SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน โครงงาน ก ก ก ร ร พ พ ท ท ส ส ธ ธ อ อ
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน ,[object Object]
วัตถุประสงค์  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
1.  คำราชาศัพท์ที่มักพบเห็น ในข่าวเป็นประจำ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ราชาศัพท์สำหรับพระภิกษุสงฆ์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คำ  /  ศัพท์   คำแปล  /  ความหมาย
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คำ  /  ศัพท์   คำแปล  /  ความหมาย   ตาย โกนผม เรือนพักในวัด อยู่ประจำวัด บวช   (  เป็นพระ  ) บวช  (  เป็นสามเณร   ) ลาบวช ยารักษาโรค จดหมาย ส้วม ผ้าพาดบ่า   ผ้าห่ม ของกิน     เงิน    สิ่งของ
คำราชาศัพท์สำหรับพระเจ้าแผ่นดินและพระราชวงศ์     ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
หมวดกิริยาแสดงอาการ    คำที่ใช้เรียกกิริยาอาการ    มีวิธีตกแต่งดังนี้ ทรงระลึกถึง           หมายถึง         ระลึกถึง       ใช้สำหรับพระราชวงศ์ ทรงเล่าเรียน           หมายถึง        เรียน   - ศึกษา    ใช้สำหรับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ ทรงยืน          หมายถึง    ยืน ใช้สำหรับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ ทรงกระแอม         หมายถึง          กระแอม       ใช้สำหรับพระราชวงศ์ ทรงอาเจียน           หมายถึง         อาเจียน       ใช้สำหรับพระราชวงศ์ ทรงช้าง      หมายถึง        ขี่ช้าง     ใช้สำหรับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์
หมวดกิริยา
หมวดคำสุภาพสำหรับคนทั่วไป   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่างคำสุภาพ
ราชาศัพท์ที่ใช้ต่างกันตามพระอิสริยศักดิ์       1.  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว   เช่น ราชาศัพท์  คำสามัญ   พระราชโองการ  คำสั่ง   พระบรมราโชวาท  โอวาท   พระราชดำรัส  คำพูด ( ใช้เมื่อพูดเป็นกลางๆ )   พระราชกระแสรับสั่ง  คำพูด ( ใช้เมื่อพูดกับผู้ใดผู้หนึ่ง )   วันพระบรมราชสมภพ  วันเกิด   พระชนมพรรษา ... พรรษา  อายุ ... ปี   2.   สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนาถ   เช่น ราชาศัพท์  คำสามัญ  พระราชเสาวนีย์  คำสั่ง  พระราโชวาท  โอวาท   พระราชดำรัส  คำพูด ( ใช้เมื่อพูดเป็นกลางๆ )  พระราชกระแสรับสั่ง  คำพูด ( ใช้เมื่อพูดกับผู้ใดผู้หนึ่ง )  วันพระราชสมภพ  วันเกิด   พระชนมพรรษา ... พรรษา  อายุ ... ปี
3.  สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมงกุฎราชกุมาร   เช่น ราชาศัพท์  คำสามัญ   พระราชบัณฑูร  คำสั่ง  พระราโชวาท  โอวาท  พระราชดำรัส  คำพูด  พระราชกระแสรับสั่ง  คำพูด  วันพระราชสมภพ  วันเกิด   พระชนมพรรษา ... พรรษา  อายุ ... ปี   พระมหากรุณาธิคุณ  พระคุณ   พระมหากรุณา  ความกรุณา   ลายพระราชหัตถ์  จดหมาย   ราชาศัพท์ที่กล่าวถึงข้างต้นเป็นราชาศัพท์ที่กำหนดให้ใช้ต่างกันตาม พระอิสริยศักดิ์ของพระบรมวงศ์ชั้นสูงเท่านั้น  คำราชาศัพท์อื่นๆ  ไม่ได้กำหนดให้ใช้แตกต่างกันจึงไม่ได้นำมากล่าวในที่นี้
1.    “ ถวายการต้อนรับ ”    คำนี้ผิด  ภาษาไทยมีคำใช้อยู่แล้ว  คือ   “ เฝ้าฯ รับเสด็จ ”   หรือ   “ รับเสด็จ ” 2.   “ อาคันตุกะ ”    และ   ” ราชอาคันตุกะ ”   ใช้ต่างกันดังนี้         “ อาคันตุกะ ”   ใช้เมื่อ          ก .    พระมหากษัตริย์เสด็จฯ  ไปทรงเป็นแขกของบุคคลสำคัญ          ข .    บุคคลสามัญไปเป็นแขกของบุคคลสามัญ         “ ราชอาคันตุกะ ”   ใช้เมื่อ            ก .   พระมหากษัตริย์เสด็จฯ  ไปทรงเป็นแขกของพระมหากษัตริย์       ข .    บุคคลสามัญไปเป็นแขกของพระมหากษัตริย์ 3.   “ ถวายความจงรักภักดี ”    ความจงรักภักดีเป็นของที่หยิบยื่นให้กันไม่ได้  เป็นสิ่งที่มีประจำตน    แสดงปรากฏให้ทราบได้  ฉะนั้นใช้   “ ถวาย ”   ไม่ได้  จึงควรใช้   “ มีความจงรักภักดี ” .           ข้อควรจำเกี่ยวกับคำราชาศัพท์ที่มักใช้ผิดกันเสมอ
[object Object],[object Object],[object Object]
ข้อสังเกตบางประการในการใช้ราชาศัพท์ คำที่เป็นราชาศัพท์ ถ้าเป็นคำนามมักมีคำว่า  พระ  หรือ  พระราช  นำหน้า เช่น   พระองค์  พระพักตร์  พระเนตร  พระบาท   พระราชทรัพย์  พระราชวินิจฉัย  พระราชโทรเลข    ถ้าเป็นคำกริยา มักมีคำว่า  ทรง  ทรงพระ  หรือ  ทรงพระราช  นำหน้า  เช่น   ทรงยืน  ทรงทักทาย  ทรงเรือใบ  ทรงม้า   ทรงพระสรวล  ทรงพระดำริ  ทรงพระอักษร   ทรงพระราชนิพนธ์  ทรงพระราชปรารภ  ทรงพระราชวินิจฉัย     คำบางคำเป็นกริยาราชาศัพท์อยู่แล้วไม่ต้องมี  ทรง  ทรงพระ   หรือ  ทรงพระราช  นำหน้า เช่น   เสวย  ( กิน )   บรรทม ( นอน )  โปรด ( ชอบ , รัก )   พระราชทาน ( ให้ )  ประทับ ( นั่ง )   กริ้ว ( โกรธ )   เสด็จพระราชดำเนิน ( เดินทางไป )  สด็จขึ้น ( ขึ้น )   
ความสำคัญของราชาศัพท์ อันที่จริง    ราชาศัพท์    มิได้หมายถึงถ้อยคำที่ใช้กับพระราชาเท่านั้น    หากแต่หมายถึงถ้อยคำที่ใช้พูดถึงบุคคล    เรื่องราวและสิ่งทั้งปวงที่กล่าวหรือเขียนอย่างถูกหลักเกณฑ์    เป็นคำสุภาพไม่หยาบกระด้างน่ารังเกียจ    สมควรจะกราบบังคมทูลพระกรุณาหรือใช้เป็นภาษาทางการ    เป็นภาษาแบบแผน    เช่น  ใช้ว่าเจ้านายตรัส    คนพูด    นกร้อง    สุนัขเห่า    ราชาศัพท์โดยความหมายอย่างกว้าง จึงหมายถึงถ้อยคำภาษาที่สุภาพถูกแบบแผน   สำหรับใช้กับบุคคลทุกประเภท    ตลอดจน เทพยดา   อมนุษย์    แม้กระทั่งสัตว์จตุบาททวิบาท    และสรรพสิ่งเรื่องราวทั้งปวง  ราชาศัพท์มีหลักเกณฑ์เป็นระบบเหมาะกับยุคสมัยและบริบททางสังคม    สอดคล้องกับธรรมชาติของภาษา    เป็นที่นิยมยอมรับร่วมกัน    ราชาศัพท์ประกอบด้วยคำศัพท์และสำนวนที่มีความหมายกระชับ    เหมาะสม    ถูกต้องตามหลักภาษาไทย    และมีความไพเราะน่าฟัง    สื่อความหมายได้อย่างมีประสิทธิผล    ฉะนั้นการใช้ราชาศัพท์    นอกจากจะเป็นการรักษาแบบแผนทางภาษาที่ดีงามไว้แล้ว    ยังเป็นการแสดงออกถึงความเคารพที่บุคคลพึงมีต่อบุคคลอื่นที่ควรเคารพ สรุปได้ว่า    ราชาศัพท์มีความสำคัญทั้งทางสังคมและวัฒนธรรม    รวมทั้งสุนทรียลักษณ์เชิงภาษาอีกด้วย    ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ประโยชน์ของการเรียนรู้คำราชาศัพท์   เพราะเหตุที่ว่าสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่สูงสุดของ ประเทศมาแต่โบราณ พระเจ้าแผ่นดินทรงใกล้ชิดกับประชาชนอย่างแนบแน่น คำราชาศัพท์นั้นเป็นแบบอย่างวัฒนธรรมอันดีงามทางด้านการใช้ภาษาไทย และการอ่านหรือศึกษาวรรณคดี การรับสารสื่อมวลชนในปัจจุบันก็ดี เหล่านี้ล้วนต้องมีคำราชาศัพท์เกี่ยวข้องอยู่ด้วยเสมอ ดังนั้นการเรียนรู้คำราชาศัพท์จึงเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ทั้ง  ทางตรง และ ทางอ้อม
๑ .  ประโยชน์ทางตรง   :  เป็นประโยชน์ที่เกิดจากการตั้งเป้าหมายไว้ล่วงหน้า อันได้แก่   ๑ .  ประโยชน์จากการใช้คำราชาศัพท์ถูกต้อง   ที่เรียกว่าใช้คำราชาศัพท์ถูกต้องนั้น คือ ถูกต้องตามบุคคลที่ใช้ว่าบุคคลใดควรใช้ราชาศัพท์ขั้นไหน อย่างไร ถูกต้องตามโอกาส คือ โอกาสใดใช้คำราชาศัพท์หรือไม่เพียงใด และถูกต้องตามวิธีการใช้ คือ ใช้ถูกต้องตามแบบแผนที่นิยม การใช้คำราชาศัพท์ต้องใช้ทั้งความรู้และประสบการณ์เป็นดุลยพินิจให้ถูกต้อง   ๒ .  ประโยชน์จากการเข้าใจที่ถูกต้อง   ไม่ว่าจากการอ่านหนังสือประเภทต่างๆ เช่น วรรณคดี วรรณกรรม หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์ทั้งหลาย โทรทัศน์ วิทยุ ตลอดจนสิ่งบันเทิง ภาพยนตร์ ละคร โขน ลิเก เป็นต้น เพราะการรับรู้ รับฟัง บางครั้งต้องมีสิ่งที่เรียกว่า คำราชาศัพท์ร่วมอยู่ด้วยเสมอ
๒ .  ประโยชน์ทางอ้อม :  เป็นผลพลอยได้ แม้ตั้งเป้าหมายไว้ล่วงหน้าหรือไม่ตั้งเป้าหมายไว้ก็ตาม คือ เมื่อรู้คำราชาศัพท์ดี ถูกต้อง ฟังหรืออ่านเรื่องราวที่มีคำราชาศัพท์เข้าใจผลประโยชน์พลอยได้ก็จะเกิดขึ้นเสมอ เช่น   -  ธำรงรักษาวัฒนธรรมอันดีงานของชาติไว้ คือ รักษาให้คงอยู่ไม่เสื่อมสูญ ถือเป็นการธำรงรักษาวัฒนธรรมและความมั่นคงของประเทศชาติ   -  เพิ่มความมีเสน่ห์ในตัวบุคคล คือ บุคคลผู้รู้และใช้คำราชาศัพท์ได้อย่างถูกต้อง เป็นการแสดงออกซึ่งความมีวัฒนธรรมอันดีงามทางภาษา
แหล่งอ้างอิง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ขอขอบคุณข้อมูลจาก

More Related Content

What's hot

เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชChoengchai Rattanachai
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ Rodchana Pattha
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจันChoengchai Rattanachai
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย ssuserd40879
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
การสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระการสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระkingkarn somchit
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลPonpirun Homsuwan
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความSurapong Klamboot
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 

What's hot (20)

เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
คำศัพท์บทที่ 1 ถึง บทที่ 12
คำศัพท์บทที่  1 ถึง บทที่ 12คำศัพท์บทที่  1 ถึง บทที่ 12
คำศัพท์บทที่ 1 ถึง บทที่ 12
 
การสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระการสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระ
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 

Similar to คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน

คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์IamPloy JunSeop
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์Piroj Poolsuk
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยครูเจริญศรี
 
Dj 255420school1611edocs00431
Dj 255420school1611edocs00431Dj 255420school1611edocs00431
Dj 255420school1611edocs00431vanichar
 
Dj 255420school1611edocs00431
Dj 255420school1611edocs00431Dj 255420school1611edocs00431
Dj 255420school1611edocs00431vanichar
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรkruthai40
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยnatta25
 

Similar to คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน (20)

คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
ไทยครูเนื้อ
ไทยครูเนื้อไทยครูเนื้อ
ไทยครูเนื้อ
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
Dj 255420school1611edocs00431
Dj 255420school1611edocs00431Dj 255420school1611edocs00431
Dj 255420school1611edocs00431
 
Dj 255420school1611edocs00431
Dj 255420school1611edocs00431Dj 255420school1611edocs00431
Dj 255420school1611edocs00431
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
thai
thaithai
thai
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
58210401110 งาน1 ss ครับ
58210401110 งาน1 ss ครับ58210401110 งาน1 ss ครับ
58210401110 งาน1 ss ครับ
 

คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน

  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8. หมวดกิริยาแสดงอาการ   คำที่ใช้เรียกกิริยาอาการ   มีวิธีตกแต่งดังนี้ ทรงระลึกถึง          หมายถึง         ระลึกถึง      ใช้สำหรับพระราชวงศ์ ทรงเล่าเรียน          หมายถึง       เรียน   - ศึกษา    ใช้สำหรับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ ทรงยืน        หมายถึง   ยืน ใช้สำหรับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ ทรงกระแอม        หมายถึง          กระแอม       ใช้สำหรับพระราชวงศ์ ทรงอาเจียน           หมายถึง         อาเจียน       ใช้สำหรับพระราชวงศ์ ทรงช้าง    หมายถึง        ขี่ช้าง     ใช้สำหรับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์
  • 10.
  • 12. ราชาศัพท์ที่ใช้ต่างกันตามพระอิสริยศักดิ์   1. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เช่น ราชาศัพท์ คำสามัญ พระราชโองการ คำสั่ง พระบรมราโชวาท โอวาท พระราชดำรัส คำพูด ( ใช้เมื่อพูดเป็นกลางๆ ) พระราชกระแสรับสั่ง คำพูด ( ใช้เมื่อพูดกับผู้ใดผู้หนึ่ง ) วันพระบรมราชสมภพ วันเกิด พระชนมพรรษา ... พรรษา อายุ ... ปี 2. สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนาถ เช่น ราชาศัพท์ คำสามัญ พระราชเสาวนีย์ คำสั่ง พระราโชวาท โอวาท พระราชดำรัส คำพูด ( ใช้เมื่อพูดเป็นกลางๆ ) พระราชกระแสรับสั่ง คำพูด ( ใช้เมื่อพูดกับผู้ใดผู้หนึ่ง ) วันพระราชสมภพ วันเกิด พระชนมพรรษา ... พรรษา อายุ ... ปี
  • 13. 3. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมงกุฎราชกุมาร เช่น ราชาศัพท์ คำสามัญ พระราชบัณฑูร คำสั่ง พระราโชวาท โอวาท พระราชดำรัส คำพูด พระราชกระแสรับสั่ง คำพูด วันพระราชสมภพ วันเกิด พระชนมพรรษา ... พรรษา อายุ ... ปี พระมหากรุณาธิคุณ พระคุณ พระมหากรุณา ความกรุณา ลายพระราชหัตถ์ จดหมาย ราชาศัพท์ที่กล่าวถึงข้างต้นเป็นราชาศัพท์ที่กำหนดให้ใช้ต่างกันตาม พระอิสริยศักดิ์ของพระบรมวงศ์ชั้นสูงเท่านั้น คำราชาศัพท์อื่นๆ ไม่ได้กำหนดให้ใช้แตกต่างกันจึงไม่ได้นำมากล่าวในที่นี้
  • 14. 1.   “ ถวายการต้อนรับ ”   คำนี้ผิด  ภาษาไทยมีคำใช้อยู่แล้ว  คือ  “ เฝ้าฯ รับเสด็จ ”   หรือ   “ รับเสด็จ ” 2.   “ อาคันตุกะ ”   และ   ” ราชอาคันตุกะ ”   ใช้ต่างกันดังนี้         “ อาคันตุกะ ”   ใช้เมื่อ          ก .   พระมหากษัตริย์เสด็จฯ  ไปทรงเป็นแขกของบุคคลสำคัญ          ข .   บุคคลสามัญไปเป็นแขกของบุคคลสามัญ         “ ราชอาคันตุกะ ”   ใช้เมื่อ          ก .   พระมหากษัตริย์เสด็จฯ  ไปทรงเป็นแขกของพระมหากษัตริย์     ข .   บุคคลสามัญไปเป็นแขกของพระมหากษัตริย์ 3.   “ ถวายความจงรักภักดี ”   ความจงรักภักดีเป็นของที่หยิบยื่นให้กันไม่ได้  เป็นสิ่งที่มีประจำตน   แสดงปรากฏให้ทราบได้  ฉะนั้นใช้   “ ถวาย ”   ไม่ได้  จึงควรใช้  “ มีความจงรักภักดี ” .          ข้อควรจำเกี่ยวกับคำราชาศัพท์ที่มักใช้ผิดกันเสมอ
  • 15.
  • 16. ข้อสังเกตบางประการในการใช้ราชาศัพท์ คำที่เป็นราชาศัพท์ ถ้าเป็นคำนามมักมีคำว่า พระ หรือ พระราช นำหน้า เช่น พระองค์ พระพักตร์ พระเนตร พระบาท พระราชทรัพย์ พระราชวินิจฉัย พระราชโทรเลข   ถ้าเป็นคำกริยา มักมีคำว่า ทรง ทรงพระ หรือ ทรงพระราช นำหน้า เช่น ทรงยืน ทรงทักทาย ทรงเรือใบ ทรงม้า ทรงพระสรวล ทรงพระดำริ ทรงพระอักษร ทรงพระราชนิพนธ์ ทรงพระราชปรารภ ทรงพระราชวินิจฉัย   คำบางคำเป็นกริยาราชาศัพท์อยู่แล้วไม่ต้องมี ทรง ทรงพระ หรือ ทรงพระราช นำหน้า เช่น เสวย ( กิน ) บรรทม ( นอน ) โปรด ( ชอบ , รัก ) พระราชทาน ( ให้ ) ประทับ ( นั่ง ) กริ้ว ( โกรธ ) เสด็จพระราชดำเนิน ( เดินทางไป ) สด็จขึ้น ( ขึ้น )  
  • 17. ความสำคัญของราชาศัพท์ อันที่จริง   ราชาศัพท์   มิได้หมายถึงถ้อยคำที่ใช้กับพระราชาเท่านั้น   หากแต่หมายถึงถ้อยคำที่ใช้พูดถึงบุคคล   เรื่องราวและสิ่งทั้งปวงที่กล่าวหรือเขียนอย่างถูกหลักเกณฑ์   เป็นคำสุภาพไม่หยาบกระด้างน่ารังเกียจ   สมควรจะกราบบังคมทูลพระกรุณาหรือใช้เป็นภาษาทางการ   เป็นภาษาแบบแผน   เช่น ใช้ว่าเจ้านายตรัส   คนพูด   นกร้อง   สุนัขเห่า   ราชาศัพท์โดยความหมายอย่างกว้าง จึงหมายถึงถ้อยคำภาษาที่สุภาพถูกแบบแผน   สำหรับใช้กับบุคคลทุกประเภท   ตลอดจน เทพยดา   อมนุษย์   แม้กระทั่งสัตว์จตุบาททวิบาท   และสรรพสิ่งเรื่องราวทั้งปวง ราชาศัพท์มีหลักเกณฑ์เป็นระบบเหมาะกับยุคสมัยและบริบททางสังคม   สอดคล้องกับธรรมชาติของภาษา   เป็นที่นิยมยอมรับร่วมกัน   ราชาศัพท์ประกอบด้วยคำศัพท์และสำนวนที่มีความหมายกระชับ   เหมาะสม   ถูกต้องตามหลักภาษาไทย   และมีความไพเราะน่าฟัง   สื่อความหมายได้อย่างมีประสิทธิผล   ฉะนั้นการใช้ราชาศัพท์   นอกจากจะเป็นการรักษาแบบแผนทางภาษาที่ดีงามไว้แล้ว   ยังเป็นการแสดงออกถึงความเคารพที่บุคคลพึงมีต่อบุคคลอื่นที่ควรเคารพ สรุปได้ว่า   ราชาศัพท์มีความสำคัญทั้งทางสังคมและวัฒนธรรม   รวมทั้งสุนทรียลักษณ์เชิงภาษาอีกด้วย   ดังตัวอย่างต่อไปนี้
  • 18. ประโยชน์ของการเรียนรู้คำราชาศัพท์ เพราะเหตุที่ว่าสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่สูงสุดของ ประเทศมาแต่โบราณ พระเจ้าแผ่นดินทรงใกล้ชิดกับประชาชนอย่างแนบแน่น คำราชาศัพท์นั้นเป็นแบบอย่างวัฒนธรรมอันดีงามทางด้านการใช้ภาษาไทย และการอ่านหรือศึกษาวรรณคดี การรับสารสื่อมวลชนในปัจจุบันก็ดี เหล่านี้ล้วนต้องมีคำราชาศัพท์เกี่ยวข้องอยู่ด้วยเสมอ ดังนั้นการเรียนรู้คำราชาศัพท์จึงเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ทั้ง ทางตรง และ ทางอ้อม
  • 19. ๑ . ประโยชน์ทางตรง : เป็นประโยชน์ที่เกิดจากการตั้งเป้าหมายไว้ล่วงหน้า อันได้แก่ ๑ . ประโยชน์จากการใช้คำราชาศัพท์ถูกต้อง ที่เรียกว่าใช้คำราชาศัพท์ถูกต้องนั้น คือ ถูกต้องตามบุคคลที่ใช้ว่าบุคคลใดควรใช้ราชาศัพท์ขั้นไหน อย่างไร ถูกต้องตามโอกาส คือ โอกาสใดใช้คำราชาศัพท์หรือไม่เพียงใด และถูกต้องตามวิธีการใช้ คือ ใช้ถูกต้องตามแบบแผนที่นิยม การใช้คำราชาศัพท์ต้องใช้ทั้งความรู้และประสบการณ์เป็นดุลยพินิจให้ถูกต้อง ๒ . ประโยชน์จากการเข้าใจที่ถูกต้อง ไม่ว่าจากการอ่านหนังสือประเภทต่างๆ เช่น วรรณคดี วรรณกรรม หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์ทั้งหลาย โทรทัศน์ วิทยุ ตลอดจนสิ่งบันเทิง ภาพยนตร์ ละคร โขน ลิเก เป็นต้น เพราะการรับรู้ รับฟัง บางครั้งต้องมีสิ่งที่เรียกว่า คำราชาศัพท์ร่วมอยู่ด้วยเสมอ
  • 20. ๒ . ประโยชน์ทางอ้อม : เป็นผลพลอยได้ แม้ตั้งเป้าหมายไว้ล่วงหน้าหรือไม่ตั้งเป้าหมายไว้ก็ตาม คือ เมื่อรู้คำราชาศัพท์ดี ถูกต้อง ฟังหรืออ่านเรื่องราวที่มีคำราชาศัพท์เข้าใจผลประโยชน์พลอยได้ก็จะเกิดขึ้นเสมอ เช่น - ธำรงรักษาวัฒนธรรมอันดีงานของชาติไว้ คือ รักษาให้คงอยู่ไม่เสื่อมสูญ ถือเป็นการธำรงรักษาวัฒนธรรมและความมั่นคงของประเทศชาติ - เพิ่มความมีเสน่ห์ในตัวบุคคล คือ บุคคลผู้รู้และใช้คำราชาศัพท์ได้อย่างถูกต้อง เป็นการแสดงออกซึ่งความมีวัฒนธรรมอันดีงามทางภาษา
  • 21.