SlideShare a Scribd company logo
ทุนนิยมที่มีหัวใจ : ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา
การสรุปสาระสาคัญจากหนังสือทั้งเล่ม
จัดทาโดย
1. นายกฤต ศิริฤกษ์รัตนา 55070501604
2. นางสาวปรียานุช ศรีสุภินานนท์ 55070501620
3. นางสาวปาจรีย์ บุญยะไทย 55070501621
4. นางสาวจิตวิมล พรมศาสตร์ 55070501634
5. นายณัฐวัสส์ โสตถิพิมลพร 55070501640
6. นางสาวธนพร อินทรปรีชา 55070501641
7. นายพีรดนย์ ทองดีนอก 55070501646
8. นางสาวสุจีรัตน์ ครองศิลป์ 55070501655
กลุ่มกิงก่องแก้ว
ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
เสนอ
อาจารศิรินันต์ สุวรรณโมลี
งานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา GEN352
เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คานา
ช่วงเดือนมีนาคม 2550 มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ได้มีการจัดประชุมปรึกษาหารือกันในเรื่องต่างๆ
ห นึ่ ง ใ น นั้ น คื อ ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ ปิ ด ชั้ น เ รี ย น ใ ห ม่ ใ น เ รื่ อ ง ข อ ง ทุ น นิ ย ม
เพ ราะได้เห็ น ค ว าม สาคัญ ข อ ง ทุ น นิ ย ม ว่ า เป็ น เรื่อ ง ที่ ค รอ บ ค ลุม ทั้ ง ห ม ด บ น โล ก
มีบทบาทต่างๆมากมายในชีวิตประจาวัน
ทางมหาวิทยาลัยเที่ย งคืนได้เชิญ วิทยากรท่ านห นึ่งชื่ อว่า คุณสฤณี อาชวานันทกุ ล
ผู้ มี ผ ล ง า น โ ด ด เ ด่ น ใ น เ รื่ อ ง “To Think Well is Good, To Think Right is Better”
ม า บ ร รย าย ใน ชั้ น เรีย น ที่ ชื่ อ ว่ า “ท า ง รอ ด ทุ น นิ ย ม สั ง ค ม แ ห่ ง ค ว า ม ร่ ว ม มือ ”
คุ ณ ส ฤ ณี ไ ด้ ย ก ตั ว อ ย่ า ง อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ม า ก ม า ย เ กี่ ย ว กั บ ทุ น นิ ย ม
รวมทั้งยกตัวอย่างที่เกิดขึ้นกับระบบและบุคคลด้วย
ในเรื่องของทุนิยมที่มีหัวใจนั้น ทางผู้เขียนได้มีความคิดที่จะเชื่อมทักษะ กระบวนการความรู้
โดยใช้เทคโนโลยี เครื่องมือ และสถาบันใหม่ๆมากมายส่งเสริมและสนับสนุนให้ปัจเจกชนเป็นนักต่างๆ
อา ทิ เช่ น นั ก คิ ด นั ก ป รัช ญ า นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ ป็ น ต้น ให้ เป็ น เ รื่อ ง เดี ย ว กั น
โดยใช้ความปรารถนาที่จะเห็นโลกที่ดีกว่าเดิม โดยไม่สละประสิทธิภาพของระบบการตลาด
โดยให้ความหมายของทุนนิยมที่มีหัวใจ คือ
1. สนับสนุนคนเป็นนักเคลื่อนไหว ติดตามข่าวให้รู้เรื่องราวในปัจจุบันที่กาลังเกิดขึ้น
2. ให้นักธุรกิจมีแรงจูงใจมากขึ้นในการดาเนินธุรกิจอย่างรับผิดชอบต่อสังคม
3. ลดข้ออ้าง ของนักธุรกิจที่เห็นแก่ตัวให้มีข้ออ้างน้อยลงที่จะทาธุรกิจแบบไม่รับผิดชอบ
ก่อนที่จะมีคาว่าทุนนิยมที่มีหัวใจนั้น ต้องมีผู้ร่วมอุดมการณ์ที่มากพอที่จะสร้างให้เป็นระบบได้
ซึ่งคนเหล่านี้ต้องมองเห็นปัญหาและข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นในระบอบทุนนิยมกระแสหลักในปัจจุบัน
เพื่ อห ยุ ด ยั้ง บ ริษัท และนั ก ธุรกิ จที่ ไม่ มีค ว าม รับ ผิด ช อบ ที่ ก าลังเ อาเป รีย บ สัง ค ม
เพื่อให้เขาเหล่านั้นมองเห็นคุณค่าของทรัพยากรที่มีอยู่ เคารพภูมิปัญญาชาวบ้านและวัฒนธรรมท้องถิ่น
ยกระดับคุณภาพชีวิตของทุกคนในสังคม เลิกยึดติดกับค่านิยมเหลวแหลกที่ส่งเสริมพฤติกรรมเห็นแก่ตัว
และกาจัดทัศนคติอันคับแคบที่ไม่เคารพความเห็นต่าง
ความเข้าใจผิดบางประการเกี่ยวกับทุนนิยม มายาคติและข้อเท็จจริง
 สาเหตุที่ทาให้คนเราเข้าใจทุนนิยมผิดไปก็คือ
1 . เ ร า มั ก จ ะ ม อ ง เ ห็ น แ ต่ ค น ที่ เ ป็ น ผู้ ช น ะ ห รือ ผู้ ที่ ป ร ะ ส บ ค ว า ม ส า เ ร็ จ
แต่จะมองข้ามคนจานวนอีกมากที่เค้าไม่ประสบความสาเร็จ ตามอุดมคติที่เรียกว่า “sample bias”
หรือ“survivor bias”
2 . ก า ร ที่ นั ก เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ นั ก ก า ร เ งิ น ต ก ล ง กั น ว่ า
เราจะพูดถึงเฉพาะเรื่องประสิทธิภาพและระบบตลาดที่จะทาให้นาไปสู่การมีประสิทธิภาพสูงสุด
เพราะมันเป็นระบบที่มีลักษณะจัดการกันเอง (self-emerging) ซึ่งเป็นระบบที่มีทั้งความวุ่นวาย เรียกว่า“
เ ค อ อ ดิ ก ” ( chaordic) ซึ่ ง ก็ คื อ ก า ร ผ ส ม ผ ส า น ร ะ ห ว่ า ง chaos กั บ order
ทาให้เราต้องมีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับระบบเสียก่อนว่ามีกลไกในการทางานอย่างไรเพื่อให้เกิดประสิท
ธิภาพสูงสุด
3 .
การที่คนเราไม่มองให้ลึกว่าสาเหตุที่ทาให้ระบบตลาดทุนนิยมล้มเหลวนั้นมาจากความล้มเหลวของสถาบันห
รือเป็นความล้มเหลวที่เกิดจากคน
 แนวคิดที่เรียกว่า “ Sustainable development ” มีประเด็นที่สาคัญ 3 ประเด็น ได้แก่
1. การจัดสรรทรัพยากรจะต้องมี Social Justice ด้วย เพราะจะทาให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรที่
เป็นธรรมกับบุคคลทุกฝ่าย
2 . ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ ท รั พ ย า ก ร ที่ ใ ช้ แ ล้ ว มี วั น ห ม ด ไ ป
ถึงแม้ว่าในแง่ทางเศรษฐศาสตร์จะมองว่ามันเป็นปัจจัยที่เราไม่สามารถไปควบคุมได้ (Externalities)
ก็ตามแต่ถ้าเราใช้โดยไม่คานึงว่ามันจะหมดไปเมื่อใดมันก็จะทาให้เกิดการใช้ทรัพยากรที่ไม่ยั่งยืน
3. ความหลากหลายในแง่ของโมเดลการพัฒนาประเทศและโมเดลค่านิยม
 ระ บ บ เศ รษ ฐกิ จ แ บ บ เส รีที่ เ ราเห็ น ใน ปัจ จุบั น อาจ ไม่ ใช่ ระ บ บ เส รีจ ริง ๆ คือ
ก า ร ที่ รั ฐ บ า ล เ ป็ น ผู้ ผู ก ข า ด กั บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ บ บ 1 0 0 %
ซึ่งหากรัฐบาลมีการจัดการระบบที่ไม่ดีก็จะทาให้เกิดการแทรกแซงหรือการคุมอานาจโดยกลุ่มคนกลุ่มใดกลุ่
ม ห นึ่ ง ที่ เ รี ย ก ว่ า ร ะ บ บ ทุ น นิ ย ม แ บ บ ส า ม า น ย์ ห รื อ ทุ น นิ ย ม พ ว ก พ้ อ ง
ซึ่งการมีระบบเศรษฐกิจแบบดังกล่าวจะก่อให้เกิดความไม่ยั่งยืนในการพัฒนาเศรษฐกิจ
 มายาคติเกี่ยวกับ GDP
คนส่วนใหญ่มักมองว่าถ้า GDP ดี จะสามารถเป็นตัวชี้วัดได้ว่าคุณภาพสังคมดี ซึ่งเป็นความคิดที่ไม่ถูกต้อง
แ ต่ น อ ก จ า ก GDP
แล้วก็ยังมีตัวชี้วัดตัวอื่นๆอีกมากมายเช่นกันที่ถูกนามาใช้ในการวัดค่าความมีคุณภาพของสังคม
 มี ก า ร ก ล่ า ว ถึ ง แ น ว คิ ด ใ ห ม่ ที่ เ รี ย ก ว่ า ทุ น นิ ย ม ธ ร ร ม ช า ติ
ซึ่งเป็นแนวคิดที่มีวัตถุประสงค์เพื่ออยากจะให้คนเรารู้จักการเรียนรู้ธรรมชาติแล้วก็เลียนแบบวิธีทางานของธ
รรมชาติแทนการคิดว่าเราอยู่เหนือธรรมชาติและคิดว่าเราสามารถควบคุมมันได้
 การให้ค่าตอบแทนกับ สังคมเป็นตัวเงิน ไม่สามารถช่วยให้เกิดการพัฒ นาที่ยั่งยืนได้
ซึ่งวิธีแก้ปัญหาที่ดีที่สุดก็คือการบริหารจัดการความรู้แบบแพร่หลาย (Knowledge Management)
 ค ว า ม เ ชื่ อ ผิ ด ๆ ใ น เ รื่ อ ง ข อ ง ก ร ร ม สิ ท ธิ์
ซึ่ง เรามัก จ ะเน้ น ไป ที่ ส่ ว น บุ ค ค ลม า ก ก ว่ าจ ะนึ ก ถึง ก รรม สิท ธิ์ม อบ ผ ลป ระโย ช น์
เพ ราะค น ที่ ไม่ ได้รับ ผ ล ป ระโย ช น์ ก็ จ ะไม่ ส น ใจใน ส่ ว น นี้ ท าให้ ไม่ เกิ ด ก ารพัฒ น า
และอีกประเด็นหนึ่งก็คือการให้ความสาคัญกับลิขสิทธิ์ต่างๆมากเกินไปจนทาให้เกิดข้อจากัดในการเผยแพร่
สิ่งที่เป็นประโยชน์ต่างๆมากมาย เพราะกลัวความผิดที่เราไปละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น
สู่กระบวนทัศน์ใหม่แห่งการร่วมมือกัน
บิ ล เ ก ต ส์ ผู้ ก่ อ ตั้ ง บ ริ ษั ท ไ ม โ ค ร ซ อ ฟ ท์
ได้มองเห็นความล้มเหลวในระบบของโลกที่จะช่วยเหลือเด็กที่เจ็บป่วยโดยเฉพาะในทวีฟแอฟริกา
เขาจึงได้ตั้งมูลนิธิช่วยเหลือเด็กเหล่านี้ และเขาก็ได้ถูกรับเชิญไปพูดในงานรับปริญญาของมหาลัยฮาร์วาร์ด
ซึ่งเป นปาฐกถาที่ดีมาก โดยพูดถึงความไม่เท่ าเทีย มกันในโลก และเข าได้ฝากให้คิดไว้
ว่าจะท าอย่างไรให้ค วามไม่เท่ าเทีย มกันที่เกิดขึ้นในโลกมีน้อย ลงโดย ใชัพลังข องตลาด
ทาให้มีคาถามใหญ่ก็คือจะทาอย่างไรให้ความเป็นธรรมในสังคมเกิดขึ้นโดยที่ระบบเศรษฐกิจยังมีประสิทธิภา
พอยู่ ทาอย่างไรให้มันผสมผสานกันได้
ซึ่ ง ไ ด้ มี ก า ร ย ก ตั ว อ ย่ า ง เ ว็ บ ไ ซ ต์ Ohmynews.com ข อ ง เ ก า ห ลี ใ ต้
ซึ่งเป็นแหล่งรวมนักข่าวหลายแสนคนที่เป็นเหล่าแม่บ้าน ที่ใช้เวลาว่างมาเขียนข่าว แจ้งสถานการณ์ต่างๆ
ซึ่งเว็บ ไซต์นี้เป็ น เว็บ ไซ ต์การต รว จสอบ ค อร์รัป ชั่นที่ มีป ระสิท ธิภ าพที่ สุดในเกาห ลี
และถ้าเราเอาสิ่งต่างๆที่เล่ามามาประยุกต์ในด้านของธุรกิจก็คือการไม่เอารัดเอาเปรียบลูกจ้าง
ไม่หลีกเลี่ยงกฎหมาย มีความรับผิดชอบ ถ้าทุกบริษัททาได้ก็จะเกิดผลดีต่อสังคมนั้นเอง
แนวคิดใหม่ๆ ที่ประกอบสร้างเป็นกระบวนทัศน์ใหม่
1. อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตถูกใช้เป็นเครื่องที่ในการแพร่กระจายข่าวสาร แนวคิดต่างๆ โดยไม่มีข้อจากัด
ซึ่งควบคุมได้ยากหรือไม่สามารถควบคุมได้เลย โดยใครอยากจะนาเสนอเผยแพร่อะไรก็สามาทาได้
ซึ่งบางครั้งอินเตอร์ก็มีอิทธิพลต่อโลกแห่งความจริงและสามารกดดันให้ทุกอย่างเป็นไปตามที่ผู้เผยแพร่
ต้องการได้
2. แนวคิด Cosmopolitanism
เป็ นแนวคิดที่พูดถึงเรื่องการที่ ไม่ต้องการให้คนในโลกมีความเป็ นปัจเจกชนที่ สุดขั้ว
ที่ต่างคนต่างคิดแบบตัวใครตัวมันไม่สนใจอะไรนอกจากตนเอง
3. ทุนนิยมธรรมชาติ
เป็นการที่คนเริ่มมองว่าในการทาธุรกิจต้องมีต้นทุน โดยคิดว่าต้นทุนอันดับแรกที่สาคัญคือ
สิ่งแวดล้อม เมื่อเราทาธุรกิจเราได้ผลผลิต ได้กาไร แต่เราก็เสียต้นทุนไป ต้นทุนในที่นี้จะกล่าวถึงคือ
ทรัพยากรธรรมชาติที่เราไป ซึ่งถ้าได้กาไรมากก็หมายถึงท รัพยากรก็จะสูญเสียไปมาก
ดังนั้นเราจึงต้องมีการนาสิ่งแวดล้อมที่เสียไปมาคิดเป็นต้นทุนด้วย
4. นิเวศอุตสาหกรรมที่เรียกว่า Industrial Ecosystem
เป็นตัวอย่างแนวคิดเรื่องสิ่งแวดล้อมเรื่องทุนนิยมธรรมชาติที่มีการใส่ใจสิ่งแวดล้อม
เมื่อมีการนาทรัพยากรไปใช้ก็จะใช้อย่างคุ้มค่ามีการหมุนเวียนกลับมาใช้อย่างเป็นระบ บ
ให้มีของเสียออกมาให้น้อยที่สุด และนาของเสียที่ออกมาไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิจอย่างอื่นต่อไป
5. Biomimicry นวัตกรรมเลียนแบบธรรมชาติ
เราไม่สามารถเอาชนะธรรมชาติได้ เราจึงหันมาสังเกตธรรมชาติว่าธรรมชาติเป็นอย่างไร
และเราก็นาไปประยุกต์ตาม เพราะธรรมชาติมีกระบวนการผลิตที่มีชองเสียออกมาน้อย
เราจึงเลียนแบบธรรมชาติ เช่น เราสังเกตว่าเมื่อน้าตกลงบนใบบัว น้าจะไม่ซึมผ่านไปบัวไป
แต่จะกลิ้งอยู่บนใบบัว ซึ่งมีสาเหตุมาจากบนผิวใบบัวหนามขนาดเล็กมากๆที่เคลือบผิวใบบัวไว้
นักวิทยาศาสตร์จึงเอาหลักการนี้มาสร้างวัสดุสังเคราะห์ชนิดใหม่ที่เลียนแบบคุณสมบัตินี้ เช่น
การนาไป ประยุกต์ใช้เป็นสีท าบ้านที่ไม่เปียกน้าและสามารถ ทาความสะอาดตัวเองได้
รวมไปถึงการพัฒนาเป็นเสื้อผ้ากันน้าไร้รอย คราบสกปรก
6. Corporate Social Responsibility (CSR)
CSR เ ป็ น ก า ร รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สั ง ค ม ข อ ง ภ า ค ธุ ร กิ จ
ซึ่งต้องการดาเนินกิจการภายใต้หลักจริยธรรมและการจัดการที่ดีโดยรับผิดชอบสังคมและสิ่งแวดล้อม
เครื่องมือใหม่ๆ ที่ใช้ในภาคปฎิบัติ
แ น ว คิ ด อ ย่ าง ห นึ่ ง ที่ เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ส าห รับ ห ล า ย ๆ อ ย่ าง คือ Open source
ซึ่งเป็นการเปิดให้บุคคลสามารถให้ข้อแนะนา หรือความรู้ เพื่อนาไปพัฒนาแนวคิดหรือสิ่งต่างๆให้ดีขึ้น
ซึ่งOpen source นั้นมาจากการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีในตอนแรกทามาแล้วอาจไม่สมบูรณ์
แต่สามารถให้ผู้ที่มีความรู้ ความคิดเห็นต่างๆ มาร่วมกันแก้ไขได้
โดยแนวคิด Open source นั้นจะไม่มีลิขสิทธิ์ เพราะมันไม่ได้เกิดขึ้นมาจากคนคนเดียว
และไม่มีใครสามารถนาไปขายได้
แต่ต่อมาก็ได้มีแนวคิดเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ของ Open source ซึ่งเป็นแนวคิดที่เรียกว่า Creative
commons เป็นเครื่องมือที่ควบคุมการใช้งานของสิ่งที่คนคิดขึ้น โดยมี
1. Attribution = ช่วยให้เครดิตด้วยถ้านาสิ่งนั้นไปใช้ต่อ
2. Noncommercial = ห้ามขาย
3. No Derivative Work = ห้ามเอาไปดัดแปลง
4. Share Alike = ถ้าเอาไปดัดแปลง ก็ให้เครดิตด้วย
ก า ร น า Open source ม า ใช้ ใน ยุ ค แ ร ก ๆ ที่ ดั ง ม า ก ๆ คื อ บ ริ ษั ท Linux
โดยลินุกซ์เป็นเป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่ตอนนี้ code ของลินุกซ์ยังเป็น open source อยู่
แต่ห น้ าที่ ข อง บ ริษั ท ลินุ ก ซ์คือ การให้ ค าป รึก ษ ากับ บ ริษัท ต่ าง ๆ ที่ เอาลินุ กซ์ไป ใช้
ว่าจะเอาระบบนี้ไปทาอะไรให้เกิดประโยชน์ได้บ้าง รายได้ของเขาเกิดจากการขาย และให้คาปรึกษานั้นเอง
แ ล ะ ตั ว อ ย่ า ง ข อ ง Open source ใน ปั จ จุ บั น ที่ ดี ม า ก ก็ คื อ วิ กิ พี เ ดี ย
ที่สามารถให้บุคคลใดๆเข้าไปเขียนเข้าไปแก้ไขข้อมูลได้
ปัจจุบันได้มีก ารนาโมเดล open source ไป ใช้ประโยช น์ในการท างานมากขึ้น เช่ น
เว็บไซต์ที่ให้บริการอัพโหลดวิดีโอ ห รืออัพโหลดเพลงต่างๆ ซึ่งนาไ ปสู่การนาopen source
มาใช้ในการทาธุรกิจมากขึ้น และบริษัทก็คิดแต่กาไรเพียงอย่างเดียว ต่อมาจึงได้มีแนวคิดที่เรียกว่า Triple
bottom line บ อกว่าบ ริษัท ค ว รจะท างานเพื่อผลป ระโย ช น์ต่อป ระช าช นและสังค มด้ว ย
จึงได้มีกฎหมายให้จดสิทธิบัตร เพื่อกันการละเมิดลิขสิทธิ์ และการคืนกาไรสู่สังคม
สถาบันใหม่ๆในกระบวนทัศน์ใหม่
สถาบันในที่นี่หมายถึงอะไรก็ตามที่ใช้แนวคิดและเครื่องมือใหม่ๆที่ทาให้เกิดองค์กรที่มีเป้าหมายใน
การช่วยเหลือสังคมซึ่งจะแบ่งออกเป็นหลายๆประเภท
1) องค์กรเพื่อสังคม
เช่น Institute of OneWorld Health เป็นเอ็นจีโอที่ผลิตและวิจัยยาเพื่อคนจนแห่งแรกของโลก
อ ง ค์ ก ร นี้ เ ป็ น เ อ็ น จี โ อ เ พื่ อ สั ง ค ม แ บ บ ใ ห ม่
คือไม่พึ่งพาเงินบ ริจาคอย่ างเดีย วแต่คิดโมเดลธุรกิจให ม่ขึ้นมาเพื่อให้อยู่ได้อย่างยั่งยืน
โดยหลักๆแล้วเกี่ยวกับ open source
- KickStart เป็นองค์กรที่ขายเครื่องปั๊มน้าเครื่องสูบน้าในแอฟริกา
- Grameen Bank เป็นธนาคารเพื่อคนจนแห่งแรกของโลกที่เป็นผู้ให้กาเนิดแนวคิดไมโครเครดิต
2) องค์กรที่ช่วยในวิธีอื่นๆ
-Participant Productions เป็นบริษัทสตูดิโอที่ผลิตสารคดีเพื่อสังคม
-TED เว็บไซต์ ted.com เป็นการสัมนาที่ให้นักเท คโนโลยี นักวิทยาศาสตร์ นักคิด
และเอ็นจีโอทั่ว โลก ห รือ ค น ที่มีไอเดีย ดีๆ มาแช ร์ข้อมู ล แลก เป ลี่ย น ค ว าม เห็น กั น
และมีการจัดมอบรางวัลในทุกๆปี
3) ผู้นาความเปลี่ยนแปลง
คือคนที่ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงโดยอาจจะไม่ได้ขายของโดยตรงแต่มีส่วนช่วยในการผลักดันให้เ
กิดการเปลี่ยนแปลง
โดยข้อสรุปทั้งหมดนั้นมีความเชื่อมโยงกันโดยรวมคือพลังของปัจเจกชน และอินเทอร์เน็ตกับopen source
ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร
ทางเลือกของสังคม(2)
กรณีศึกษา นักเศรษฐศาสตร์ พยายามห าแนวคิดเพื่อให้เกษตรกรข าดทุนน้อยลง
หนึ่งในนั้นที่สาคัญคือเรื่องของ
กรมธรรม์ป ระกันอากาศ(Weather Insurance) มีส่วนช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อยคือ
ป ร ะ กั น ค ว า ม เ สี ย ห า ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น จ า ก ส ภ า พ อ า ก า ศ
เมื่ อเ รารู้แ ล้ว ว่ าค ว าม เสี่ย ง ข อ ง เก ษ ต รก รขึ้ น อยู่ กั บ ส ภ าพ อา ก าศ ค่ อ น ข้ าง ม า ก
แล้วถ้าเกิดมันมีผลิตภัณฑ์ทางการเงินอะไรที่จะช่วยบรรเทาหรือลดความเสี่ยงให้แก่เกษตรกรมันก็น่าจะดี
ซึ่งที่ผ่านมามีคนคิดหลักประกันในภาคเกษตรกรรมขึ้นมาหลายอย่างหลักๆมีใช้อยู่ 2 ชนิด เรียกว่า Multi
Peril Crop Insurance กั บ Name Peril Crop Insurance ซึ่ ง จ ะ ต่ า ง กั น ต ร ง ที่ Multi Peril
นั้นไม่ว่าความเสียหายเกิดขึ้นเพราะเหตุใดก็ตามสามารถไปเรียกร้องสิทธิในการรับเงินประกันได้แต่ว่าต้องตี
ราค าค่าความเสียห าย นั้นๆและพิสูจน์ให้ได้ก่อนว่าข้าวในนาเสีย หาย จริงส่ว น Name Peril
จ ะ เ จ า ะ จ ง ว่ า ค ว า ม เ สี ย ห า ย นั้ น จ ะ ต้ อ ง ม า จ า ก ก า ร ถู ก แ ม ล ง ท า ล า ย
เขาจะไม่รับผิดชอบห ากเกิดความเสียห ายจากสภาพดินฟ้าอาก าศ แต่ก็มีข้อเสียเนื่องจาก
กรมธรรม์ประกันอากาศ(Weather Insurance)ก่อให้เกิดปัญหาทางด้านเศรษฐศาสตร์ เรียกว่า Moral
Hazard คือปัญ หาที่พฤติกรรมข องเราจะเป ลี่ยนไป เมื่อเราไป ทาข้อตก ลงอะไรอย่างห นึ่ง
เช่ นเราไป ท าป ระกันสุข ภาพเกี่ย วกับ โรค มะเร็ง จากเดิมเราสูบ บุ ห รี่วันห นึ่งน้อย มาก
แต่เมื่อเราไปทาประกันแล้วเราเปลี่ยนเป็นสูบวันละ 10 ซองเลยเพราะถือว่าเรามีประกันแล้ว เช่นนี้เป็นต้น
ปัญ หาที่สาคัญ อีกอันห นึ่งท างภ าคเศ รษฐศ าสตร์เรียก ว่า Adverse Selection
ค ล้า ย ๆ กั น คื อ ท าให้ ลู ก ค้ ามี แ น ว โน้ ม เ ป ลี่ย น พ ฤ ติก ร รม ก่ อ น ท า ป ร ะกั น เ ช่ น
เรา ไป โฆ ษ ณ าว่ าเ รามี บ ริก ารรับ ป ร ะกั น ค ว า ม เ สีย ห าย จ า ก ก ารป ลู ก ข้ าว เ จ้า
เกษตรกรก็หันมาปลูกข้าวเจ้ากันหมดเลยถึงแม้ว่าพื้นที่แถบนั้นอาจจะไม่มีความเหมาะสมที่จะปลูกข้าวเจ้าเล
ยก็ตาม เพราะเขาคิดว่ายังไงก็ยังคงดีกว่าปลูกอย่างอื่นที่ไม่มีการประกันมารองรับ
ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า Moral Hazard แ ล ะ Adverse Selection ส า ม ร ถ ใช้ ม า ต ร ก า ร
กรมธรรม์ประกันภัยแล้งและ การประกันราคาสินค้าเกษตรกร
กรมธรรม์ประกันภัยแล้ง การประกันราคาสินค้าเกษตรกร
หลีกเลี่ยงพฤติกรรม Moral Hazard และ Adverse
Selection ของเกษตรกร
เกษตรกรอาจเลือกปลูกพืชที่ไม่เหมาะกับภูมิอาก
าศแต่ได้รับการประกันราคา
ต้นทุนการบริหารจัดการต่า
เนื่องจากดัชนีน้าฝนเป็นข้อมูลที่โปร่งใส(Transparent)แ
ละไม่มีการบิดเบือน(Objective)
การคานวณดัชนีราคามีต้นทุนสูงและพ่อค้าคนกล
างสามารถปั่นราคาได้
การคานวณเงินประกันชดเชยสามารถทาได้ทันที การประกันภัยต่อของราคาสินค้าเกษตรยังอยู่ในว
งจากัด หรืออาจไม่มีเลย
การประกันภัยต่อ(Reinsurance)ของกรมธรรม์ประกันภั
ยชนิดนี้มีตลาดรองรับ
DualCurrency System
มนุษย์ในยุคสมัยก่อนยังไม่มีเงินตราใช้ในการซื้อขาย จึงใช้วิธีการแลกเปลี่ยนสิ่งของกัน
เพื่อตอบสนองความต้องการสิ่งต่างๆที่ใช้ในการดารงชีวิตมากขึ้น เช่น นายก.ต้องการพืชผลทางการเกษตร
นายข.ต้องการข้าว ดังนั้นนายก.ไม่ต้องการข้าว นายข .ไม่ต้องการพืชผลท างการเกษตร
จึงสามารถแลกเปลี่ย นกันได้ กรณีศึกษาอีกกรณีห นึ่งคือ บ ริษัท ชื่ อ DualCurrency System
จดทะเบียนที่รัฐมินเนสโซต้า ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งโดยโจล์ โฮดรอฟ
เริ่มจากในปัจจุบันมีเทค โนโลยีที่พัฒ นาขึ้นมาก มายที่ช่วยให้ใช้แรงงานคนน้อยลง
ใช้ พ ลัง ง า น ง า น น้ อ ย ล ง แ ล ะ ใช้ ต้ น ทุ น น้ อ ย ล ง ใน ข ณ ะ ที่ ผ ล ผ ลิ ต ล้ น ต ล า ด
แต่ ผ ล ผ ลิต ที่ เ พิ่ ม ม าก ขึ้ น นี้ มั น ห าย ไป ไห น แ ล ะท า ไม เร าม อ ง ไม่ เห็ น ว่ า มัน ล้น
เพราะสิ่งที่ล้นมันไม่อยู่ในรูปแบบที่จับต้องได้ เช่น แต้มสะสมไมล์ที่ไม่ได้ใช้ ชั่วโมงฟิตเนสที่เหลือ
คู ป อ ง ก า รศึ ก ษ าที่ เห ลือ อ ยู่ ใน บั ญ ชี คู ป อ ง ล ด ร าค าอ าห าร ร้า น ห นึ่ ง ที่ ไม่ ได้ใช้
ห รือ ร้า น อ า ห า ร ที่ มี โ ต๊ ะ ว่ า ง อ ยู่ ต ล อ ด เ ว ล า ซึ่ ง แ ต่ ล ะ ค น มี สิ่ ง ที่ เ ห ลื อ ใ ช้
ห า ก ค น ที่ มี คู ป อ ง ก า ร ศึ ก ษ า ที่ ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ เ กิ ด อ ย า ก นั่ ง เ ค รื่ อ ง บิ น
ส่ ว น ค น ที่ มี แ ต้ ม ส ะ ส ม ไ ม ล์ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ เ กิ ด อ ย า ก ไ ป เ รี ย น
ถ้ามีระบบแลกเปลี่ยนกลางที่โยกย้ายสิ่งที่เราไม่ได้ใช้นี้ไปให้คนอื่น แลกกับสิ่งที่เราต้องการจากคนอื่น
จะเป็นตัวกลางที่สร้างประโยชน์ให้กับทุกฝ่าย
คุ ณ โ ฮ ด ร อ ฟ จึ ง เ กิ ด ค ว า ม คิ ด ที่ ว่ า
เขาจะเข้าไปเป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนสิ่งที่แต่ละคนมีเหลือใช้กับสิ่งที่ต้องการจากคนอื่น
โดยทาสัญญาว่าทุกคนจะยอมให้ข้อมูลเข้ามาอยู่ในโกดังกลางเสมือนจริง (Virtual warehouse) ของเขา
เพื่อคานวณ ว่าลูกค้าข องค นเห ล่านี้จะได้อะไรเป็ นจานวนแค่ไห น ในรูป Business Dollar
เป็ น สกุ ลเงิน ให ม่ที่ ใช้แท นมู ลค่าสิ่งต่ าง ๆ ที่ล้น อยู่ ใน ระบ บ ส่ว น บ ริษัท DualCurrency
จะได้ประโยชน์เป็นค่าคอมมิสชั่นจานวนหนึ่งจากธุรกรรมที่เกิดขึ้น
โครงการ CAMPFIER ในประเทศซิมบับเว
ป ร ะ เ ท ศ ซิ ม บั บ เ ว อ ยู่ ใ น ท วี ป แ อ ฟ ริ ก า
ซึ่ ง ร า ย ไ ด้ ส่ ว น ให ญ่ ม า จ า ก ให้ นั ก ล่ า สั ต ว์ เ ข้ า ม า ล่ า สั ต ว์ ภ า ย ใน ป ร ะ เ ท ศ
โดยในอดีตวัฒนธรรมชาวซิมบับเวจะอยู่กันเป็นเผ่า แต่ละเผ่าจะมี totem เป็นไม้แกะสลักเป็นรูปหัวสัตว์
ซึ่งในแต่ละเผ่าจะไม่มีการล่าสัตว์ที่เป็ นสัญ ลักษณ์เผ่าท าให้มีคว ามสมดุลเรื่องสาย พันธุ์
จน เมื่ อ ป ระ ม า ณ 2 0 ปี ที่ แ ล้ว ป ระ เท ศ ซิม บั บ เว ก ลัว ว่ าสัต ว์ ข อ ง ต น จ ะสู ญ พั น ธุ์
จึง มี ก า รตั้ง พื้ น ที่ อุ ท ย า น แ ห่ ง ช า ติ ขึ้ น ม า ท าให้ ห้ า ม ล่ า สั ต ว์ แ ล ะ เก็ บ ข อ ง ป่ า
ส่งผลให้สัตว์ป่ามีจานวนมากขึ้นจนเกิดปัญหา
รัฐบาลแอฟริกันริเริ่มโค รงการ CAMPFIER (Communal Area Management Program for
Indigenous Resource) ประมาณปี 1980 โครงการนี้พยายามทาให้เกิดสมดุลระหว่างสัตว์ป่ากับชุมชน
โ ด ย ใ ห้ ช า ว บ้ า น ไ ด้ มี สิ ท ธิ ใ น ก า ร จั ด ก า ร พื้ น ที่ ชุ ม ช น ด้ ว ย ต น เ อ ง
โดยรัฐบาลได้ให้สิทธิชาวบ้านชาวบ้านไปบริหารจัดการภายในกรอบที่ตกลงกันไว้ เช่น ปัญหาช้างเยอะ
แก้ด้วยการให้สัมปท านนักท่ องเที่ยวไปล่าสัตว์ได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้การดูแลอย่ างเข้มงวด
เพื่ อ ให้ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ไ ม่ เสี ย ส ม ดุ ล โค รง ก า ร ดั ง ก ล่ า ว นี้ ท า ร า ย ได้ ให้ ช าว บ้ า น
ซึ่งรายได้90เปอร์เซ็นต์ของชาวบ้านก็มาจากการให้สัมปทานนี้
ปัจจุบันการท่องเที่ยวแบบนี้ก็เป็นที่ยอมรับกันกว้างขวางเพราะถือว่าเป็น eco-tourism
ห รือก ารท่ อ ง เที่ ย ว เชิ ง นิ เ ว ศ แห่ ง แ ร ก ๆ ข อ ง โลก ที่ ท าได้อ ย่ าง มีป ระสิท ธิภ า พ
เพ ร าะก าร ท่ อ ง เที่ ย ว แ บ บ นี้ ไม่ ต้อ ง ลง ทุ น ส ร้า ง โร ง แ รม ห้ าด าว ให้ นั ก ท่ อง เ ที่ ย ว
ค น ที่ ต้ อ ง ก าร ล่ า สั ต ว์ เข า เ อ า อุ ป ก รณ์ ม า เอ ง ไม่ ส ร้า ง ต้ น ทุ น ให้ กั บ ช า ว บ้ า น
นอกจากการสัมปทานล่าสัตว์แล้วยังมีการขายสัตว์ป่าและของป่าตามโควตาที่ตกลงกันไว้แล้วระหว่างภาครัฐ
กับชาวบ้าน
ผู้ ฟั ง : เ มื่ อ สั ก ค รู่ เ ร า พู ด ถึ ง ป ร ะ เ ด็ น เ รื่ อ ง ผ ลิ ต ภ า พ ส่ ว น เ กิ น
ทีนี้อย่างช้างเหลือนี้มันจะเป็นไปได้ไหมที่จะแลกเปลี่ยนกับประเทศที่มีช้างขาดแคลนแต่มีเงินเหลือ
แล้วก็มีการแลกเปลี่ยนอะไรกันตามแต่ตกลง
สฤณี : ก็ เ ป็ น ค ว า ม คิ ด ที่ ดี แ ล ะ น่ า จ ะ ท า ไ ด้ น ะ ค ะ
เพียงแต่ชาวบ้านในเขตที่ช้างเหลือก็อาจจะไม่พอใจหรืออาจจะหวงช้างในเขตของเขา
ธนาคารกรามีน(Grameen Bank)
กรามีนแบงก์ก่อตั้งโดยมูฮัมหมัดยูนุส เป็นธนาคารที่ตั้งขึ้นมาเพื่อคนจนที่ไม่มีหลักประกัน
โดยยูนุสเชื่อว่าคนจนทุกคนมีศักยภาพและไม่อยากเบี้ยวหนี้เพราะฉะนั้นกรณีที่ลูกหนี้ไม่คืนเงิน
อาจหมายความว่าเขาอาจจะยังไม่ได้ดึงศักยภาพของเขาออกมาอย่างเต็มที่หรือเขายังไม่รู้จะจัดการเอาเงินไ
ป ท าอะไร แก้ไข ได้โดย เมื่ อธนาค ารให้ กู้เงินก็จะมีก ารติด ตามดูแลลูก ห นี้ เป็ น ค น ๆ
วิธีการลดความเสี่ยงของธนาคารที่ลูกหนี้จะไม่คืนเงินทาได้โดยมีการค้าประกัน4คนซึ่งอาจเป็นเพื่อนบ้าน
รวมผู้กู้เป็น5คน ถ้าคนใดเบี้ยวก็จะถูกประณามโดยชุมชนใช้โครงสร้างวัฒนธรรมในการจัดการ
ธนาค ารกรามีนแบ่งชนิดเงินกู้ออกเป็น3ชนิด 1.เงินกู้ทั่วไป ,2.เงินเพื่อต่อเติมบ้าน
แ ล ะ 3 . เ งิ น เ พื่ อ ก า ร ศึ ก ษ า
เพื่อไม่ให้ซัลซ้อนและธนาคารกรามีนยังมีความยืดหยุ่นในการชาระเงินกู้เพราะเค้าเชื่อว่าคนจนทุกคนมีควา
มเสี่ยงสูงในชีวิต
สิ่งที่ยูนุสภูมิใจมากที่สุด คือ เขาพยายามที่จะทาให้คนจนหลุดพ้นจากความจนได้อย่างแท้จริง
ไม่ใช่ห มดห นี้แล้วก็จบ เข าพย ายามวัดว่าช่ วยค นจนไป ได้เท่ าไห ร่แล้ว ด้วย สิ่งที่เรีย กว่ า
“คาป ฏิ ญ าณ ต น1 6 ข้อ ” เป็ นเก ณ ฑ์ ในก ารวัดว่ าห ลุ ดพ้น จากค ว ามจ นเป็ น อย่ าง ไร
จะเห็นได้ว่ากรามีนแบงก์พยายามที่จะเป็นองค์กรสาหรับชุมชนที่จะทาให้ชุมชนพัฒนาขึ้น
ผู้ฟัง : ผมสงสัยถึงความเป็นไปได้ของกรามีนแบงก์ เนื่องจากเป็นการดาเนินการกับสังคมที่ยากจนมากๆ
ดังนั้นเมื่อนามาใช้กับสังคมที่ไม่ได้ยากจนขนาดนั้น เขาก็ไม่ได้นาเงินไปซื้อวัวหรืออุปกรณ์การเกษตร
แ ต่ อ า จ จ ะ น า ไ ป ซื้ อ อ ะ ไ ร ที่ ยิ่ ง ใ ห ญ่ ก ว่ า นั้ น เ ล็ ก น้ อ ย
เพราะฉะนั้นเมื่อถึงเวลาติดตามดูแลลูกหนี้ก็ต้องใช้ผู้ดูแลที่มีความรู้มากขึ้นซึ่งต้องใช้ต้นทุนที่มากขึ้นตามไป
ด้วย แล้วกรามีนแบงก์จะสามารถทาได้หรือ
ส ฤ ณี : ต า ม ค ว า ม คิ ด ข อ ง ดิ ฉั น น ะ ค่ ะ
คิดว่าในอนาคตรัฐบาลควรจะให้คนที่จบปริญญาตรีและปริญญาโทด้านบิหารธุรกิจจะต้องใช้เวลาอย่างน้อยห
นึ่งเดือนเป็น financial consultant ให้กับชาวบ้านค่ะ

More Related Content

Viewers also liked

กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาดกลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
freelance
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
freelance
 
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
freelance
 
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
freelance
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
freelance
 
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
freelance
 
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
freelance
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
freelance
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
freelance
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
freelance
 
กลุ่มโนโลโก้ --Nologo
กลุ่มโนโลโก้ --Nologoกลุ่มโนโลโก้ --Nologo
กลุ่มโนโลโก้ --Nologofreelance
 
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงานกลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
freelance
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
freelance
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
freelance
 

Viewers also liked (14)

กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาดกลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
 
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
 
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
 
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
 
กลุ่มโนโลโก้ --Nologo
กลุ่มโนโลโก้ --Nologoกลุ่มโนโลโก้ --Nologo
กลุ่มโนโลโก้ --Nologo
 
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงานกลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
 

Similar to กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา

บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2airly2011
 
Prและสังคม2
Prและสังคม2Prและสังคม2
Prและสังคม2
Vivace Narasuwan
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
Weerachat Martluplao
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
Weerachat Martluplao
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
gam030
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
nattawad147
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Piyapong Chaichana
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
wanneemayss
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
nattawad147
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Theerayut Ponman
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
poppai041507094142
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
wanitchaya001
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
teerayut123
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
wanichaya kingchaikerd
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
benty2443
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
fernfielook
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
nattapong147
 

Similar to กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา (20)

บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
Social network direct media
Social network direct mediaSocial network direct media
Social network direct media
 
Prและสังคม2
Prและสังคม2Prและสังคม2
Prและสังคม2
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 

More from freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
freelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
freelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
freelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
freelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
freelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
freelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
freelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
freelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
freelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
freelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
freelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
freelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
freelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
freelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
freelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
freelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
freelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
freelance
 

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา

  • 1. ทุนนิยมที่มีหัวใจ : ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา การสรุปสาระสาคัญจากหนังสือทั้งเล่ม จัดทาโดย 1. นายกฤต ศิริฤกษ์รัตนา 55070501604 2. นางสาวปรียานุช ศรีสุภินานนท์ 55070501620 3. นางสาวปาจรีย์ บุญยะไทย 55070501621 4. นางสาวจิตวิมล พรมศาสตร์ 55070501634 5. นายณัฐวัสส์ โสตถิพิมลพร 55070501640 6. นางสาวธนพร อินทรปรีชา 55070501641 7. นายพีรดนย์ ทองดีนอก 55070501646 8. นางสาวสุจีรัตน์ ครองศิลป์ 55070501655 กลุ่มกิงก่องแก้ว ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม เสนอ อาจารศิรินันต์ สุวรรณโมลี งานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  • 2. คานา ช่วงเดือนมีนาคม 2550 มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ได้มีการจัดประชุมปรึกษาหารือกันในเรื่องต่างๆ ห นึ่ ง ใ น นั้ น คื อ ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ ปิ ด ชั้ น เ รี ย น ใ ห ม่ ใ น เ รื่ อ ง ข อ ง ทุ น นิ ย ม เพ ราะได้เห็ น ค ว าม สาคัญ ข อ ง ทุ น นิ ย ม ว่ า เป็ น เรื่อ ง ที่ ค รอ บ ค ลุม ทั้ ง ห ม ด บ น โล ก มีบทบาทต่างๆมากมายในชีวิตประจาวัน ทางมหาวิทยาลัยเที่ย งคืนได้เชิญ วิทยากรท่ านห นึ่งชื่ อว่า คุณสฤณี อาชวานันทกุ ล ผู้ มี ผ ล ง า น โ ด ด เ ด่ น ใ น เ รื่ อ ง “To Think Well is Good, To Think Right is Better” ม า บ ร รย าย ใน ชั้ น เรีย น ที่ ชื่ อ ว่ า “ท า ง รอ ด ทุ น นิ ย ม สั ง ค ม แ ห่ ง ค ว า ม ร่ ว ม มือ ” คุ ณ ส ฤ ณี ไ ด้ ย ก ตั ว อ ย่ า ง อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ม า ก ม า ย เ กี่ ย ว กั บ ทุ น นิ ย ม รวมทั้งยกตัวอย่างที่เกิดขึ้นกับระบบและบุคคลด้วย ในเรื่องของทุนิยมที่มีหัวใจนั้น ทางผู้เขียนได้มีความคิดที่จะเชื่อมทักษะ กระบวนการความรู้ โดยใช้เทคโนโลยี เครื่องมือ และสถาบันใหม่ๆมากมายส่งเสริมและสนับสนุนให้ปัจเจกชนเป็นนักต่างๆ อา ทิ เช่ น นั ก คิ ด นั ก ป รัช ญ า นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ ป็ น ต้น ให้ เป็ น เ รื่อ ง เดี ย ว กั น โดยใช้ความปรารถนาที่จะเห็นโลกที่ดีกว่าเดิม โดยไม่สละประสิทธิภาพของระบบการตลาด โดยให้ความหมายของทุนนิยมที่มีหัวใจ คือ 1. สนับสนุนคนเป็นนักเคลื่อนไหว ติดตามข่าวให้รู้เรื่องราวในปัจจุบันที่กาลังเกิดขึ้น 2. ให้นักธุรกิจมีแรงจูงใจมากขึ้นในการดาเนินธุรกิจอย่างรับผิดชอบต่อสังคม 3. ลดข้ออ้าง ของนักธุรกิจที่เห็นแก่ตัวให้มีข้ออ้างน้อยลงที่จะทาธุรกิจแบบไม่รับผิดชอบ ก่อนที่จะมีคาว่าทุนนิยมที่มีหัวใจนั้น ต้องมีผู้ร่วมอุดมการณ์ที่มากพอที่จะสร้างให้เป็นระบบได้ ซึ่งคนเหล่านี้ต้องมองเห็นปัญหาและข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นในระบอบทุนนิยมกระแสหลักในปัจจุบัน เพื่ อห ยุ ด ยั้ง บ ริษัท และนั ก ธุรกิ จที่ ไม่ มีค ว าม รับ ผิด ช อบ ที่ ก าลังเ อาเป รีย บ สัง ค ม เพื่อให้เขาเหล่านั้นมองเห็นคุณค่าของทรัพยากรที่มีอยู่ เคารพภูมิปัญญาชาวบ้านและวัฒนธรรมท้องถิ่น ยกระดับคุณภาพชีวิตของทุกคนในสังคม เลิกยึดติดกับค่านิยมเหลวแหลกที่ส่งเสริมพฤติกรรมเห็นแก่ตัว และกาจัดทัศนคติอันคับแคบที่ไม่เคารพความเห็นต่าง
  • 3. ความเข้าใจผิดบางประการเกี่ยวกับทุนนิยม มายาคติและข้อเท็จจริง  สาเหตุที่ทาให้คนเราเข้าใจทุนนิยมผิดไปก็คือ 1 . เ ร า มั ก จ ะ ม อ ง เ ห็ น แ ต่ ค น ที่ เ ป็ น ผู้ ช น ะ ห รือ ผู้ ที่ ป ร ะ ส บ ค ว า ม ส า เ ร็ จ แต่จะมองข้ามคนจานวนอีกมากที่เค้าไม่ประสบความสาเร็จ ตามอุดมคติที่เรียกว่า “sample bias” หรือ“survivor bias” 2 . ก า ร ที่ นั ก เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ นั ก ก า ร เ งิ น ต ก ล ง กั น ว่ า เราจะพูดถึงเฉพาะเรื่องประสิทธิภาพและระบบตลาดที่จะทาให้นาไปสู่การมีประสิทธิภาพสูงสุด เพราะมันเป็นระบบที่มีลักษณะจัดการกันเอง (self-emerging) ซึ่งเป็นระบบที่มีทั้งความวุ่นวาย เรียกว่า“ เ ค อ อ ดิ ก ” ( chaordic) ซึ่ ง ก็ คื อ ก า ร ผ ส ม ผ ส า น ร ะ ห ว่ า ง chaos กั บ order ทาให้เราต้องมีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับระบบเสียก่อนว่ามีกลไกในการทางานอย่างไรเพื่อให้เกิดประสิท ธิภาพสูงสุด 3 . การที่คนเราไม่มองให้ลึกว่าสาเหตุที่ทาให้ระบบตลาดทุนนิยมล้มเหลวนั้นมาจากความล้มเหลวของสถาบันห รือเป็นความล้มเหลวที่เกิดจากคน  แนวคิดที่เรียกว่า “ Sustainable development ” มีประเด็นที่สาคัญ 3 ประเด็น ได้แก่ 1. การจัดสรรทรัพยากรจะต้องมี Social Justice ด้วย เพราะจะทาให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรที่ เป็นธรรมกับบุคคลทุกฝ่าย 2 . ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ ท รั พ ย า ก ร ที่ ใ ช้ แ ล้ ว มี วั น ห ม ด ไ ป ถึงแม้ว่าในแง่ทางเศรษฐศาสตร์จะมองว่ามันเป็นปัจจัยที่เราไม่สามารถไปควบคุมได้ (Externalities) ก็ตามแต่ถ้าเราใช้โดยไม่คานึงว่ามันจะหมดไปเมื่อใดมันก็จะทาให้เกิดการใช้ทรัพยากรที่ไม่ยั่งยืน 3. ความหลากหลายในแง่ของโมเดลการพัฒนาประเทศและโมเดลค่านิยม  ระ บ บ เศ รษ ฐกิ จ แ บ บ เส รีที่ เ ราเห็ น ใน ปัจ จุบั น อาจ ไม่ ใช่ ระ บ บ เส รีจ ริง ๆ คือ ก า ร ที่ รั ฐ บ า ล เ ป็ น ผู้ ผู ก ข า ด กั บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ บ บ 1 0 0 % ซึ่งหากรัฐบาลมีการจัดการระบบที่ไม่ดีก็จะทาให้เกิดการแทรกแซงหรือการคุมอานาจโดยกลุ่มคนกลุ่มใดกลุ่ ม ห นึ่ ง ที่ เ รี ย ก ว่ า ร ะ บ บ ทุ น นิ ย ม แ บ บ ส า ม า น ย์ ห รื อ ทุ น นิ ย ม พ ว ก พ้ อ ง ซึ่งการมีระบบเศรษฐกิจแบบดังกล่าวจะก่อให้เกิดความไม่ยั่งยืนในการพัฒนาเศรษฐกิจ
  • 4.  มายาคติเกี่ยวกับ GDP คนส่วนใหญ่มักมองว่าถ้า GDP ดี จะสามารถเป็นตัวชี้วัดได้ว่าคุณภาพสังคมดี ซึ่งเป็นความคิดที่ไม่ถูกต้อง แ ต่ น อ ก จ า ก GDP แล้วก็ยังมีตัวชี้วัดตัวอื่นๆอีกมากมายเช่นกันที่ถูกนามาใช้ในการวัดค่าความมีคุณภาพของสังคม  มี ก า ร ก ล่ า ว ถึ ง แ น ว คิ ด ใ ห ม่ ที่ เ รี ย ก ว่ า ทุ น นิ ย ม ธ ร ร ม ช า ติ ซึ่งเป็นแนวคิดที่มีวัตถุประสงค์เพื่ออยากจะให้คนเรารู้จักการเรียนรู้ธรรมชาติแล้วก็เลียนแบบวิธีทางานของธ รรมชาติแทนการคิดว่าเราอยู่เหนือธรรมชาติและคิดว่าเราสามารถควบคุมมันได้  การให้ค่าตอบแทนกับ สังคมเป็นตัวเงิน ไม่สามารถช่วยให้เกิดการพัฒ นาที่ยั่งยืนได้ ซึ่งวิธีแก้ปัญหาที่ดีที่สุดก็คือการบริหารจัดการความรู้แบบแพร่หลาย (Knowledge Management)  ค ว า ม เ ชื่ อ ผิ ด ๆ ใ น เ รื่ อ ง ข อ ง ก ร ร ม สิ ท ธิ์ ซึ่ง เรามัก จ ะเน้ น ไป ที่ ส่ ว น บุ ค ค ลม า ก ก ว่ าจ ะนึ ก ถึง ก รรม สิท ธิ์ม อบ ผ ลป ระโย ช น์ เพ ราะค น ที่ ไม่ ได้รับ ผ ล ป ระโย ช น์ ก็ จ ะไม่ ส น ใจใน ส่ ว น นี้ ท าให้ ไม่ เกิ ด ก ารพัฒ น า และอีกประเด็นหนึ่งก็คือการให้ความสาคัญกับลิขสิทธิ์ต่างๆมากเกินไปจนทาให้เกิดข้อจากัดในการเผยแพร่ สิ่งที่เป็นประโยชน์ต่างๆมากมาย เพราะกลัวความผิดที่เราไปละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น
  • 5. สู่กระบวนทัศน์ใหม่แห่งการร่วมมือกัน บิ ล เ ก ต ส์ ผู้ ก่ อ ตั้ ง บ ริ ษั ท ไ ม โ ค ร ซ อ ฟ ท์ ได้มองเห็นความล้มเหลวในระบบของโลกที่จะช่วยเหลือเด็กที่เจ็บป่วยโดยเฉพาะในทวีฟแอฟริกา เขาจึงได้ตั้งมูลนิธิช่วยเหลือเด็กเหล่านี้ และเขาก็ได้ถูกรับเชิญไปพูดในงานรับปริญญาของมหาลัยฮาร์วาร์ด ซึ่งเป นปาฐกถาที่ดีมาก โดยพูดถึงความไม่เท่ าเทีย มกันในโลก และเข าได้ฝากให้คิดไว้ ว่าจะท าอย่างไรให้ค วามไม่เท่ าเทีย มกันที่เกิดขึ้นในโลกมีน้อย ลงโดย ใชัพลังข องตลาด ทาให้มีคาถามใหญ่ก็คือจะทาอย่างไรให้ความเป็นธรรมในสังคมเกิดขึ้นโดยที่ระบบเศรษฐกิจยังมีประสิทธิภา พอยู่ ทาอย่างไรให้มันผสมผสานกันได้ ซึ่ ง ไ ด้ มี ก า ร ย ก ตั ว อ ย่ า ง เ ว็ บ ไ ซ ต์ Ohmynews.com ข อ ง เ ก า ห ลี ใ ต้ ซึ่งเป็นแหล่งรวมนักข่าวหลายแสนคนที่เป็นเหล่าแม่บ้าน ที่ใช้เวลาว่างมาเขียนข่าว แจ้งสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งเว็บ ไซต์นี้เป็ น เว็บ ไซ ต์การต รว จสอบ ค อร์รัป ชั่นที่ มีป ระสิท ธิภ าพที่ สุดในเกาห ลี และถ้าเราเอาสิ่งต่างๆที่เล่ามามาประยุกต์ในด้านของธุรกิจก็คือการไม่เอารัดเอาเปรียบลูกจ้าง ไม่หลีกเลี่ยงกฎหมาย มีความรับผิดชอบ ถ้าทุกบริษัททาได้ก็จะเกิดผลดีต่อสังคมนั้นเอง
  • 6. แนวคิดใหม่ๆ ที่ประกอบสร้างเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ 1. อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตถูกใช้เป็นเครื่องที่ในการแพร่กระจายข่าวสาร แนวคิดต่างๆ โดยไม่มีข้อจากัด ซึ่งควบคุมได้ยากหรือไม่สามารถควบคุมได้เลย โดยใครอยากจะนาเสนอเผยแพร่อะไรก็สามาทาได้ ซึ่งบางครั้งอินเตอร์ก็มีอิทธิพลต่อโลกแห่งความจริงและสามารกดดันให้ทุกอย่างเป็นไปตามที่ผู้เผยแพร่ ต้องการได้ 2. แนวคิด Cosmopolitanism เป็ นแนวคิดที่พูดถึงเรื่องการที่ ไม่ต้องการให้คนในโลกมีความเป็ นปัจเจกชนที่ สุดขั้ว ที่ต่างคนต่างคิดแบบตัวใครตัวมันไม่สนใจอะไรนอกจากตนเอง 3. ทุนนิยมธรรมชาติ เป็นการที่คนเริ่มมองว่าในการทาธุรกิจต้องมีต้นทุน โดยคิดว่าต้นทุนอันดับแรกที่สาคัญคือ สิ่งแวดล้อม เมื่อเราทาธุรกิจเราได้ผลผลิต ได้กาไร แต่เราก็เสียต้นทุนไป ต้นทุนในที่นี้จะกล่าวถึงคือ ทรัพยากรธรรมชาติที่เราไป ซึ่งถ้าได้กาไรมากก็หมายถึงท รัพยากรก็จะสูญเสียไปมาก ดังนั้นเราจึงต้องมีการนาสิ่งแวดล้อมที่เสียไปมาคิดเป็นต้นทุนด้วย 4. นิเวศอุตสาหกรรมที่เรียกว่า Industrial Ecosystem เป็นตัวอย่างแนวคิดเรื่องสิ่งแวดล้อมเรื่องทุนนิยมธรรมชาติที่มีการใส่ใจสิ่งแวดล้อม เมื่อมีการนาทรัพยากรไปใช้ก็จะใช้อย่างคุ้มค่ามีการหมุนเวียนกลับมาใช้อย่างเป็นระบ บ ให้มีของเสียออกมาให้น้อยที่สุด และนาของเสียที่ออกมาไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิจอย่างอื่นต่อไป 5. Biomimicry นวัตกรรมเลียนแบบธรรมชาติ เราไม่สามารถเอาชนะธรรมชาติได้ เราจึงหันมาสังเกตธรรมชาติว่าธรรมชาติเป็นอย่างไร และเราก็นาไปประยุกต์ตาม เพราะธรรมชาติมีกระบวนการผลิตที่มีชองเสียออกมาน้อย
  • 7. เราจึงเลียนแบบธรรมชาติ เช่น เราสังเกตว่าเมื่อน้าตกลงบนใบบัว น้าจะไม่ซึมผ่านไปบัวไป แต่จะกลิ้งอยู่บนใบบัว ซึ่งมีสาเหตุมาจากบนผิวใบบัวหนามขนาดเล็กมากๆที่เคลือบผิวใบบัวไว้ นักวิทยาศาสตร์จึงเอาหลักการนี้มาสร้างวัสดุสังเคราะห์ชนิดใหม่ที่เลียนแบบคุณสมบัตินี้ เช่น การนาไป ประยุกต์ใช้เป็นสีท าบ้านที่ไม่เปียกน้าและสามารถ ทาความสะอาดตัวเองได้ รวมไปถึงการพัฒนาเป็นเสื้อผ้ากันน้าไร้รอย คราบสกปรก 6. Corporate Social Responsibility (CSR) CSR เ ป็ น ก า ร รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สั ง ค ม ข อ ง ภ า ค ธุ ร กิ จ ซึ่งต้องการดาเนินกิจการภายใต้หลักจริยธรรมและการจัดการที่ดีโดยรับผิดชอบสังคมและสิ่งแวดล้อม เครื่องมือใหม่ๆ ที่ใช้ในภาคปฎิบัติ แ น ว คิ ด อ ย่ าง ห นึ่ ง ที่ เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ส าห รับ ห ล า ย ๆ อ ย่ าง คือ Open source ซึ่งเป็นการเปิดให้บุคคลสามารถให้ข้อแนะนา หรือความรู้ เพื่อนาไปพัฒนาแนวคิดหรือสิ่งต่างๆให้ดีขึ้น ซึ่งOpen source นั้นมาจากการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีในตอนแรกทามาแล้วอาจไม่สมบูรณ์ แต่สามารถให้ผู้ที่มีความรู้ ความคิดเห็นต่างๆ มาร่วมกันแก้ไขได้ โดยแนวคิด Open source นั้นจะไม่มีลิขสิทธิ์ เพราะมันไม่ได้เกิดขึ้นมาจากคนคนเดียว และไม่มีใครสามารถนาไปขายได้ แต่ต่อมาก็ได้มีแนวคิดเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ของ Open source ซึ่งเป็นแนวคิดที่เรียกว่า Creative commons เป็นเครื่องมือที่ควบคุมการใช้งานของสิ่งที่คนคิดขึ้น โดยมี 1. Attribution = ช่วยให้เครดิตด้วยถ้านาสิ่งนั้นไปใช้ต่อ 2. Noncommercial = ห้ามขาย 3. No Derivative Work = ห้ามเอาไปดัดแปลง 4. Share Alike = ถ้าเอาไปดัดแปลง ก็ให้เครดิตด้วย ก า ร น า Open source ม า ใช้ ใน ยุ ค แ ร ก ๆ ที่ ดั ง ม า ก ๆ คื อ บ ริ ษั ท Linux โดยลินุกซ์เป็นเป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่ตอนนี้ code ของลินุกซ์ยังเป็น open source อยู่ แต่ห น้ าที่ ข อง บ ริษั ท ลินุ ก ซ์คือ การให้ ค าป รึก ษ ากับ บ ริษัท ต่ าง ๆ ที่ เอาลินุ กซ์ไป ใช้ ว่าจะเอาระบบนี้ไปทาอะไรให้เกิดประโยชน์ได้บ้าง รายได้ของเขาเกิดจากการขาย และให้คาปรึกษานั้นเอง
  • 8. แ ล ะ ตั ว อ ย่ า ง ข อ ง Open source ใน ปั จ จุ บั น ที่ ดี ม า ก ก็ คื อ วิ กิ พี เ ดี ย ที่สามารถให้บุคคลใดๆเข้าไปเขียนเข้าไปแก้ไขข้อมูลได้ ปัจจุบันได้มีก ารนาโมเดล open source ไป ใช้ประโยช น์ในการท างานมากขึ้น เช่ น เว็บไซต์ที่ให้บริการอัพโหลดวิดีโอ ห รืออัพโหลดเพลงต่างๆ ซึ่งนาไ ปสู่การนาopen source มาใช้ในการทาธุรกิจมากขึ้น และบริษัทก็คิดแต่กาไรเพียงอย่างเดียว ต่อมาจึงได้มีแนวคิดที่เรียกว่า Triple bottom line บ อกว่าบ ริษัท ค ว รจะท างานเพื่อผลป ระโย ช น์ต่อป ระช าช นและสังค มด้ว ย จึงได้มีกฎหมายให้จดสิทธิบัตร เพื่อกันการละเมิดลิขสิทธิ์ และการคืนกาไรสู่สังคม สถาบันใหม่ๆในกระบวนทัศน์ใหม่ สถาบันในที่นี่หมายถึงอะไรก็ตามที่ใช้แนวคิดและเครื่องมือใหม่ๆที่ทาให้เกิดองค์กรที่มีเป้าหมายใน การช่วยเหลือสังคมซึ่งจะแบ่งออกเป็นหลายๆประเภท 1) องค์กรเพื่อสังคม เช่น Institute of OneWorld Health เป็นเอ็นจีโอที่ผลิตและวิจัยยาเพื่อคนจนแห่งแรกของโลก อ ง ค์ ก ร นี้ เ ป็ น เ อ็ น จี โ อ เ พื่ อ สั ง ค ม แ บ บ ใ ห ม่ คือไม่พึ่งพาเงินบ ริจาคอย่ างเดีย วแต่คิดโมเดลธุรกิจให ม่ขึ้นมาเพื่อให้อยู่ได้อย่างยั่งยืน โดยหลักๆแล้วเกี่ยวกับ open source - KickStart เป็นองค์กรที่ขายเครื่องปั๊มน้าเครื่องสูบน้าในแอฟริกา - Grameen Bank เป็นธนาคารเพื่อคนจนแห่งแรกของโลกที่เป็นผู้ให้กาเนิดแนวคิดไมโครเครดิต 2) องค์กรที่ช่วยในวิธีอื่นๆ -Participant Productions เป็นบริษัทสตูดิโอที่ผลิตสารคดีเพื่อสังคม -TED เว็บไซต์ ted.com เป็นการสัมนาที่ให้นักเท คโนโลยี นักวิทยาศาสตร์ นักคิด และเอ็นจีโอทั่ว โลก ห รือ ค น ที่มีไอเดีย ดีๆ มาแช ร์ข้อมู ล แลก เป ลี่ย น ค ว าม เห็น กั น และมีการจัดมอบรางวัลในทุกๆปี 3) ผู้นาความเปลี่ยนแปลง คือคนที่ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงโดยอาจจะไม่ได้ขายของโดยตรงแต่มีส่วนช่วยในการผลักดันให้เ กิดการเปลี่ยนแปลง โดยข้อสรุปทั้งหมดนั้นมีความเชื่อมโยงกันโดยรวมคือพลังของปัจเจกชน และอินเทอร์เน็ตกับopen source ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร
  • 9. ทางเลือกของสังคม(2) กรณีศึกษา นักเศรษฐศาสตร์ พยายามห าแนวคิดเพื่อให้เกษตรกรข าดทุนน้อยลง หนึ่งในนั้นที่สาคัญคือเรื่องของ กรมธรรม์ป ระกันอากาศ(Weather Insurance) มีส่วนช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อยคือ ป ร ะ กั น ค ว า ม เ สี ย ห า ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น จ า ก ส ภ า พ อ า ก า ศ เมื่ อเ รารู้แ ล้ว ว่ าค ว าม เสี่ย ง ข อ ง เก ษ ต รก รขึ้ น อยู่ กั บ ส ภ าพ อา ก าศ ค่ อ น ข้ าง ม า ก แล้วถ้าเกิดมันมีผลิตภัณฑ์ทางการเงินอะไรที่จะช่วยบรรเทาหรือลดความเสี่ยงให้แก่เกษตรกรมันก็น่าจะดี ซึ่งที่ผ่านมามีคนคิดหลักประกันในภาคเกษตรกรรมขึ้นมาหลายอย่างหลักๆมีใช้อยู่ 2 ชนิด เรียกว่า Multi Peril Crop Insurance กั บ Name Peril Crop Insurance ซึ่ ง จ ะ ต่ า ง กั น ต ร ง ที่ Multi Peril นั้นไม่ว่าความเสียหายเกิดขึ้นเพราะเหตุใดก็ตามสามารถไปเรียกร้องสิทธิในการรับเงินประกันได้แต่ว่าต้องตี ราค าค่าความเสียห าย นั้นๆและพิสูจน์ให้ได้ก่อนว่าข้าวในนาเสีย หาย จริงส่ว น Name Peril จ ะ เ จ า ะ จ ง ว่ า ค ว า ม เ สี ย ห า ย นั้ น จ ะ ต้ อ ง ม า จ า ก ก า ร ถู ก แ ม ล ง ท า ล า ย เขาจะไม่รับผิดชอบห ากเกิดความเสียห ายจากสภาพดินฟ้าอาก าศ แต่ก็มีข้อเสียเนื่องจาก กรมธรรม์ประกันอากาศ(Weather Insurance)ก่อให้เกิดปัญหาทางด้านเศรษฐศาสตร์ เรียกว่า Moral Hazard คือปัญ หาที่พฤติกรรมข องเราจะเป ลี่ยนไป เมื่อเราไป ทาข้อตก ลงอะไรอย่างห นึ่ง
  • 10. เช่ นเราไป ท าป ระกันสุข ภาพเกี่ย วกับ โรค มะเร็ง จากเดิมเราสูบ บุ ห รี่วันห นึ่งน้อย มาก แต่เมื่อเราไปทาประกันแล้วเราเปลี่ยนเป็นสูบวันละ 10 ซองเลยเพราะถือว่าเรามีประกันแล้ว เช่นนี้เป็นต้น ปัญ หาที่สาคัญ อีกอันห นึ่งท างภ าคเศ รษฐศ าสตร์เรียก ว่า Adverse Selection ค ล้า ย ๆ กั น คื อ ท าให้ ลู ก ค้ ามี แ น ว โน้ ม เ ป ลี่ย น พ ฤ ติก ร รม ก่ อ น ท า ป ร ะกั น เ ช่ น เรา ไป โฆ ษ ณ าว่ าเ รามี บ ริก ารรับ ป ร ะกั น ค ว า ม เ สีย ห าย จ า ก ก ารป ลู ก ข้ าว เ จ้า เกษตรกรก็หันมาปลูกข้าวเจ้ากันหมดเลยถึงแม้ว่าพื้นที่แถบนั้นอาจจะไม่มีความเหมาะสมที่จะปลูกข้าวเจ้าเล ยก็ตาม เพราะเขาคิดว่ายังไงก็ยังคงดีกว่าปลูกอย่างอื่นที่ไม่มีการประกันมารองรับ ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า Moral Hazard แ ล ะ Adverse Selection ส า ม ร ถ ใช้ ม า ต ร ก า ร กรมธรรม์ประกันภัยแล้งและ การประกันราคาสินค้าเกษตรกร กรมธรรม์ประกันภัยแล้ง การประกันราคาสินค้าเกษตรกร หลีกเลี่ยงพฤติกรรม Moral Hazard และ Adverse Selection ของเกษตรกร เกษตรกรอาจเลือกปลูกพืชที่ไม่เหมาะกับภูมิอาก าศแต่ได้รับการประกันราคา ต้นทุนการบริหารจัดการต่า เนื่องจากดัชนีน้าฝนเป็นข้อมูลที่โปร่งใส(Transparent)แ ละไม่มีการบิดเบือน(Objective) การคานวณดัชนีราคามีต้นทุนสูงและพ่อค้าคนกล างสามารถปั่นราคาได้ การคานวณเงินประกันชดเชยสามารถทาได้ทันที การประกันภัยต่อของราคาสินค้าเกษตรยังอยู่ในว งจากัด หรืออาจไม่มีเลย การประกันภัยต่อ(Reinsurance)ของกรมธรรม์ประกันภั ยชนิดนี้มีตลาดรองรับ
  • 11. DualCurrency System มนุษย์ในยุคสมัยก่อนยังไม่มีเงินตราใช้ในการซื้อขาย จึงใช้วิธีการแลกเปลี่ยนสิ่งของกัน เพื่อตอบสนองความต้องการสิ่งต่างๆที่ใช้ในการดารงชีวิตมากขึ้น เช่น นายก.ต้องการพืชผลทางการเกษตร นายข.ต้องการข้าว ดังนั้นนายก.ไม่ต้องการข้าว นายข .ไม่ต้องการพืชผลท างการเกษตร จึงสามารถแลกเปลี่ย นกันได้ กรณีศึกษาอีกกรณีห นึ่งคือ บ ริษัท ชื่ อ DualCurrency System จดทะเบียนที่รัฐมินเนสโซต้า ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งโดยโจล์ โฮดรอฟ เริ่มจากในปัจจุบันมีเทค โนโลยีที่พัฒ นาขึ้นมาก มายที่ช่วยให้ใช้แรงงานคนน้อยลง ใช้ พ ลัง ง า น ง า น น้ อ ย ล ง แ ล ะ ใช้ ต้ น ทุ น น้ อ ย ล ง ใน ข ณ ะ ที่ ผ ล ผ ลิ ต ล้ น ต ล า ด แต่ ผ ล ผ ลิต ที่ เ พิ่ ม ม าก ขึ้ น นี้ มั น ห าย ไป ไห น แ ล ะท า ไม เร าม อ ง ไม่ เห็ น ว่ า มัน ล้น เพราะสิ่งที่ล้นมันไม่อยู่ในรูปแบบที่จับต้องได้ เช่น แต้มสะสมไมล์ที่ไม่ได้ใช้ ชั่วโมงฟิตเนสที่เหลือ คู ป อ ง ก า รศึ ก ษ าที่ เห ลือ อ ยู่ ใน บั ญ ชี คู ป อ ง ล ด ร าค าอ าห าร ร้า น ห นึ่ ง ที่ ไม่ ได้ใช้ ห รือ ร้า น อ า ห า ร ที่ มี โ ต๊ ะ ว่ า ง อ ยู่ ต ล อ ด เ ว ล า ซึ่ ง แ ต่ ล ะ ค น มี สิ่ ง ที่ เ ห ลื อ ใ ช้ ห า ก ค น ที่ มี คู ป อ ง ก า ร ศึ ก ษ า ที่ ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ เ กิ ด อ ย า ก นั่ ง เ ค รื่ อ ง บิ น ส่ ว น ค น ที่ มี แ ต้ ม ส ะ ส ม ไ ม ล์ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ เ กิ ด อ ย า ก ไ ป เ รี ย น
  • 12. ถ้ามีระบบแลกเปลี่ยนกลางที่โยกย้ายสิ่งที่เราไม่ได้ใช้นี้ไปให้คนอื่น แลกกับสิ่งที่เราต้องการจากคนอื่น จะเป็นตัวกลางที่สร้างประโยชน์ให้กับทุกฝ่าย คุ ณ โ ฮ ด ร อ ฟ จึ ง เ กิ ด ค ว า ม คิ ด ที่ ว่ า เขาจะเข้าไปเป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนสิ่งที่แต่ละคนมีเหลือใช้กับสิ่งที่ต้องการจากคนอื่น โดยทาสัญญาว่าทุกคนจะยอมให้ข้อมูลเข้ามาอยู่ในโกดังกลางเสมือนจริง (Virtual warehouse) ของเขา เพื่อคานวณ ว่าลูกค้าข องค นเห ล่านี้จะได้อะไรเป็ นจานวนแค่ไห น ในรูป Business Dollar เป็ น สกุ ลเงิน ให ม่ที่ ใช้แท นมู ลค่าสิ่งต่ าง ๆ ที่ล้น อยู่ ใน ระบ บ ส่ว น บ ริษัท DualCurrency จะได้ประโยชน์เป็นค่าคอมมิสชั่นจานวนหนึ่งจากธุรกรรมที่เกิดขึ้น โครงการ CAMPFIER ในประเทศซิมบับเว ป ร ะ เ ท ศ ซิ ม บั บ เ ว อ ยู่ ใ น ท วี ป แ อ ฟ ริ ก า ซึ่ ง ร า ย ไ ด้ ส่ ว น ให ญ่ ม า จ า ก ให้ นั ก ล่ า สั ต ว์ เ ข้ า ม า ล่ า สั ต ว์ ภ า ย ใน ป ร ะ เ ท ศ โดยในอดีตวัฒนธรรมชาวซิมบับเวจะอยู่กันเป็นเผ่า แต่ละเผ่าจะมี totem เป็นไม้แกะสลักเป็นรูปหัวสัตว์ ซึ่งในแต่ละเผ่าจะไม่มีการล่าสัตว์ที่เป็ นสัญ ลักษณ์เผ่าท าให้มีคว ามสมดุลเรื่องสาย พันธุ์ จน เมื่ อ ป ระ ม า ณ 2 0 ปี ที่ แ ล้ว ป ระ เท ศ ซิม บั บ เว ก ลัว ว่ าสัต ว์ ข อ ง ต น จ ะสู ญ พั น ธุ์ จึง มี ก า รตั้ง พื้ น ที่ อุ ท ย า น แ ห่ ง ช า ติ ขึ้ น ม า ท าให้ ห้ า ม ล่ า สั ต ว์ แ ล ะ เก็ บ ข อ ง ป่ า ส่งผลให้สัตว์ป่ามีจานวนมากขึ้นจนเกิดปัญหา
  • 13. รัฐบาลแอฟริกันริเริ่มโค รงการ CAMPFIER (Communal Area Management Program for Indigenous Resource) ประมาณปี 1980 โครงการนี้พยายามทาให้เกิดสมดุลระหว่างสัตว์ป่ากับชุมชน โ ด ย ใ ห้ ช า ว บ้ า น ไ ด้ มี สิ ท ธิ ใ น ก า ร จั ด ก า ร พื้ น ที่ ชุ ม ช น ด้ ว ย ต น เ อ ง โดยรัฐบาลได้ให้สิทธิชาวบ้านชาวบ้านไปบริหารจัดการภายในกรอบที่ตกลงกันไว้ เช่น ปัญหาช้างเยอะ แก้ด้วยการให้สัมปท านนักท่ องเที่ยวไปล่าสัตว์ได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้การดูแลอย่ างเข้มงวด เพื่ อ ให้ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ไ ม่ เสี ย ส ม ดุ ล โค รง ก า ร ดั ง ก ล่ า ว นี้ ท า ร า ย ได้ ให้ ช าว บ้ า น ซึ่งรายได้90เปอร์เซ็นต์ของชาวบ้านก็มาจากการให้สัมปทานนี้ ปัจจุบันการท่องเที่ยวแบบนี้ก็เป็นที่ยอมรับกันกว้างขวางเพราะถือว่าเป็น eco-tourism ห รือก ารท่ อ ง เที่ ย ว เชิ ง นิ เ ว ศ แห่ ง แ ร ก ๆ ข อ ง โลก ที่ ท าได้อ ย่ าง มีป ระสิท ธิภ า พ เพ ร าะก าร ท่ อ ง เที่ ย ว แ บ บ นี้ ไม่ ต้อ ง ลง ทุ น ส ร้า ง โร ง แ รม ห้ าด าว ให้ นั ก ท่ อง เ ที่ ย ว ค น ที่ ต้ อ ง ก าร ล่ า สั ต ว์ เข า เ อ า อุ ป ก รณ์ ม า เอ ง ไม่ ส ร้า ง ต้ น ทุ น ให้ กั บ ช า ว บ้ า น นอกจากการสัมปทานล่าสัตว์แล้วยังมีการขายสัตว์ป่าและของป่าตามโควตาที่ตกลงกันไว้แล้วระหว่างภาครัฐ กับชาวบ้าน ผู้ ฟั ง : เ มื่ อ สั ก ค รู่ เ ร า พู ด ถึ ง ป ร ะ เ ด็ น เ รื่ อ ง ผ ลิ ต ภ า พ ส่ ว น เ กิ น ทีนี้อย่างช้างเหลือนี้มันจะเป็นไปได้ไหมที่จะแลกเปลี่ยนกับประเทศที่มีช้างขาดแคลนแต่มีเงินเหลือ แล้วก็มีการแลกเปลี่ยนอะไรกันตามแต่ตกลง สฤณี : ก็ เ ป็ น ค ว า ม คิ ด ที่ ดี แ ล ะ น่ า จ ะ ท า ไ ด้ น ะ ค ะ เพียงแต่ชาวบ้านในเขตที่ช้างเหลือก็อาจจะไม่พอใจหรืออาจจะหวงช้างในเขตของเขา ธนาคารกรามีน(Grameen Bank) กรามีนแบงก์ก่อตั้งโดยมูฮัมหมัดยูนุส เป็นธนาคารที่ตั้งขึ้นมาเพื่อคนจนที่ไม่มีหลักประกัน โดยยูนุสเชื่อว่าคนจนทุกคนมีศักยภาพและไม่อยากเบี้ยวหนี้เพราะฉะนั้นกรณีที่ลูกหนี้ไม่คืนเงิน อาจหมายความว่าเขาอาจจะยังไม่ได้ดึงศักยภาพของเขาออกมาอย่างเต็มที่หรือเขายังไม่รู้จะจัดการเอาเงินไ
  • 14. ป ท าอะไร แก้ไข ได้โดย เมื่ อธนาค ารให้ กู้เงินก็จะมีก ารติด ตามดูแลลูก ห นี้ เป็ น ค น ๆ วิธีการลดความเสี่ยงของธนาคารที่ลูกหนี้จะไม่คืนเงินทาได้โดยมีการค้าประกัน4คนซึ่งอาจเป็นเพื่อนบ้าน รวมผู้กู้เป็น5คน ถ้าคนใดเบี้ยวก็จะถูกประณามโดยชุมชนใช้โครงสร้างวัฒนธรรมในการจัดการ ธนาค ารกรามีนแบ่งชนิดเงินกู้ออกเป็น3ชนิด 1.เงินกู้ทั่วไป ,2.เงินเพื่อต่อเติมบ้าน แ ล ะ 3 . เ งิ น เ พื่ อ ก า ร ศึ ก ษ า เพื่อไม่ให้ซัลซ้อนและธนาคารกรามีนยังมีความยืดหยุ่นในการชาระเงินกู้เพราะเค้าเชื่อว่าคนจนทุกคนมีควา มเสี่ยงสูงในชีวิต สิ่งที่ยูนุสภูมิใจมากที่สุด คือ เขาพยายามที่จะทาให้คนจนหลุดพ้นจากความจนได้อย่างแท้จริง ไม่ใช่ห มดห นี้แล้วก็จบ เข าพย ายามวัดว่าช่ วยค นจนไป ได้เท่ าไห ร่แล้ว ด้วย สิ่งที่เรีย กว่ า “คาป ฏิ ญ าณ ต น1 6 ข้อ ” เป็ นเก ณ ฑ์ ในก ารวัดว่ าห ลุ ดพ้น จากค ว ามจ นเป็ น อย่ าง ไร จะเห็นได้ว่ากรามีนแบงก์พยายามที่จะเป็นองค์กรสาหรับชุมชนที่จะทาให้ชุมชนพัฒนาขึ้น ผู้ฟัง : ผมสงสัยถึงความเป็นไปได้ของกรามีนแบงก์ เนื่องจากเป็นการดาเนินการกับสังคมที่ยากจนมากๆ ดังนั้นเมื่อนามาใช้กับสังคมที่ไม่ได้ยากจนขนาดนั้น เขาก็ไม่ได้นาเงินไปซื้อวัวหรืออุปกรณ์การเกษตร แ ต่ อ า จ จ ะ น า ไ ป ซื้ อ อ ะ ไ ร ที่ ยิ่ ง ใ ห ญ่ ก ว่ า นั้ น เ ล็ ก น้ อ ย เพราะฉะนั้นเมื่อถึงเวลาติดตามดูแลลูกหนี้ก็ต้องใช้ผู้ดูแลที่มีความรู้มากขึ้นซึ่งต้องใช้ต้นทุนที่มากขึ้นตามไป ด้วย แล้วกรามีนแบงก์จะสามารถทาได้หรือ ส ฤ ณี : ต า ม ค ว า ม คิ ด ข อ ง ดิ ฉั น น ะ ค่ ะ คิดว่าในอนาคตรัฐบาลควรจะให้คนที่จบปริญญาตรีและปริญญาโทด้านบิหารธุรกิจจะต้องใช้เวลาอย่างน้อยห นึ่งเดือนเป็น financial consultant ให้กับชาวบ้านค่ะ