บ ม ห ภ ำ ค แ ล ะ ร ะ ดั บ จุ ล ภ ำ ค กำรใช้กรอบกำรวิเครำะห์แบบมหภำคต้องเพิ่มปัจจัยทำงวัฒนธรรมเข้ำไปในกำรวิเครำะห์ด้วย จ ะ ท ำ ใ ห้ ส ำ ม ำ ร ถ เ ข้ ำ ใ น ใ จ ส ถ ำ น ก ำ ร ณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จ ริ ง ไ ด้ กำรพิจำรณ ำแบ บ นี้เกิดขึ้นได้เพ รำะมีกำรอำศัย ไตรลักษณ รัฐแย กมิติค วำมมั่นค ง และกำรพัฒนำว่ำมีวัฒนธรรมที่ต่ำงไปจำกวัฒนธรรมของประชำสังคม ตัวแบบของ Homer-Dixon ที่นำมำเป็นตัวอย่ำงของกำรวิเครำะห์ที่มีข้อบกพร่องนั้นไม่ได้คำนึงถึงปัจจัยด้ำนวัฒนธรรมอย่ำงลึกซึ่ง เพ รำะ ข ำด ก ำรแ ย ก ค ว ำม มั่น ค ง ก ำรพัฒ น ำ แ ละก ำ รมีส่ว น ร่ว ม ออ ก จำก กั น โดยสรุปแล้วปัญหำของควำมมั่นคงในตัวของมันเอง และปญหำสิ่งแวดล้อมนัน้มีควำมซับซ้อนอยู่แล้ว เมื่ อน ำม ำเกี่ ย ว พัน กั น แล้ว ค ว ำมซับ ซ้อ น จะยิ่ ง เพิ่ม ม ำก ขึ้ น ที่ เกี่ ย ว โย ง ถึง กั น ดังกรณีศึกษำทั้งสองที่ชี้ให้เห็นถึงกระบวนกำรตัดสินใจถูกกำหนกโดยปัจจัยกำรสำเหนียกปัญหำ งำนวิจัยของเรำเป็นกำรวิเครำะห์พฤติกรรมของรัฐที่มีต่อประชำสังคม ชี้ให้เห็นถึงประเด็นต่ำงๆ ที่ควำมกำรวิเครำะห์และนำไปสำนต่อ คือ
  • 18. 1.ในสังคมที่กำลังจะพัฒนำ จะมีลักษณะเป็นทวิภำวะ จนอำจกล่ำวได้ว่ำมีกำรขนำนไประหว่ำงระบบเศรษฐกิจของเมืองและชนบท ในกำรวิเครำะห์มักจะละเลยในส่วนของชนบทออกไป ย่อมทำให้เกิดควำมเข้ำใจผิด 2.ทวิภำวะก่อให้เกิดควำมขัดแย้งทำงด้ำนนโยบำยของรัฐที่มีต่อส่วนต่ำงๆ ปัญหำของประเทศที่กำลังพัฒนำคือจุดสมดุลของกำรพัฒนำ 3.ทวิภำวะก่อให้เกิดควำมขัดแย้งในส่วนย่อยของควำมขัดแย้งทำงกำรเมืองเศรษฐกิจและสังคม เพรำะส่วนรัฐและชนชั้นนำมักจะมีเป้ำหมำย ในขณะที่ประชนชนผู้เสียเปรียบในชนบท มีเป้ำหมำยที่แตกต่ำงกันไป 4.รัฐไทยเป็นพฤติกรรมที่แสวงหำส่วนเกิน เพรำะรำชกำรใช้อำนำจเด็ดขำดในกำรแบ่งปันทรัพยำกร ตลอดชนสิทธิประโยชน์อื่นๆ 5.กำรพัฒนำควำมมั่นคงเมื่อถึงในระดับหนึ่ง จะเริ่มมีควำมหมำยเปลี่ยนไป จนควำมมั่นคงหลำยๆด้ำนเริ่มมีควำมขัดแย้งกันเองเช่น ทำงกำรทหำรอำจขัดแย้งกับทำงด้ำนสิ่งแวดล้อม 6.ในแง่ของทฤษฎีและแนวคิด มีควำมจำเป็นที่จะต้องคำนึงถึงกรอบมหำภำค ในกำรพิจำรณำเศรษฐกิจกำรเมืองของควำมขัดแย้ง แทนที่จะมุ่งหำควำมสัมพันธ์โดยตรง ส่วนที่ 2 เชื่อมโยงแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนกับหนังสือสิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
  • 19. การพัฒนาที่ยั่งยืน ในควำมหมำยกำรพัฒนำที่ยั่งยืน หมำยถึง “กำรตอบสนองควำมต้องกำรของคนรุ่นปัจจุบัน โดยไม่มีผลกระทบในทำงลบต่อควำมต้องกำรของคนรุ่นต่อไปในอนำคต” ซึ่งในกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืนสำมำรถแบ่งออกได้หลำกหลำยมิติ มิติทางสังคม จะต้องรวมหมำยถึง วัฒนธรรม และภูมิปัญญำท้องถิ่น ซึ่งเป็นระเบียบวิถีชีวิต ของสังคม ที่ทำให้มนุษย์ปรับตัวและดำรงชีวิตอยู่กับสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่นได้ โดยไม่ทำลำยสิ่งแวดล้อม และให้รวมถึงศำสนำธรรม ซึ่งเป็นระเบียบจิตใจของคนในสังคมที่ทำให้สังคมอยู่ได้โดยสงบสุข สิ่งเหล่ำ นี้ล้วนถือเป็นกำรสร้ำงเงื่อนไขสังคมใหม่ ให้สังคมมีกำรเปลี่ยนแปลงไปสู่กำรพัฒนำที่พึงปรำรถนำ ก่อใ ห้เกิดควำมเอื้ออำทร ควำมรัก ควำมสำมัคคี สมำนฉันท์ต่อกัน ชุมชนสังคมมีควำมเข้มแข็ง มิติสิ่งแวดล้อม หมำยถึง ทุกสิ่งทุกอย่ำงที่อยู่รอบตัวมนุษย์ ทั้งเป็นสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต เกี่ยวโยงสัมพันธ์กันเป็นระบบนิเวศน์ ที่สำมำรถให้คุณและให้โทษต่อมนุษย์ได้ ทั้งที่ขึ้นกับควำมสมดุล หรือไม่สมดุลของระบบนิเวศ โดยจะต้องมีกำรอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม พัฒนำเทคโนโลยีและกำรพลังงำน ที่สะอำด ปลอดภัย ปลอดมลภำวะ เพื่อกำรมีสภำพแวดล้อมที่ดี มิติเทคโนโลยี หมำยถึง เกิดกำรเลือกใช้ในสิ่งที่เหมำะสมกับควำมต้องกำร และตอบสนองให้ได้ผลประโยชน์มำกที่สุด รู้จักปรับปรุงให้เหมำะสมกับสภำพแวดล้อมและควำมเป็นจริง มีกำรพัฒนำภูมิปัญญำของตนเองให้ก้ำวหน้ำ มิติด้านเศรษฐกิจ กำรทำให้เกิดดุลยภำยของกำรพัฒนำ คือ เศรษฐกิจที่มีรำกฐำนมั่นคง มีขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันและสำมำรถพึ่งตนเองได้ โดยมีเศรษฐกิจพอเพียงตำมแนวพระรำชดำริ ของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวเป็นแนวคิดหลัก ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในกำรทำให้คนมีคุณภำพ ชีวิตที่ดีขึ้น ประชำชนมีควำมมั่นคงปลอดภัย และสำมำรถพึ่งพำตนเองได้ในที่สุด
  • 20. จำกบทควำมในหนังสือเล่มนี้ได้กล่ำวว่ำเป็นที่ทรำบกันดีว่ำตั้งแต่ส่งครำมโลกครั้งที่สอง โลกได้ถูกแบ่งเป็น 2 ขั้ว ขั้วหนึ่งมีสหรัฐอเมริกำเป็นผู้นำ และอีกขั้วหนึ่งมีสหภำพโซเวียตเป็นผู้นำ ทั้งสองขั้วนี้จะแตกต่ำงกันทำงด้ำนอุดมกำรณ์ทำงกำรเมือง และทำงด้ำนกำรจัดระบบเศรษฐกิจ โดยแต่ละขั้วต่ำงมุ่งเสนอและปฏิบัติกำรทุกวิถีทำงที่จะทำให้อุดมกำรณ์และระเบียบทำงสังคม เศรษฐกิจ กำรเมือง ของฝ่ำยตนเป็นกระแสหลัก กำรแข่งขันระหว่ำงสองขั้วได้ก่อให้เกิดกำรเน้นหนักในกำรสร้ำงแสนยำนุภำพทำงกำรทหำรด้วย กำรแข่งขันทำงกำลังอำวุธ ทั้งที่เป็นอำวุธทันสมัยและอำวุธหลักดั้งเดิมและเมื่อเสร็จสิ้นสงครำมโลกครั้งที่ 2 สหรัฐอเมริกำเป็นประเทศที่มั่งคั่งที่สุดในโลกไม่ว่ำจะวัดกันด้วยรำยได้ต่อหัวของประชำกร ก ำ ร ด ำ ร ง ชี พ ข อ ง ป ร ะ ช ำ ช น ร ะ ดั บ ก ำ ร พั ฒ น ำ อุ ต ส ำ ห ก ร ร ม อัต รำค ว ำมเจริญ ท ำง เศ รษ ฐกิจห รือฐำนะท ำง กำรค ลัง ส ห รัฐอเมริกำก็เป็ น ผู้น ำ นอกจำกนั้นกำรผลิตทำงอุตสำหกรรมของโลกมำกกว่ำครึ่งหนึ่ง เป็นกำรผลิตในสหรัฐอเมริกำ จำกบ ท ค ว ำม นี้ท ำให้ เห็ น ภ ำพ ท ำง ด้ำน กำรพัฒ น ำใน มิติท ำง เท ค โน โล ยี ที่ ฝ่ ำ ย ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก ำ กั บ ฝ่ ำ ย ส ห ภ ำ พ โ ซ เ วี ย ต ต่ำงฝ่ำยต่ำงได้นำควำมรู้ทำงด้ำนเทคโนโลยีเข้ำมำเป็นเครื่องมือในกำรแสดงศักยภำพของตนเอง ซึ่งถ้ำฝ่ำยไหนพัฒนำเทคโนโลยีได้มีประสิทธิภำพมำกกว่ำก็จะเป็นผู้ได้เปรียบกับสงครำมครั้งนี้ จ ำ ก บ ท ค ว ำ ม นี้ แ ส ด ง ว่ ำ ถึงแม้สงครำมทุกคนจะมองว่ำเป็นสิ่งเลวร้ำยแต่ในควำมเลวร้ำยนั้นได้ก่อให้เกิดกำรพัฒนำทำงด้ำนเทคโ นโลยีอย่ำงรวดเร็ว