SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
นางสาวนัฐิการ์ ล่าบัว 531121713
นางสาววันเพ็ญ บุญสุข 531121729
นายเทียนชัย ก๋าแก่น 531121733
นางสาวพรพนา ฉายานามชัย 531121734
สมาชิก
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
1. ความหมายของกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
2. การจัดทาประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
3. ลักษณะสาคัญของประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์
1. ความหมายของกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง ( Civil Law ) หมายถึง กฎหมายเอกชนที่กาหนด
ความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนด้วยกันในฐานะที่เท่าเทียมกัน โดย
กาหนดความสัมพันธ์ในเรื่องบุคคล หนี้สิน ทรัพย์สิน ครอบครัว และมรดก
กฎหมายพาณิชย์ ( Commercial Law ) หมายถึง กฎหมายเอกชน
ที่เกี่ยวกับหลักปฏิบัติในทางการค้าที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในภาคธุรกิจ จึงเรียกว่า
“กฎหมายพ่อค้า” ได้แก่ หุ้นส่วนบริษัท ตั๋วเงิน การประกันภัย การ
ล้มละลาย เป็นต้น
2. การจัดทาประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
จนกระทั่งจัดทาสาเร็จและ
ประกาศใช้เป็นประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ประกาศใช้เรื่อยมา
จนครบ 6 บรรพ ในรัชกาลที่ 8
รัชกาลที่ 6 มีการประกาศใช้
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ภายใต้
อิทธิพลประมวลกฎหมายแพ่ง
ฝรั่งเศส แต่ประชาชนอ่านยาก
และไม่เข้าใจจึงจัดทาขึ้นใหม่
ภายใต้อิทธิพลกฎหมายแพ่ง
เยอรมัน
รัชกาลที่ 5 ปฏิรูประบบกฎหมาย
ตามแบบตะวันตก ทรงเลือกใช้
ระบบประมวลกฎหมาย
(Civil Law)
3. ลักษณะสาคัญของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
บรรพ 1 หลักทั่วไป เป็นบรรพที่บัญญัติหลักการทั่วไป (เช่น นิติวิธี หลัก
สุจริต)บุคคล เป็นหลักเกณฑ์เบื่องต้นเกี่ยวกับทรัพย์ นิติกรรม ระยะเวลา
และอายุความ
บรรพ 2 หนี้ เป็นบรรพที่บัญญัติหลักการทั่วไปเกี่ยวกับหนี้และบ่อเกิดแห่ง
หนี้เช่น สัญญา ละเมิด ลาภไม่ควรได้ และจัดการงานนอกสั่ง
บรรพ 3 เอกทัศสัญญา เป็นบรรพที่บัญญัติหลักเกณฑ์ของสัญญาต่างๆ
เช่น ซื้อขาย กู้ยืม ฝากทรัพย์ จานา เป็นต้น
บรรพ 4 ทรัพย์สิน เป็นบรรพที่บัญญัติหลักเกณฑ์เกี่ยวกับทรัพย์สิน และสิทธิ
ต่างๆในทรัพย์สิน เช่น กรรมสิทธ์ สิทธิครอบครอง ภาวะจายอม เป็นต้น
บรรพ 5 ครอบครัว เป็นบรรพที่บัญญัติความสัมพันธ์ของบุคคลในครอบครัว
เช่น การหมั้น การสมรส สิทธิและหน้าที่ระหว่างสามีกับภรรยา และระหว่าง
บิดามารดากับบุตร เป็นต้น
บรรพ 6 มรดก เป็นบรรพที่บัญญัติหลักเกณฑ์เกี่ยวกับกองมรดก เช่น การตก
ทอดของมรดก การทาพินัยกรรม การจัดการและการแบ่งปันทรัพย์มรดก เป็น
ต้น
3. ลักษณะสาคัญของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
(ต่อ)
กฎหมายลักษณะบุคคล
1. ความหมายของบุคคล
2. บุคคลธรรมดา
3. นิติบุคคล
4. ภูมิลาเนาของบุคคล
1. ความหมายของบุคคล
บุคคล หมายถึง สิ่งที่กฎหมายรับรอง
ให้มีสิทธิและหน้าที่ได้ตามกฎหมาย ซึ่งเรียกว่า
“ผู้ทรงสิทธิ” เช่น มนุษย์ บริษัท หรือพรรค
การเมือง กฎหมายรองรับให้เป็นบุคคลและให้
มีสิทธิหน้าที่ได้ตามกฎหมาย
2. บุคคลธรรมดา
บุคคลธรรมดา หมายถึง มนุษย์หรือคนทั่วไปที่เกิดขึ้นตาม
ธรรมชาติที่กฎหมายรองรับให้มีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย
2.1 สภาพบุคคล สิทธิและหน้าที่ของบุคคลธรรมดาจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ
บุคคลนั้นมีสภาพบุคคลแล้วเท่านั้น ซึ่งสภาพบุคคลย่อมเริ่มตั้งแต่เมื่อคลอด
แล้วอยู่รอดเป็นทารก และสิ้นสุดลงเมื่อตาย
2. บุคคลธรรมดา (ต่อ)
2.1.1 การเริ่มต้นแห่งสภาพบุคคล
1) มีการคลอด “การคลอด” หมายถึง
การที่อวัยวะทุกส่วนของทารกได้
พ้นออกมาจากครรภ์มารดา แม้ยัง
ไม่ได้ตัดสายสะดือก็เป็นการคลอด
สาเร็จแล้ว
2) มีการอยู่รอดเป็นทารก “การอยู่รอด
เป็นทารก” หมายถึง ต้องปรากฏว่า
ทารกที่คลอดออกมานั้นมีการ
หายใจแล้ว
ตัวอย่าง ลายองท้องกับสันต์
เมื่อครบกาหนดคลอดลายองได้
คลอดวันเฉลิมออกมา ขณะที่
คลอดนั้นแม้ยังไม่ได้ตัดสาย
สะดือออกแต่ปรากฏว่าวันเฉลิม
มีการหายใจ ก็ถือว่าเป็ นการ
เริ่มต้นแห่งสภาพบุคคลของวัน
เฉลิม
2.1.2 การสิ้นสุดแห่งสภาพบุคคล
1) การตายโดยธรรมชาติ ในทาง
การแพทย์ถือว่าบุคคลธรรมดาจะถึง
แก่ความตายเมื่อแกนสมองของ
บุคคลนั้นหยุดทางาน
2) การตายโดยผลของกฎหมาย หรือที่
เรียกว่า “การสาบสูญ” เป็นกรณีที่
บุคคลได้หายจากภูมิลาเนาหรือถิ่นที่
อยู่ โดยไม่ทราบข่าวคราวเป็น
ระยะเวลา 5 ปีสาหรับกรณีทั่วไป 2 ปี
สาหรับกรณีพิเศษ ซึ่งได้แก่ หายไป
ในสนามรบ การสงคราม
ตัวอย่าง
2.2 การนับอายุบุคคล
• กรณีรู้วัน เดือน ปีเกิด ให้นับตั้งแต่วันเกิด
• กรณีรู้เดือน ปี แต่ไม่รู้วันเกิด กฎหมายให้ถือเอาวันที่ 1 ของเดือนเป็น
วันเกิด
• กรณีรู้ปีเกิด แต่ไม่รู้วันและเดือนเกิด กฎหมายให้ถือเอาวันเริ่มต้นปี
ปฏิทินของปีที่บุคคลนั้นเกิดเป็นวันเกิดของบุคคลดังกล่าว
• กรณีไม่รู้วัน เดือน ปีเกิดเลย กรณีนี้ต้องพิจารณาจากรูปร่าง หน้าตา
สัณฐานของบุคคลนั้นประกอบกับพยานที่เกี่ยวข้อง
2.3 ความสามารถของบุคคล
โดยทั่วไปแล้วบุคคลย่อมสามารถมีสิทธิและใช้สิทธิต่างๆ ได้ตาม
กฎหมาย แต่มีบุคคลบางประเภทที่กฎหมายจากัดความสามารถ เรียกว่า “ผู้
ไร้ความสามารถ” มี 4 ประเภท 1 ผู้เยาว์2 คนไร้ความสามารถ 3คนวิกลจริต
4 คนเสมือนไร้ความสามารถ
2.3.1 ผู้เยาว์ หมายถึง บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ โดยบุคคลจะบรรลุนิติ
ภาวะด้วยเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ
1) การบรรลุนิติภาวะโดยอายุ บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผู้เยาว์
และบรรลุนิติภาวะเมื่ออายุ 20 ปีบริบูรณ์
2) การบรรลุนิติภาวะโดยการสมรส เมื่อชายหญิงอายุครบ
17 ปีบริบูรณ์ โดยจดทะเบียนสมรสตามกฎหมาย และ
บิดามารดาหรือผู้ปกครองของทั้งสองฝ่ายให้ความ
ยินยอม
ตัวอย่าง แดง อายุ 17 ปีลูกชายของนายมากกับนางนาค ได้แต่งงานกับ
เหลือง อายุ 18 ปี ลูกสาวนายโยนกับนางขว้าง และทั้งคู่ได้มีการจดทะเบียน
สมรสกันตามกฎหมาย ก็ถือว่าแดงและเหลืองบรรลุนิติภาวะแล้ว
2.3.2 คนไร้ความสามารถ หมายถึง บุคคลที่มีอาการวิกลจริตหรืออาการ
ทางจิตผิดปกติถึงขนาดขาดความสามารถโดยสิ้นเชิง หรือบุคคลที่
เจ็บป่วยจนไม่รู้สานึกของตนโดยสิ้นเชิง และศาลมีคาสั่งให้บุคคลนั้นเป็น
คนไร้ความสามารถ
ศาลจะตั้ง “ผู้อนุบาล” ซึ่งทาหน้าที่ดูแลบุคคลไร้ความสามรถ
รวมถึงนิติกรรมทุกอย่างแทนคนไร้ความสามารถ
ตัวอย่าง เด็กหญิงฐาไพรพรรณซึ่งเป็นคนไร้ความสามารถ ซื้อปากกา
ราคาด้ามละ 1,000 บาท โดยไม่ได้รับความยินยอมจาก นายฐาปกรณ์
และนางฐาระพีพรรณ ซึ่งเป็นบิดามาดาและผู้อนุบาล นิติกรรมดังกล่าว
ถือว่าเป็นโมฆะ
2.3.3 คนวิกลจริต หมายถึง บุคคลวิกลจริตซึ่งศาลยังไม่ได้สั่งให้เป็นคน
ไร้ความสามารถ กฎหมายให้คนวิกลจริตมีความสามารถในการนิติ
กรรมโดยบริบูรณ์เช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป
กฎหมายจะถือว่านิติกรรมที่คนวิกลจริตได้กระทาตกเป็นโมฆะ
ก็ต่อเมื่อ
1) คนวิกลจริตทาพินัยกรรมในขณะที่ตนมีอาการจริตวิกล
2) วิกลคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งรู้ว่าบุคคลที่ทานิติกรรมกับตนเป็นคน
วิกลจริต
ตัวอย่าง รัตนาภรณ์เป็นคนวิกลจริตได้ซื้อผ้าห่มรูป แจ จุง จากพรพรรณ
โดยรัตนาภรณ์ทานิติกรรมดังกล่าวในขณะที่ตนมีอาการจริตวิกล แต่
พรพรรณไม่รู้ว่ารัตนาภรณ์เป็นคนวิกลจริต ดังนั้นนิติกรรมซื้อขายผ้าห่ม
รูป แจ จุง ดังกล่าวย่อมมีผลสมบูรณ์ เพราะคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่รู้ว่าผู้ทา
นิติกรรมกับตนเป็นคนวิกลจริต
2.3.4 คนเสมือนไร้ความสามารถ หมายถึง บุคคลที่มีความบกพร่องบาง
ประเภท แต่ไม่ถึงขนาดวิกลจริต หรือสูญเสียความสามารถในการ
กาหนดเจตนาของตนเองโดยสิ้นเชิง และศาลได้มีคาสั่งให้บุคคลนั้นเป็น
คนเสมือนไร้ความสามารถ
คนเสมือนไร้ความสามารถ มีองค์ประกอบ 2 ประการ
1) บุคคลนั้นต้องมีเหตุบกพร่องอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่
กายพิการ จิตฟั่นเฟือน พฤติกรรมสุรุ่ยสุร่าย ติดสุรา
2) บุคคลนั้นไม่สามารถจัดการงานโดยตนเองได้
3. นิติบุคคล
3.1 ความหมายของนิติบุคคล
นิติบุคคล หมายถึง บุคคลที่กฎหมายสมมติขึ้นให้มีสิทธิและหน้าที่
เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา เช่น สามารถเป็นเจ้าของทรัพย์สินได้จาหน่าย
จ่ายโอนทรัพย์สินได้เป็นลูกหนี้หรือเจ้าหนี้ได้เป็นต้น
3.2 ประเภทของนิติบุคคล
3.2.1 นิติบุคคลเอกชน หมายถึง นิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมาย
เอกชนโดยดาเนินการในลักษณะที่เท่าเทียมกันอย่างเอกชนทั่วไป สามารถ
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1) นิติบุคคลเอกชนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มี 5
ประเภท คือ ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญ
จดทะเบียน บริษัทจากัด สมาคม และมูลนิธิ
2) นิติบุคคลเอกชนตามกฎหมายอื่น เช่น บริษัทมหาชนจากัด
สหกรณ์
3.2.2 นิติบุคคลมหาชน หมายถึง นิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมาย
มหาชนโดยดาเนินการลักษณะไม่เท่าเทียมกัน
กล่าวคือ นิติบุคคลนั้นมีอานาจเหนือบุคคลใดๆที่เกี่ยวข้องกับ
การดาเนินงานของตน และการดาเนินการอยู่บนพื้นฐานของการใช้
อานาจรัฐบังคับให้เป็นไปเพื่อประโยชน์ส่วนรวม เช่น กระทรวง ทบวง
กรม จังหวัด เทศบาล วัด มหาวิทยาลัย พรรคการเมือง เป็นต้น
3.3 ผู้แทนนิติบุคคล เนื่องจากนิติบุคคลไม่มีตัวตนในความเป็นจริง
นิติบุคคลจึงไม่อาจทาการใดๆได้เอง ดังนั้นการกระทาของนิติบุคคลจึง
ต้องกระทาโดยบุคคลธรรมดาซึ่งมีฐานะเป็น “ผู้แทนนิติบุคคล” เมื่อ
ผู้แทนนิติบุคคลได้แสดงเจตนาหรือความประสงค์ของนิติบุคคล อันอยู่
ในขอบแห่งวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลนั้นไปแล้ว
4. ภูมิลาเนาของบุคคล
4.1 ภูมิลาเนาของบุคคลธรรมดา
ภูมิลาเนาของบุคคลธรรมดา ได้แก่ ถิ่นอันบุคคลนั้นมีสถานที่อยู่
เป็นหลักแหล่งสาคัญ กล่าวคือ ถิ่นที่จะเป็นภูมิลาเนาได้นั้นจะต้อง
ประกอบด้วยหลักเกณฑ์สาคัญ 2 ประการ
1) เป็นที่อยู่ของบุคคลตามข้อเท็จจริง
2) เป็นที่อยู่ซึ่งบุคคลนั้นถือเป็นแหล่งสาคัญ
โดยปกติบุคคลธรรมดาทั่วไปสามารถเลือกภูมิลาเนาของตนได้
ตามใจ แต่มีบุคคลบางประเภทที่กฎหมายกาหนดภูมิลาเนาโดยเฉพาะเพื่อ
ความสะดวก ได้แก่
1. ภูมิลาเนาของสามีภรรยา ได้แก่ ถิ่นที่อยู่ของสามีและภรรยาที่
อยู่กินด้วยกัน เว้นแต่สามีภรรยาแยกแตกห่างจากกัน
2. ภูมิลาเนาของผู้เยาว์ได้แก่ ภูมิลาเนาของผู้แทนโดยชอบธรรม
ซึ่งเป็นผู้ใช้อานาจปกครอง
3. ภูมิลาเนาของคนไร้ความสามารถ ได้แก่ ภูมิลาเนาของผู้อนุบาล
4. ภูมิลาเนาของข้าราชการ ได้แก่ ถิ่นอันเป็นที่ทาการตามตาแหน่ง
หน้าที่
5. ภูมิลาเนาของผู้ที่จาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุด ได้แก่ เรือนจา หรือ
ทัณฑสถานที่ถูกจาคุกอยู่
4.2 ภูมิลาเนาของนิติบุคคล
ภูมิลาเนาของนิติบุคคล ได้แก่ ถิ่นอันเป็นที่ตั้งสานักงานใหญ่ หรือ
ถิ่นอันเป็นที่ตั้งที่ทาการ หรือถิ่นที่ได้เลือกเอาเป็นภูมิลาเนาเฉพาะการตาม
ข้อบังคับหรือตราสารจัดตั้ง เช่น บริษัท จากัด
ข้อที่ 1. สภาพบุคคลเริ่มต้นเมื่อใด
ก. ตั้งแต่เริ่มคลอด
ข. ตั้งแต่เริ่มคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก
ค. ตั้งแต่ตั้งครรภ์
ง. ก. และ ข. ถูกต้อง
ข้อที่ 2. บุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถต้อง
จัดให้อยู่ในความดูแลของผู้ใด
ก. ผู้แทนเฉพาะคดี
ข. ผู้พิทักษ์
ค. ผู้ปกครอง
ง. ผู้อนุบาล
ข้อที่ 3. บุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถต้อง
จัดอยู่ในความดูแลของผู้ใด
ก. ผู้แทนเฉพาะคดี
ข. ผู้พิทักษ์
ค. ผู้ปกครอง
ง. ผู้อนุบาล
ข้อที่ 4. ภูมิลาเนาของผู้ถูกจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดคือที่ใด
ก. ถิ่นบุคคลนั้นมีที่อยู่อันเป็นสถานที่อยู่เป็นแหล่งสาคัญ
ข. ถิ่นที่อยู่ตามทะเบียนราษฎร์
ค. เรือนจา
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ข้อที่ 5. ถ้าบุคคลใดได้ไปจากภูมิลาเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่
ว่าบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ พนักงานอัยการร้องขอ ศาลจะสั่งให้
บุคคลนั้นเป็นคนสาบสูญได้ เมื่อระยะเวลาได้ผ่านไปกี่ปี
ก. 1 ปี
ข. 2 ปี
ค. 4 ปี
ง. 5 ปี
ข้อที่ 1. สภาพบุคคลเริ่มต้นเมื่อใด
ก. ตั้งแต่เริ่มคลอด
ข. ตั้งแต่เริ่มคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก
ค. ตั้งแต่ตั้งครรภ์
ง. ก. และ ข. ถูกต้อง
เฉลย ข. ตั้งแต่เริ่มคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก
เหตุผล ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 15 วรรคหนึ่ง บัญญัติ
ไว้ว่า “สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารกและสิ้นสุดลง
เมื่อตาย”
ข้อที่ 2. บุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถต้องจัดให้อยู่ในความดูแลของ
ผู้ใด
ก. ผู้แทนเฉพาะคดี
ข. ผู้พิทักษ์
ค. ผู้ปกครอง
ง. ผู้อนุบาล
เฉลย ง. ผู้อนุบาล
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 28 วรรคสอง บัญญัติไว้ว่า “บุคคล
ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถตามวรรคหนึ่ง ต้องจัดให้อยู่ในความ
อนุบาล การแต่งตั้งผู้อนุบาล อานาจหน้าที่ของผู้อนุบาลและการสิ้นสุดของความ
เป็นผู้อนุบาล ให้เป็นไปตามบทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายนี้”
ข้อที่ 3. บุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถต้องจัดอยู่ในความ
ดูแลของผู้ใด
ก. ผู้แทนเฉพาะคดี
ข. ผู้พิทักษ์
ค. ผู้ปกครอง
ง. ผู้อนุบาล
เฉลย ข. ผู้พิทักษ์
เหตุผล ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 32 วรรคสอง บัญญัติไว้ว่า
“บุคคลซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถตามวรรคหนึ่ง ต้องจัดให้
อยู่ในความพิทักษ์การแต่งตั้งผู้พิทักษ์ให้เป็นไปตามบทบัญญัติบรรพ 5 แห่ง
ประมวลกฎหมายนี้”
ข้อที่ 4. ภูมิลาเนาของผู้ถูกจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดคือที่ใด
ก. ถิ่นบุคคลนั้นมีที่อยู่อันเป็นสถานที่อยู่เป็นแหล่งสาคัญ
ข. ถิ่นที่อยู่ตามทะเบียนราษฎร์
ค. เรือนจา
ง. ไม่มีข้อใดถูก
เฉลย ค. เรือนจา
เหตุผล ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 47 บัญญัติไว้ว่า “ภูมิลาเนา
ของผู้ที่ถูกจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดของศาลหรือตามคาสั่งโดยชอบด้วย
กฎหมาย ได้แก่เรือนจาหรือทัณฑสถานที่ถูกจาคุกอยู่จนกว่าจะได้รับการปล่อย
ตัว”
ข้อที่ 5. ถ้าบุคคลใดได้ไปจากภูมิลาเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่าบุคคลนั้น
ยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ พนักงานอัยการร้องขอ ศาลจะสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนสาบสูญ
ได้ เมื่อระยะเวลาได้ผ่านไปกี่ปี
ก. 1 ปี
ข. 2 ปี
ค. 4 ปี
ง. 5 ปี
เฉลย ง. 5 ปี
เหตุผล ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 61 บัญญัติไว้ว่า “ถ้าบุคคลใดได้
ไปจากภูมิลาเนาหรือถิ่นที่อยู่และไม่มีใครรู้แน่ว่าบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ตลอดระ
ยะเวลาห้าปี เมื่อผู้มีส่วนได้เสียหรือพนักงานอัยการร้องขอ ศาลจะสั่งให้บุคคลนั้นเป็น
คนสาบสูญก็ได้ระยะเวลาตามวรรคหนึ่งให้ลดเหลือสองปี
กฎหมายบุคคล

More Related Content

What's hot

02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1tewin2553
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2thkitiya
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรYosiri
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 

What's hot (20)

02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
ประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
 
กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎร
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 

Viewers also liked

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (8)

ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

More from Yosiri

กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนYosiri
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล Yosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก Yosiri
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกYosiri
 

More from Yosiri (20)

กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 

กฎหมายบุคคล