SlideShare a Scribd company logo
ทฤษฎี แนวคิด เทคนิค และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ เน้นให้ผู้เรียนใช้การคิดโดยเชื่อมโยงสิ่งที่มีความสัมพันธ์กันให้อยู่ในลักษณะที่เป็นระบบ โดยการ สารวจหาความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนระหว่างข้อมูลของสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ แนวคิดของสิ่งที่ ต้องการเรียนรู้ หรือข้อมูลของปัญหาที่ต้องการสารวจตรวจค้น โดยผู้วิจัยประยุกต์ใช้ แบบจาลองความคิดของเชฟฟิลด์ (Sheffield, 2000: 38-49, 2003: 7) มาสร้างเป็น ขั้นตอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มี 4 ขั้นตอน ได้แก่ 
1) สร้างความสัมพันธ์ (Relate) คือ ใช้ข้อมูลทั้งหมดที่หามาได้เชื่อมโยงให้ สัมพันธ์กัน โดยอาจเปรียบเทียบการโยงความสัมพันธ์ของข้อมูลในปัญหาใหม่ที่พบกับปัญหา เก่าที่เคยมีประสบการณ์ในการแก้ปัญหานั้น แล้วพิจารณาว่าปัญหาใหม่และปัญหาเก่ามีแนวคิด ทางคณิตศาสตร์ใดที่เหมือนกัน 
2) สารวจตรวจค้น (Investigate) คือ สารวจตรวจค้นปัญหา วิธีการ แก้ปัญหา หรือตรวจสอบความสัมพันธ์ต่างๆที่คิดไว้ สืบสวน คิดอย่างลึกซึ้ง และตั้ง คาถามเพื่อนาไปสู่คาตอบ/ผลลัพธ์ที่ต้องการศึกษา 
3) ประเมินและติดต่อสื่อสาร (Evaluate and Communicate) คือ ประเมินสิ่งที่ค้นพบหรือประเมินคาตอบที่ได้ว่าเป็นคาตอบที่ถูกต้อง เหมาะสมกับ สถานการณ์นั้นๆหรือไม่ และสิ่งที่ค้นพบหรือคาตอบนั้นมีความสมเหตุสมผลหรือไม่ อย่างไร โดยใช้การอภิปรายร่วมกับผู้อื่น 
4) สร้างคาถามหรือปัญหา (Create) คือ สร้างคาถามใหม่หรือปัญหาใหม่ เพื่อใช้ในการสารวจตรวจค้นโดยพิจารณาว่ามีประเด็น คาถามหรือปัญหาใดที่ต้องการศึกษา เพิ่มเติมในหัวข้อที่กาลังสนใจ เมื่อตั้งประเด็น คาถาม หรือปัญหาใหม่ได้แล้วจึงเริ่มดาเนินการ ใหม่ที่ส่วนใดส่วนหนึ่งในแบบจาลองความคิด 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสอบ เป็นกระบวนการจัดกิจกรรมเพื่อ พัฒนานักเรียนด้านความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา การแสวงหาความรู้ โดยให้ นักเรียนใช้กระบวนการทางความคิดในการแสวงหาความรู้ และค้นหาความรู้ด้วยตนเอง ซึ่ง ครูผู้สอนเป็นเพียงผู้ตั้งคาถามเป็นสื่อให้นักเรียนเกิดความคิด สืบค้น และหาคาตอบต่อปัญหา ของตนได้ ซึ่งในงานวิจัยจะพัฒนามโนทัศน์โดยจัดกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการ สืบสอบของ Roger Bybee (2006) นักการศึกษาจากกลุ่ม BSCS (Biological Science Curriculum Study) ซึ่งมี 5 ขั้นตอน ดังนี้ 
1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) ครูนาเข้าสู่บทเรียนด้วยเรื่องที่สนใจ ซึ่ง อาจเกิดขึ้นเองจากความสงสัย หรืออาจเริ่มจากความสนใจของตัวนักเรียนเอง หรือเกิดจากการ อภิปรายภายในกลุ่ม กิจกรรมประกอบด้วยการซักถามหรือใช้สื่อต่าง ๆ การทบทวนความรู้เดิม เพื่อสร้างคาถาม กาหนดประเด็นที่จะศึกษา 
2) ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) เป็นขั้นวางแผนกาหนดแนวทางการสารวจ ตรวจสอบ กาหนดทางเลือกที่เป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพื่อรวบรวมข้อมูล วิธีการตรวจสอบทาได้ หลายวิธี เช่น ทาการทดลอง การศึกษาหาข้อมูลจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
3) ขั้นอธิบาย และลงข้อสรุป (Explanation) ขั้นของการอธิบายจะให้ความสาคัญ กับความสนใจ ความตั้งใจของผู้เรียนในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประสบการณ์หรือกิจกรรม ในขั้นของการสร้างความสนใจและขั้นของการสารวจ ซึ่งนักเรียนจะแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจ เกี่ยวกับมโนทัศน์ ทักษะกระบวนการ หรือพฤติกรรมต่างๆ โดยการนาข้อมูลที่ได้จากการสารวจ ตรวจ สอบมาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และนาเสนอผลที่ได้ในรูปต่าง ๆ เช่น บรรยายสรุป สร้างตาราง 
4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) เป็นการนาความรู้ที่สร้างขึ้นไปเชื่อมโยงกับ ความรู้เดิมหรือแนวคิดที่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติม หรือนาข้อสรุปที่ได้ไปอธิบายสถานการณ์หรือ เหตุการณ์อื่น ๆ นักเรียนสามารถพัฒนาความเข้าใจในเชิงลึก นาไปสู่ความรู้ใหม่หรือความรู้ที่ ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ประยุกต์ความรู้ที่ได้ไปใช้ในเรื่องอื่นหรือสถานการณ์อื่นๆ 
5) ขั้นประเมิน (Evaluation) เป็นการประเมินความเข้าใจ ความสามารถ และ ความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยกระบวนการต่าง ๆ ว่านักเรียนมีความรู้อะไรบ้าง อย่างไร มาก น้อยเพียงใด ซึ่งจะนาไปสู่การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในเรื่องอื่น 
การจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ เป็นวิธีการเรียนการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนใช้ ความสามารถเฉพาะตัว และศักยภาพในตนเองร่วมมือกันแก้ปัญหาต่างๆ ให้บรรลุผลสาเร็จได้ โดยที่สมาชิกในกลุ่มตระหนักว่า แต่ละคนเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ดังนั้น ความสาเร็จหรือความ ล้มเหลวของกลุ่ม สมาชิกในกลุ่มต้องรับผิดชอบร่วมกัน สมาชิกจะมีการพูดคุยกัน ช่วยเหลือซึ่ง กันและกัน ผู้เรียนจะได้ความรู้จากเพื่อน ทั้งนี้การจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือมีหลายรูปแบบ ข้าพเจ้าได้เลือกจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ แบบ Co-op Co-op แบบการแข่งขัน ระหว่างกลุ่มด้วยเกม (Teams – Games – Tournament : TGT) และวิธีการเรียนแบบ ร่วมมือแบบต่อบทเรียน (Jigsaw II) และการเรียนแบบร่วมมือแบบการสอนเป็นกลุ่มย่อยหรือ รายบุคคล (Team Accelerated Instruction : TAI) 
Co-op Co-op สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มย่อยจะได้รับมอบหมายให้ศึกษาเนื้อหาหรือทา กิจกรรมที่ต่างกัน ทาเสร็จแล้วจึงนาผลงานมารวมกันเป็นงานกลุ่ม สมาชิกอ่านทบทวน ตรวจ แก้ไขภาษา ปรับปรุง เพิ่มเติม เพื่อให้ได้ผลงานที่มีคุณภาพ แล้วนาผลงานกลุ่มเสนอต่อชั้น เรียน Slavin (1990:101) ได้กล่าวถึงขั้นตอนการเรียนว่ามี 9 ขั้นตอน ซึ่งสามารถสรุปได้ ดังนี้ 
ขั้นที่ 1 ขั้นอภิปรายร่วมกันทั้งชั้น 
ขั้นที่ 2 เลือกสมาชิกและสร้างกลุ่ม 
ขั้นที่ 3 กลุ่มเลือกเรื่องที่จะศึกษา 
ขั้นที่ 4 กาหนดหัวข้อย่อย 
ขั้นที่ 5 การเตรียมหัวข้อย่อย 
ขั้นที่ 6 การนาเสนอหัวข้อย่อยภายในกลุ่ม 
ขั้นที่ 7 เตรียมการนาเสนอรายงานกลุ่ม 
ขั้นที่ 8 กลุ่มเสนอรายงาน
ขั้นที่ 9 การประเมินผล 
การเรียนแบบร่วมมือแบบการแข่งขันระหว่างกลุ่มด้วยเกม (Teams – Games – Tournament : TGT) John Hopkins (อ้างถึงใน Devries and Others,1980) ได้ เสนอการเรียนการสอนตามรูปแบบการแข่งขันระหว่างกลุ่มด้วยเกม ซึ่งเป็นการจัดการเรียนการ สอนที่ให้ผู้เรียนได้เรียนในกลุ่มเล็กๆ คละความสามารถและเพศ มีลักษณะการเรียนรู้ ดังนี้ 
1) การจัดผู้เรียนเข้ากลุ่ม โดยให้ผู้เรียนที่มีระดับความสามารถใกล้เคียงกันอยู่กลุ่ม เดียวกัน ซึ่งแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 3– 5 คน โดยสมาชิกของกลุ่มจะร่วมกันปฏิบัติ กิจกรรมตามกติกาของการจัดการเรียนการสอน ช่วยเหลือกันเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และสมาชิกทุก คนต้องพยายามทาให้ดีที่สุดเพื่อความสาเร็จร่วมกันของกลุ่ม 
2) กาหนดให้ผู้เรียนในแต่ละกลุ่มแข่งขันกันตอบคาถามหรือโจทย์ที่ครูเตรียมไว้ให้โดยแต่ ละโต๊ะจะมีโจทย์คาถามที่มีระดับความยากง่ายไม่เหมือนกัน ตามระดับความสามารถในกลุ่มของ ผู้เรียนที่แข่งขันด้วยกันนั้น 
3) จะจัดการแข่งขันกี่รอบก็ได้ แต่ละรอบจะใช้โจทย์คาถามกี่ข้อก็ได้ แต่ไม่ควรมากเกินไป ปกติจะใช้เวลาในการแข่งขันรอบหนึ่งๆ ประมาณ 10 – 15 นาที การแข่งขันในแต่ละรอบจะมีการ เปลี่ยนโจทย์คาถามเป็นชุดใหม่ทุกครั้ง 
4) ในการแข่งขันจะมีกติกาที่ชัดเจน และเมื่อสิ้นสุดการแข่งขันในแต่ละรอบจะมีการย้ายหรือ เปลี่ยนผู้เรียนไปแข่งขันยังโต๊ะอื่นๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกทาโจทย์ที่เหมาะกับความสามารถของเขา มากยิ่งขึ้น 
5) เมื่อแข่งขันครบทุกรอบตามที่กาหนดไว้ มีการประเมินความสาเร็จของกลุ่ม โดยการ นาคะแนนที่สมาชิกไปแข่งขันมารวมเป็นคะแนนของกลุ่ม และหาค่าเฉลี่ย กลุ่มที่มีคะแนนหรือ ค่าเฉลี่ยสูงสุดจะได้รับการยอมรับให้เป็นทีมชนะเลิศ และทีมที่ได้อันดับรองชนะเลิศลงมา หลังจากนั้นให้มีการประกาศผลการแข่งขันในที่สาธารณะ เช่น บอร์ดในชั้นเรียน บอร์ดของ โรงเรียน หรือวารสารของ โรงเรียน และมีการบันทึกสถิติไว้ด้วย 
วิธีการเรียนแบบร่วมมือแบบต่อบทเรียน (Jigsaw II) Elliot Aronson (1978) ได้ เสนอเทคนิคการต่อบทเรียน ซึ่งการเรียนแบบนี้ บางทีเรียกว่าการเรียนแบบต่อชิ้นส่วน หรือ การศึกษาเฉพาะส่วน การเรียนการสอนเทคนิคการต่อบทเรียน มีลักษณะการเรียนรู้ ดังนี้ 1) เป็นวิธีการที่แบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่ม คละความสามารถและเพศ 2) ทุกกลุ่มจะได้รับมอบหมายให้ทากิจกรรมเดียวกัน โดยผู้สอนให้เนื้อหา 1 เรื่อง สาหรับ 1 กลุ่ม และแบ่งเนื้อหาออกเป็นหัวข้อย่อยเท่าจานวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม เพื่อให้แต่ละคนในกลุ่ม ศึกษาเฉพาะในหัวข้อนั้นๆ คนละ 1 หัวข้อ โดยผู้เรียนแต่ละคนจะเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องที่ ตนเองได้รับมอบหมาย สมาชิกที่อยู่ต่างกลุ่มที่ได้รับมอบหมายในหัวข้อเดียวกันจะร่วมกันศึกษา เรียกว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Group) จากนั้นนาสิ่งที่ได้เรียนรู้ในหัวข้อของตนเองไปเสนอแก่ สมาชิกในกลุ่ม เพื่อให้เพื่อนในกลุ่มได้รู้เนื้อหาครบทุกหัวข้อ 3) หลังจากจบบทเรียนแล้วมีการทดสอบรายบุคคลตามเนื้อหาทุกหัวข้อ และนา คะแนนของสมาชิกแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม
การเรียนแบบร่วมมือแบบการสอนเป็นกลุ่มย่อยหรือรายบุคคล (Team Accelerated Instruction : TAI) การเรียนการสอนตามรูปแบบ การเรียนการสอนกลุ่ม เพื่อนช่วยเหลือเพื่อนเป็นรายบุคคล เป็นการเรียนการสอนที่ผสมผสานระหว่างการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ และการเรียนการสอน รายบุคคลเข้าด้วยกัน โดยให้นักเรียนทากิจกรรมการเรียนด้วยตนเอง ตามความสามารถจาก แบบฝึกทักษะ และส่งเสริมความร่วมมือภายในกลุ่ม มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ ตลอดจนการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม เมื่อนาการเรียนการสอนกลุ่มเพื่อนช่วยเหลือเพื่อนเป็น รายบุคคล มาประยุกต์ใช้กับ e – learning มีลักษณะการเรียนรู้ ดังนี้ 1) การทดสอบความรู้พื้นฐานของผู้เรียนก่อนเรียน โดยทาการทดสอบแบบ ออนไลน์บน Webpage แรกๆ 2) ผู้สอนจัดกลุ่มผู้เรียน โดยกาหนดให้นักเรียนที่มีความสามารถแตกต่างกัน ทางานร่วมกัน โดยแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 4 – 5 คน 3) ผู้สอนมอบหมายงานให้ผู้เรียนศึกษาร่วมกันเป็นคู่ๆ จะเน้นการฝึกปฏิบัติ โดย ให้ผู้เรียนต่างศึกษาเอกสารของผู้สอน ตามสิ่งที่ระบุในการมอบหมายใบงาน ที่ได้แจ้งไว้บน กระดานข่าว แล้วฝึกหัดทาตาม ในเวลาเรียนผู้เรียนต้องมีความร่วมมือกัน ผู้เรียนที่เก่งจะต้อง ช่วยเหลือเพื่อนที่อ่อน ต่างตรวจสอบงานของกันและกัน เมื่อทาเสร็จแล้ว ให้ทากิจกรรมอื่นๆต่อ จนครบทุกกิจกรรมหรือหัวข้อที่ผู้สอนกาหนดไว้ และรวมตัวทางานกลุ่มร่วมกันที่เป็นการ สังเคราะห์ความรู้ทั้งหมด จากการที่ผู้เรียนได้ร่วมกันฝึกปฏิบัติกันในคู่ของตนมาก่อนแล้วนั่นเอง 4) ระหว่างที่ผู้เรียนช่วยกันเรียนกับคู่ของตนและกับสมาชิกอื่นๆในกลุ่ม ผู้สอนจะ ใช้เวลานี้นัดหมายเวลาให้ ผู้เรียนจากกลุ่มต่างๆที่มีความสามารถระดับใกล้เคียงกันมาครั้งละ 4- 6 คน เพื่อให้ความรู้เสริม ให้เหมาะกับระดับความสามารถของผู้เรียน โดยให้ความรู้เสริม ผ่านการ Chat 5) หลังจากที่ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยตนเอง ได้เรียนร่วมกับเพื่อน ผ่านทุกจุดประสงค์ หรือทุกกิจกรรมร่วมกันทุกคน และได้เรียนจากครูเป็นกลุ่มย่อยโดยผ่านการ Chat แล้ว เมื่อจบ หน่วยการเรียน ครูจะมีการประเมินผลสิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนไปทั้งหมด โดยการทดสอบรายบุคคล ซึ่งในกรณีนี้จะมีการดาเนินการบริหารการสอบ โดยจัดเป็นห้องสอบไว้โดยเฉพาะ มีผู้ดาเนินการ จัดสอบ และให้ผู้เรียนทาข้อสอบออนไลน์ และจัดส่งไฟล์ข้อสอบไปยังผู้สอนโดยตรง ภายใน ระยะเวลาการสอบที่ได้กาหนดไว้และนาคะแนนการทดสอบของนักเรียนแต่ละคนมาเฉลี่ยเป็นคะแนน ของกลุ่มต่อไป

More Related Content

What's hot

เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
Naracha Nong
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์jariya221
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
Ailada_oa
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
guest68e3471
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2nang_phy29
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมบทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
apiwat97
 
ทฤษฎีการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการออกแบบการสอนทฤษฎีการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการออกแบบการสอนdeathnote04011
 

What's hot (18)

เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
 
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมบทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
 
4 mat
4 mat4 mat
4 mat
 
สถานการณ์ Constructivist theory
สถานการณ์ Constructivist theoryสถานการณ์ Constructivist theory
สถานการณ์ Constructivist theory
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
ทฤษฎีการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการออกแบบการสอนทฤษฎีการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการออกแบบการสอน
 

Viewers also liked

คณิตคิดสนุก
คณิตคิดสนุกคณิตคิดสนุก
คณิตคิดสนุก
Emon Dasri
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
janny5655
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
Teacher Sophonnawit
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsawชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
Krutanapron Nontasaen
 
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint design principle
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint  design principleหลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint  design principle
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint design principle
Duangnapa Inyayot
 
Games3
Games3Games3
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์Kobwit Piriyawat
 
Present Perfect Tense
Present  Perfect  TensePresent  Perfect  Tense
Present Perfect Tense
พัน พัน
 

Viewers also liked (9)

คณิตคิดสนุก
คณิตคิดสนุกคณิตคิดสนุก
คณิตคิดสนุก
 
Co op
Co opCo op
Co op
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsawชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
 
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint design principle
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint  design principleหลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint  design principle
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint design principle
 
Games3
Games3Games3
Games3
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
 
Present Perfect Tense
Present  Perfect  TensePresent  Perfect  Tense
Present Perfect Tense
 

Similar to ทฤษฎี แนวคิด เทคนิค และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายของครูปุ๊กปิ๊ก

รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
ศรัณยวัฒน์ พลเรียงโพน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
apiwat97
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act ppt
apiwat97
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้looktao
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)Aon Narinchoti
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
Nut Kung
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
ศรัณยวัฒน์ พลเรียงโพน
 
Cognitive tools for open Learning Environment
Cognitive tools for open Learning  EnvironmentCognitive tools for open Learning  Environment
Cognitive tools for open Learning Environment
tooktoona
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
guest65361fd
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
Ailada_oa
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
Pattie Pattie
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด
SudaratJanthathep
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่Jiramet Ponyiam
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
รัตนา สวัสดิมงคล
 

Similar to ทฤษฎี แนวคิด เทคนิค และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายของครูปุ๊กปิ๊ก (20)

รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
co-op
co-opco-op
co-op
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act ppt
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
 
Cognitive tools for open Learning Environment
Cognitive tools for open Learning  EnvironmentCognitive tools for open Learning  Environment
Cognitive tools for open Learning Environment
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
 

More from Jirathorn Buenglee

ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
Jirathorn Buenglee
 
โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกา
Jirathorn Buenglee
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
Jirathorn Buenglee
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
Jirathorn Buenglee
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้น
Jirathorn Buenglee
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
Jirathorn Buenglee
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
Jirathorn Buenglee
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
Jirathorn Buenglee
 
Teacher For Thailand
Teacher For ThailandTeacher For Thailand
Teacher For Thailand
Jirathorn Buenglee
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)
Jirathorn Buenglee
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Jirathorn Buenglee
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
Jirathorn Buenglee
 

More from Jirathorn Buenglee (20)

ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
 
โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกา
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้น
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
 
Teacher For Thailand
Teacher For ThailandTeacher For Thailand
Teacher For Thailand
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
 
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
 

ทฤษฎี แนวคิด เทคนิค และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายของครูปุ๊กปิ๊ก

  • 1. ทฤษฎี แนวคิด เทคนิค และรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ เน้นให้ผู้เรียนใช้การคิดโดยเชื่อมโยงสิ่งที่มีความสัมพันธ์กันให้อยู่ในลักษณะที่เป็นระบบ โดยการ สารวจหาความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนระหว่างข้อมูลของสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ แนวคิดของสิ่งที่ ต้องการเรียนรู้ หรือข้อมูลของปัญหาที่ต้องการสารวจตรวจค้น โดยผู้วิจัยประยุกต์ใช้ แบบจาลองความคิดของเชฟฟิลด์ (Sheffield, 2000: 38-49, 2003: 7) มาสร้างเป็น ขั้นตอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มี 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) สร้างความสัมพันธ์ (Relate) คือ ใช้ข้อมูลทั้งหมดที่หามาได้เชื่อมโยงให้ สัมพันธ์กัน โดยอาจเปรียบเทียบการโยงความสัมพันธ์ของข้อมูลในปัญหาใหม่ที่พบกับปัญหา เก่าที่เคยมีประสบการณ์ในการแก้ปัญหานั้น แล้วพิจารณาว่าปัญหาใหม่และปัญหาเก่ามีแนวคิด ทางคณิตศาสตร์ใดที่เหมือนกัน 2) สารวจตรวจค้น (Investigate) คือ สารวจตรวจค้นปัญหา วิธีการ แก้ปัญหา หรือตรวจสอบความสัมพันธ์ต่างๆที่คิดไว้ สืบสวน คิดอย่างลึกซึ้ง และตั้ง คาถามเพื่อนาไปสู่คาตอบ/ผลลัพธ์ที่ต้องการศึกษา 3) ประเมินและติดต่อสื่อสาร (Evaluate and Communicate) คือ ประเมินสิ่งที่ค้นพบหรือประเมินคาตอบที่ได้ว่าเป็นคาตอบที่ถูกต้อง เหมาะสมกับ สถานการณ์นั้นๆหรือไม่ และสิ่งที่ค้นพบหรือคาตอบนั้นมีความสมเหตุสมผลหรือไม่ อย่างไร โดยใช้การอภิปรายร่วมกับผู้อื่น 4) สร้างคาถามหรือปัญหา (Create) คือ สร้างคาถามใหม่หรือปัญหาใหม่ เพื่อใช้ในการสารวจตรวจค้นโดยพิจารณาว่ามีประเด็น คาถามหรือปัญหาใดที่ต้องการศึกษา เพิ่มเติมในหัวข้อที่กาลังสนใจ เมื่อตั้งประเด็น คาถาม หรือปัญหาใหม่ได้แล้วจึงเริ่มดาเนินการ ใหม่ที่ส่วนใดส่วนหนึ่งในแบบจาลองความคิด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสอบ เป็นกระบวนการจัดกิจกรรมเพื่อ พัฒนานักเรียนด้านความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา การแสวงหาความรู้ โดยให้ นักเรียนใช้กระบวนการทางความคิดในการแสวงหาความรู้ และค้นหาความรู้ด้วยตนเอง ซึ่ง ครูผู้สอนเป็นเพียงผู้ตั้งคาถามเป็นสื่อให้นักเรียนเกิดความคิด สืบค้น และหาคาตอบต่อปัญหา ของตนได้ ซึ่งในงานวิจัยจะพัฒนามโนทัศน์โดยจัดกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการ สืบสอบของ Roger Bybee (2006) นักการศึกษาจากกลุ่ม BSCS (Biological Science Curriculum Study) ซึ่งมี 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) ครูนาเข้าสู่บทเรียนด้วยเรื่องที่สนใจ ซึ่ง อาจเกิดขึ้นเองจากความสงสัย หรืออาจเริ่มจากความสนใจของตัวนักเรียนเอง หรือเกิดจากการ อภิปรายภายในกลุ่ม กิจกรรมประกอบด้วยการซักถามหรือใช้สื่อต่าง ๆ การทบทวนความรู้เดิม เพื่อสร้างคาถาม กาหนดประเด็นที่จะศึกษา 2) ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) เป็นขั้นวางแผนกาหนดแนวทางการสารวจ ตรวจสอบ กาหนดทางเลือกที่เป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพื่อรวบรวมข้อมูล วิธีการตรวจสอบทาได้ หลายวิธี เช่น ทาการทดลอง การศึกษาหาข้อมูลจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
  • 2. 3) ขั้นอธิบาย และลงข้อสรุป (Explanation) ขั้นของการอธิบายจะให้ความสาคัญ กับความสนใจ ความตั้งใจของผู้เรียนในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประสบการณ์หรือกิจกรรม ในขั้นของการสร้างความสนใจและขั้นของการสารวจ ซึ่งนักเรียนจะแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจ เกี่ยวกับมโนทัศน์ ทักษะกระบวนการ หรือพฤติกรรมต่างๆ โดยการนาข้อมูลที่ได้จากการสารวจ ตรวจ สอบมาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และนาเสนอผลที่ได้ในรูปต่าง ๆ เช่น บรรยายสรุป สร้างตาราง 4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) เป็นการนาความรู้ที่สร้างขึ้นไปเชื่อมโยงกับ ความรู้เดิมหรือแนวคิดที่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติม หรือนาข้อสรุปที่ได้ไปอธิบายสถานการณ์หรือ เหตุการณ์อื่น ๆ นักเรียนสามารถพัฒนาความเข้าใจในเชิงลึก นาไปสู่ความรู้ใหม่หรือความรู้ที่ ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ประยุกต์ความรู้ที่ได้ไปใช้ในเรื่องอื่นหรือสถานการณ์อื่นๆ 5) ขั้นประเมิน (Evaluation) เป็นการประเมินความเข้าใจ ความสามารถ และ ความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยกระบวนการต่าง ๆ ว่านักเรียนมีความรู้อะไรบ้าง อย่างไร มาก น้อยเพียงใด ซึ่งจะนาไปสู่การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในเรื่องอื่น การจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ เป็นวิธีการเรียนการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนใช้ ความสามารถเฉพาะตัว และศักยภาพในตนเองร่วมมือกันแก้ปัญหาต่างๆ ให้บรรลุผลสาเร็จได้ โดยที่สมาชิกในกลุ่มตระหนักว่า แต่ละคนเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ดังนั้น ความสาเร็จหรือความ ล้มเหลวของกลุ่ม สมาชิกในกลุ่มต้องรับผิดชอบร่วมกัน สมาชิกจะมีการพูดคุยกัน ช่วยเหลือซึ่ง กันและกัน ผู้เรียนจะได้ความรู้จากเพื่อน ทั้งนี้การจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือมีหลายรูปแบบ ข้าพเจ้าได้เลือกจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ แบบ Co-op Co-op แบบการแข่งขัน ระหว่างกลุ่มด้วยเกม (Teams – Games – Tournament : TGT) และวิธีการเรียนแบบ ร่วมมือแบบต่อบทเรียน (Jigsaw II) และการเรียนแบบร่วมมือแบบการสอนเป็นกลุ่มย่อยหรือ รายบุคคล (Team Accelerated Instruction : TAI) Co-op Co-op สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มย่อยจะได้รับมอบหมายให้ศึกษาเนื้อหาหรือทา กิจกรรมที่ต่างกัน ทาเสร็จแล้วจึงนาผลงานมารวมกันเป็นงานกลุ่ม สมาชิกอ่านทบทวน ตรวจ แก้ไขภาษา ปรับปรุง เพิ่มเติม เพื่อให้ได้ผลงานที่มีคุณภาพ แล้วนาผลงานกลุ่มเสนอต่อชั้น เรียน Slavin (1990:101) ได้กล่าวถึงขั้นตอนการเรียนว่ามี 9 ขั้นตอน ซึ่งสามารถสรุปได้ ดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นอภิปรายร่วมกันทั้งชั้น ขั้นที่ 2 เลือกสมาชิกและสร้างกลุ่ม ขั้นที่ 3 กลุ่มเลือกเรื่องที่จะศึกษา ขั้นที่ 4 กาหนดหัวข้อย่อย ขั้นที่ 5 การเตรียมหัวข้อย่อย ขั้นที่ 6 การนาเสนอหัวข้อย่อยภายในกลุ่ม ขั้นที่ 7 เตรียมการนาเสนอรายงานกลุ่ม ขั้นที่ 8 กลุ่มเสนอรายงาน
  • 3. ขั้นที่ 9 การประเมินผล การเรียนแบบร่วมมือแบบการแข่งขันระหว่างกลุ่มด้วยเกม (Teams – Games – Tournament : TGT) John Hopkins (อ้างถึงใน Devries and Others,1980) ได้ เสนอการเรียนการสอนตามรูปแบบการแข่งขันระหว่างกลุ่มด้วยเกม ซึ่งเป็นการจัดการเรียนการ สอนที่ให้ผู้เรียนได้เรียนในกลุ่มเล็กๆ คละความสามารถและเพศ มีลักษณะการเรียนรู้ ดังนี้ 1) การจัดผู้เรียนเข้ากลุ่ม โดยให้ผู้เรียนที่มีระดับความสามารถใกล้เคียงกันอยู่กลุ่ม เดียวกัน ซึ่งแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 3– 5 คน โดยสมาชิกของกลุ่มจะร่วมกันปฏิบัติ กิจกรรมตามกติกาของการจัดการเรียนการสอน ช่วยเหลือกันเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และสมาชิกทุก คนต้องพยายามทาให้ดีที่สุดเพื่อความสาเร็จร่วมกันของกลุ่ม 2) กาหนดให้ผู้เรียนในแต่ละกลุ่มแข่งขันกันตอบคาถามหรือโจทย์ที่ครูเตรียมไว้ให้โดยแต่ ละโต๊ะจะมีโจทย์คาถามที่มีระดับความยากง่ายไม่เหมือนกัน ตามระดับความสามารถในกลุ่มของ ผู้เรียนที่แข่งขันด้วยกันนั้น 3) จะจัดการแข่งขันกี่รอบก็ได้ แต่ละรอบจะใช้โจทย์คาถามกี่ข้อก็ได้ แต่ไม่ควรมากเกินไป ปกติจะใช้เวลาในการแข่งขันรอบหนึ่งๆ ประมาณ 10 – 15 นาที การแข่งขันในแต่ละรอบจะมีการ เปลี่ยนโจทย์คาถามเป็นชุดใหม่ทุกครั้ง 4) ในการแข่งขันจะมีกติกาที่ชัดเจน และเมื่อสิ้นสุดการแข่งขันในแต่ละรอบจะมีการย้ายหรือ เปลี่ยนผู้เรียนไปแข่งขันยังโต๊ะอื่นๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกทาโจทย์ที่เหมาะกับความสามารถของเขา มากยิ่งขึ้น 5) เมื่อแข่งขันครบทุกรอบตามที่กาหนดไว้ มีการประเมินความสาเร็จของกลุ่ม โดยการ นาคะแนนที่สมาชิกไปแข่งขันมารวมเป็นคะแนนของกลุ่ม และหาค่าเฉลี่ย กลุ่มที่มีคะแนนหรือ ค่าเฉลี่ยสูงสุดจะได้รับการยอมรับให้เป็นทีมชนะเลิศ และทีมที่ได้อันดับรองชนะเลิศลงมา หลังจากนั้นให้มีการประกาศผลการแข่งขันในที่สาธารณะ เช่น บอร์ดในชั้นเรียน บอร์ดของ โรงเรียน หรือวารสารของ โรงเรียน และมีการบันทึกสถิติไว้ด้วย วิธีการเรียนแบบร่วมมือแบบต่อบทเรียน (Jigsaw II) Elliot Aronson (1978) ได้ เสนอเทคนิคการต่อบทเรียน ซึ่งการเรียนแบบนี้ บางทีเรียกว่าการเรียนแบบต่อชิ้นส่วน หรือ การศึกษาเฉพาะส่วน การเรียนการสอนเทคนิคการต่อบทเรียน มีลักษณะการเรียนรู้ ดังนี้ 1) เป็นวิธีการที่แบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่ม คละความสามารถและเพศ 2) ทุกกลุ่มจะได้รับมอบหมายให้ทากิจกรรมเดียวกัน โดยผู้สอนให้เนื้อหา 1 เรื่อง สาหรับ 1 กลุ่ม และแบ่งเนื้อหาออกเป็นหัวข้อย่อยเท่าจานวนสมาชิกในแต่ละกลุ่ม เพื่อให้แต่ละคนในกลุ่ม ศึกษาเฉพาะในหัวข้อนั้นๆ คนละ 1 หัวข้อ โดยผู้เรียนแต่ละคนจะเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องที่ ตนเองได้รับมอบหมาย สมาชิกที่อยู่ต่างกลุ่มที่ได้รับมอบหมายในหัวข้อเดียวกันจะร่วมกันศึกษา เรียกว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Group) จากนั้นนาสิ่งที่ได้เรียนรู้ในหัวข้อของตนเองไปเสนอแก่ สมาชิกในกลุ่ม เพื่อให้เพื่อนในกลุ่มได้รู้เนื้อหาครบทุกหัวข้อ 3) หลังจากจบบทเรียนแล้วมีการทดสอบรายบุคคลตามเนื้อหาทุกหัวข้อ และนา คะแนนของสมาชิกแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม
  • 4. การเรียนแบบร่วมมือแบบการสอนเป็นกลุ่มย่อยหรือรายบุคคล (Team Accelerated Instruction : TAI) การเรียนการสอนตามรูปแบบ การเรียนการสอนกลุ่ม เพื่อนช่วยเหลือเพื่อนเป็นรายบุคคล เป็นการเรียนการสอนที่ผสมผสานระหว่างการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ และการเรียนการสอน รายบุคคลเข้าด้วยกัน โดยให้นักเรียนทากิจกรรมการเรียนด้วยตนเอง ตามความสามารถจาก แบบฝึกทักษะ และส่งเสริมความร่วมมือภายในกลุ่ม มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ ตลอดจนการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม เมื่อนาการเรียนการสอนกลุ่มเพื่อนช่วยเหลือเพื่อนเป็น รายบุคคล มาประยุกต์ใช้กับ e – learning มีลักษณะการเรียนรู้ ดังนี้ 1) การทดสอบความรู้พื้นฐานของผู้เรียนก่อนเรียน โดยทาการทดสอบแบบ ออนไลน์บน Webpage แรกๆ 2) ผู้สอนจัดกลุ่มผู้เรียน โดยกาหนดให้นักเรียนที่มีความสามารถแตกต่างกัน ทางานร่วมกัน โดยแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 4 – 5 คน 3) ผู้สอนมอบหมายงานให้ผู้เรียนศึกษาร่วมกันเป็นคู่ๆ จะเน้นการฝึกปฏิบัติ โดย ให้ผู้เรียนต่างศึกษาเอกสารของผู้สอน ตามสิ่งที่ระบุในการมอบหมายใบงาน ที่ได้แจ้งไว้บน กระดานข่าว แล้วฝึกหัดทาตาม ในเวลาเรียนผู้เรียนต้องมีความร่วมมือกัน ผู้เรียนที่เก่งจะต้อง ช่วยเหลือเพื่อนที่อ่อน ต่างตรวจสอบงานของกันและกัน เมื่อทาเสร็จแล้ว ให้ทากิจกรรมอื่นๆต่อ จนครบทุกกิจกรรมหรือหัวข้อที่ผู้สอนกาหนดไว้ และรวมตัวทางานกลุ่มร่วมกันที่เป็นการ สังเคราะห์ความรู้ทั้งหมด จากการที่ผู้เรียนได้ร่วมกันฝึกปฏิบัติกันในคู่ของตนมาก่อนแล้วนั่นเอง 4) ระหว่างที่ผู้เรียนช่วยกันเรียนกับคู่ของตนและกับสมาชิกอื่นๆในกลุ่ม ผู้สอนจะ ใช้เวลานี้นัดหมายเวลาให้ ผู้เรียนจากกลุ่มต่างๆที่มีความสามารถระดับใกล้เคียงกันมาครั้งละ 4- 6 คน เพื่อให้ความรู้เสริม ให้เหมาะกับระดับความสามารถของผู้เรียน โดยให้ความรู้เสริม ผ่านการ Chat 5) หลังจากที่ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยตนเอง ได้เรียนร่วมกับเพื่อน ผ่านทุกจุดประสงค์ หรือทุกกิจกรรมร่วมกันทุกคน และได้เรียนจากครูเป็นกลุ่มย่อยโดยผ่านการ Chat แล้ว เมื่อจบ หน่วยการเรียน ครูจะมีการประเมินผลสิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนไปทั้งหมด โดยการทดสอบรายบุคคล ซึ่งในกรณีนี้จะมีการดาเนินการบริหารการสอบ โดยจัดเป็นห้องสอบไว้โดยเฉพาะ มีผู้ดาเนินการ จัดสอบ และให้ผู้เรียนทาข้อสอบออนไลน์ และจัดส่งไฟล์ข้อสอบไปยังผู้สอนโดยตรง ภายใน ระยะเวลาการสอบที่ได้กาหนดไว้และนาคะแนนการทดสอบของนักเรียนแต่ละคนมาเฉลี่ยเป็นคะแนน ของกลุ่มต่อไป