SlideShare a Scribd company logo
นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน
www.damsanid.blogger.com
ค ำ น ำ
ห น ัง ส ือ น ว ัต ก ร ร ม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบ
ประชาธิปไตยในสถานศึกษา เล่มนี้จัดทาขั้นเพื่อสนองนโยบาย ในโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ
ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต ๒ สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักงานพระพุทธศาสนา ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม
ค่านิยมอันพึงประสงค์ ตามระบอบประชาธิปไตย อันนี้พระมหากษัตรทรงเป็นประมุข โดยให้
ผู้เรียนได้รู้จักตระหนักและคุณค่าของสังคมที่มีคุณธรรม จริยธรรม รักชาติ ศาสน์ กษัตร
จากสภาพสังคมในปัจจุบันนั้นพบว่ามีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและหลากหลายอัน
เนื่องมาจากความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสารต่างๆ แพร่หลาย
อย่างรวดเร็วทาให้แนวคิด วิถีชีวิต ค่านิยมของบุคคลในสังคมเกิดความเปลี่ยนแปลง เบี่ยงเบนไป
จากหลัก ศีลธรรม จริยธรรมที่ดีงามตามหลักธรรมของพุทธศาสนา กลับชื่นชมวัฒนธรรม
ตะวันตก ที่เน้นการ บริโภควัตถุต่างๆ จนเกิดความสับสน ระบบสังคมที่เคยดีงามของไทยได้รับ
ผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ อันสืบเนื่องมาจากการให้ความสาคัญในด้านเศรษฐกิจซึ่งเป็นการ
พัฒนาทางด้านวัตถุมากกว่า พัฒนาสังคมในด้านอื่น ๆ โดยเฉพาะการพัฒนาทางด้านจิตใจจึงทาให้
เกิดปัญหาความย่อหย่อนของคุณธรรมจริยธรรม
ดังนั้น หนังสือเล่มนี้สามารถช่วยส่งเสริม ให้โรงเรียนนาไปใช้ และพัฒนา ปรังปรุง
ให้เข้าบริบทของโรงเรียน และผู้เรียนในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมอันพึ่งประสงค์
ตามระบบประชาธิปไตยในสถานศึกษาได้เป็นอย่างดี
ข้าพเจ้า นายวชิระ ฟักอ่อน ตาแหน่งพนักงานราชการ ครูผู้สอนโรงเรียนคลองเจริญ
ราษฎร์ จึงใคร่ขอขอบพระคุณ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานบริหารทั่วไป หัวหน้างานบริหาร
วิชาการ หัวหน้างานบริหารงานบุคคล หัวหน้างานบริหารงบประมาณ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่ให้
คาปรึกษา ในการจัดทาหนังสือเล่มนี้ สาเร็จลุล่วงไปด้วยนี้ หวังว่าหนังสือเล่มนี้สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ของโรงเรียน และผู้เรียนเป็นอย่างดีในการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรทรงเป็นประมุข (เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ )
นายวชิระ ฟักอ่อน
ตาแหน่ง พนักงานราชการ ( ครูผู้สอน )
โรงเรียนคลองเจริญราษฎร์
นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน
www.damsanid.blogger.com
๒
สารบัญ
เรื่อง หน้ำ
ส่วนที่ ๑
บทนา
ความเป็นมา ๓
ส่วนที่ ๒
แนวทางการพัฒนา และองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง ๘
โครงงานคุณธรรม (Moral Project) ๙
โครงการพัฒนาโครงงานคุณธรรม ๑๖
ส่วนที่ ๓
แนวทางการพัฒนาคุณธรรมตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา ๒๕
การกาหนดแนวทางการดาเนินงานการพัฒนาคุณธรรม
ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา ๒๕
แนวทางในการดาเนินการกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม
ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา ๒๖
กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมในพระพุทธศาสนา
สร้างจิตอาสา ความดี ไม่ซ่อนเร้น ๒๖
กิจกรรมที่ ๒ โครงงานคุณธรรมสานึกดี ๒๗
กิจกรรมที่ ๓ ค่ายพระ ครู ผู้ปกครอง ๓๓
คำรับรอง ๖๙
นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน
www.damsanid.blogger.com
๓
ส่วนที่ ๑
บทนำ
๑. ควำมเป็นมำ
สถานการณ์และสภาพปัญหาของชาติ ในปัจจุบันเป็นที่ประจักษ์โดยทั่วกันแล้วว่าการ
ที่ประเทศมุ่งพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและการเงินเพื่อสร้างความแข็งแกร่งทางการเงินและการ
คลัง ของประเทศอย่างมากส่งผลให้เกิดการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและความเจริญทางด้านวัตถุ
อย่าง เห็นได้ชัด ทิศทางของการพัฒนานั้นก็มิได้เป็นไปอย่างยั่งยืนและครอบคลุมทั้งด้านคนและ
วัตถุ เพราะการพัฒนาประเทศโดยมุ่งความเจริญทางเศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ที่เน้นเรื่องวัตถุอุปกรณ์อย่างรวดเร็ว โดยขาดความสมดุลกับการพัฒนาทางด้านจิตใจของคนให้มี
คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่ดี ได้ก่อให้เกิดปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคนใน
ประเทศจานวนมาก ผลของการพัฒนา เหล่านี้ จึงเป็นที่มาของปัญหาสังคมปัจจุบันที่จะทวีความ
รุนแรงขึ้นเป็นลาดับ โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นอนาคตของประเทศชาติกาลังประสบ
ปัญหาสังคมหลายด้านที่รุมล้อมคุกคามเด็กเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ทาให้หลงผิดและมี
พฤติกรรมที่เบี่ยงเบน ขาดระเบียบวินัยฯ ละทิ้งค่านิยมความเป็น ไทย และขาดคุณธรรม เป็น
ปัญหาสังคมที่ควรแก้ไขเป็นการเร่งด่วน
จากสภาพสังคมในปัจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและหลากหลายอัน
เนื่องมาจากความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสารต่างๆ แพร่หลาย
อย่างรวดเร็วทาให้แนวคิด วิถีชีวิต ค่านิยมของบุคคลในสังคมเกิดความเปลี่ยนแปลง เบี่ยงเบนไป
จากหลัก ศีลธรรม จริยธรรมที่ดีงามตามหลักธรรมของพุทธศาสนา กลับชื่นชมวัฒนธรรม
ตะวันตก ที่เน้นการ บริโภควัตถุต่างๆ จนเกิดความสับสน ระบบสังคมที่เคยดีงามของไทยได้รับ
ผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ อันสืบเนื่องมาจากการให้ความสาคัญในด้านเศรษฐกิจซึ่งเป็นการ
พัฒนาทางด้านวัตถุมากกว่า พัฒนาสังคมในด้านอื่น ๆ โดยเฉพาะการพัฒนาทางด้านจิตใจจึงทาให้
เกิดปัญหาความย่อหย่อนของคุณธรรมจริยธรรม มีการประพฤติปฏิบัติที่เห็นแก่ประโยชน์
ส่วนตัวมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม ยังส่งผล ไปยังปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมไทย อาทิ เกิด
ปัญหาทุจริตคอรัปชั่น ปัญหายาเสพติด และปัญหาหย่าร้าง ปัญหา นักเรียนตีกัน ปัญหาการรัก
ร่วมเพศ การหลงมัวเมาในอบายมุข การปล่อยตัวปล่อยใจ ขาดระเบียบวินัย ไร้ทิศทางของชีวิต
ฟุ่มเฟือย และอื่น ๆ อีกมากมาย หากปล่อยไว้จะเป็น ผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศด้วย
ผลจากการพัฒนาประเทศในระยะผ่านมาโดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจทาให้เกิดการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจในอัตราสูง มีความก้าวหน้าทางวัตถุและเทคโนโลยีใหม่ ๆ อย่างรวดเร็ว ประกอบ
กับอิทธิพลจากวัฒนธรรมต่างชาติเข้ามามีบทบาทในสังคมไทย ทาให้เกิดปัญหาสังคมที่
สลับซับซ้อน ระบบสังคมที่เคยดีงามของไทยได้รับผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งการพัฒนา
ทางด้านเศรษฐกิจเป็น การพัฒนาทางด้านวัตถุมากกว่าพัฒนาสังคมในด้านอื่นๆ โดยเฉพาะการ
พัฒนาทางด้านจิตใจ จึงทาให้เกิดปัญหาความย่อหย่อนของคุณธรรม จริยธรรม มีการประพฤติ
นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน
www.damsanid.blogger.com
๔
ปฏิบัติที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าส่วนรวม การขาดคุณธรรมจริยธรรม ทาให้เกิดปัญหา
ทุจริตคอรัปชั่น ปัญหายาเสพติด และปัญหาอื่น ๆ อีกมากมาย หากปล่อยไว้จะเป็นผลกระทบต่อ
ความมั่นคงของประเทศด้วย
การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของคนไทยในสังคมให้เป็นคนดี จึงเป็น เรื่องที่จาเป็น
เพราะคน ในสังคมต่างเรียกร้องในเรื่องคุณธรรมจริยธรรมให้เกิดขึ้นในสังคมไทยแม้เป็น เรื่อง
ที่มีความยากเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นกระบวนการที่มีความสลับซับซ้อน และมีองค์ประกอบอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง มากมาย ดังนั้น กระทรวงศึกษาธิการ โดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน ได้พิจารณาถึง ความจาเป็นที่จะต้องดาเนินการ ในเรื่องการเสริมสร้างคุณธรรม
จริยธรรม ซึ่งเป็นเครื่องมือในการกาหนดความสงบสุขของสังคมไทย (ผลงานวิจัย ข้อมูลที่
เกี่ยวข้องต่าง ๆ ในเอกสาร – ๒๔๘๖ ที่แนบ)ได้วิเคราะห์แล้ว พบว่า สังคมใดมีผู้เพียบพร้อม ด้วย
คุณธรรมจริยธรรม สังคมนั้นจะมีแต่ความสงบสุข ในขณะเดียวกัน หากคนในสังคมใดมีความ
บกพร่องด้านจิตใจ ขาดคุณธรรมและจริยธรรม แม้สังคมนั้นจะมีความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ก็หา
ความสงบ สุขได้ยาก สรุปภาพรวมของปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นกับคนในชาติทุกกลุ่มเป้าหมาย นับวัน
จะรุนแรงและทวีคูณมากขึ้น ที่มีผลต่อประเทศและสังคมไทยโดยรวม
รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ส่วนที่ ๕ แนวนโยบายด้าน
ศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม มาตรา ๗๙ รัฐต้องให้ความอุปถัมภ์
และคุ้มครองพระพุทธศาสนา เป็นศาสนาที่ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่นับถือมาช้านานและศาสนา
อื่น ทั้งต้องส่งเสริมความเข้าใจอันดีและความสมานฉันท์ระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา รวมทั้ง
สนับสนุนการนาหลักธรรมของศาสนามาใช้เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ ๑๐
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ ๑๐ มีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาสู่ “สังคมที่มี
ความสุขอย่างยั่งยืน (Green Society) ให้ ความสาคัญกับการสร้างสมดุลของการพัฒนาให้
เกิดขึ้นในทุกมิติ ทั้งมิติ ทางเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเปาหมาย
สูงสุด คือ การนาไปสู่ความอยู่ดีมีสุขของคนไทย และเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนตลอดไป แนวคิด
พื้นฐาน “คนเป็นศูนย์กลางของ การพัฒนา ยึดหลักปรัชญาของ เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ พ อ เ พ ีย ง ” โ ด ย เ ฉ พ า ะ
เ ร ื่อ ง ก า ร เ ส ร ิม ส ร ้า ง ค ุณ ภ า พ ค น ใ ห ้เ ป ็น ค น ด ี ม ีค ุณ ธ ร ร ม ม ีค ว า ม ซ ื่อ ส ัต ย ์ สุจริต ไม่เบียดเบียน
ผู้อื่น เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความอดทน มีความเพียร มีวินัย มีสติ ตั้งอยู่ในความไม่ประมาท มีการ
พัฒนาปัญญาและความรู้อย่างต่อเนื่อง
นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน
www.damsanid.blogger.com
๕
๒.วัตถุประสงค์
๒.๑ เพื่อพัฒนานักเรียนทุกคนให้มีจิตสานึกความเป็นชาติไทย
๒.๒ เพื่อพัฒนานักเรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๒.๓ เพื่อให้นักเรียนสามารถดาเนินงานด้านโรงเรียนสุจริต และโรงเรียนวิถีพุทธ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒.๓ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนนักเรียนทุกคนจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมใน
สถานศึกษา ๓ กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมในพระพุทธศาสนา กิจกรรมโครงงาน
คุณธรรมสานึกดี และกิจกรรมค่ายพระ ครู ผู้ปกครอง พลัง บวร บ้าน วัด โรงเรียน
๓.เป้ำหมำย
๓.๑ เชิงปริมาณ นักเรียนโรงเรียนคลองเจริญราษฎร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต ๒
๓.๒ เชิงคุณภาพ นักเรียนโรงเรียนคลองเจริญราษฎร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต ๒ ทุกคนให้มีจิตสานึกความเป็นไทย ได้อย่างเหมาะสมกับวัย
๔.ควำมคำดหวังที่จะเกิดขึ้น
๔.๑ โรงเรียนคลองเจริญราษฎร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สมุทรปราการ เขต ๒ ดาเนินงานกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมให้กับนักเรียน ๓ กิจกรรมได้
ชัดเจน เป็นรูปธรรม
๔.๒ โรงเรียนขับเคลื่อนดาเนินงานด้านโรงเรียนวิถีพุทธได้อย่างมีประสิทธิภาพตาม
บริบทของโรงเรียน
๔.๓ นักเรียนได้รับการส่งเสริมให้เป็นคนดีด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสม
กับวัย
๔.๔ นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะและเกิดจิตสานึกในความเป็นชาติไทย
๔.๕ นักเรียน มีศีลธรรม ลด ละ เลิก อบายมุข ลดปัญหาสังคมความเสื่อมทราม
๔.๖ การเรียนการสอนง่ายขึ้น ผลสัมฤทธิ์ดีขึ้น
นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน
www.damsanid.blogger.com
๖
๕.เงื่อนไขที่นำไปสู่ควำมสำเร็จ
๕.๑ มีแนวทางการปฏิบัติการที่ชัดเจน เป็นรูปธรรมสาหรับคณะครู และนักเรียนใช้
เป็นนวัตกรรมการปฏิบัติเพื่อให้การดาเนินการเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ
หน่วยงาน
๕.๒ บุคลากรทุกฝ่ายให้ความร่วมมือ ตั้งแต่ครอบครัว ชุมชน สังคม หน่วยงานอื่น
ทั้งภาครัฐและเอกชน ตระหนักถึงความสาคัญในการพัฒนาคุณธรรมตามระบอบประชาธิปไตยใน
สถานศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชน
๕.๓ มีการจัดระบบการติดตาม ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือที่จริงจัง ต่อเนื่องและมี
ประสิทธิภาพเพื่อให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพ
๕.๔ จัดสรรงบประมาณสนับสนุน
๕.๕ มีการเสริมสร้างขวัญ กาลังใจ แก่บุคลากรตามโอกาส
๖. นิยำมศัพท์
๖.๑ จิตสำนึกควำมเป็นไทย ใช้เกณฑ์ของสานักงานส่งเสริมเอกลักษณ์ของชาติ
สานักนายกรัฐมนตรี ได้แก่สิ่งที่แสดงถึงจิตสานึกความเป็นไทย มี ๔ สถาบัน ๑๖ ประเด็น ได้แก่
๑) สถาบันชาติ การดาเนินการเกี่ยวกับประเด็น ๗ ประเด็น
๑.๑) ธงชาติ
๑.๒) การใช้เลขไทย
๑.๓) การใช้คาว่างพุทธศักราช หรือ พ.ศ.
๑.๔) การใช้ภาษาไทย
๑.๕) สัญลักษณ์ประจาชาติไทย (ช้างไทย ดอกราชพฤกษ์ ศาลาไทย)
๑.๖) การใช้ผ้าไทย
๑.๗) เพลงชาติไทย
๒) สถาบันศาสนา ดาเนินการเกี่ยวกับ ประเด็น ๓ ประเด็น
๒.๑) การไหว้
๒.๒) การใช้โต๊ะหมู่บูชา
๒.๓) การอยู่ร่วมกันของ ๕ ศาสนา (ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม
ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิก วันสาคัญทางศาสนา
๓) สถาบันพระมหากษัตริย์ ดาเนินการเกี่ยวกับประเด็น ๔ ประเด็น
๓.๑) เพลงสรรเสริญพระบารมี
๓.๒) เพลงพระราชนิพนธ์
นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน
www.damsanid.blogger.com
๗
๓.๓) วันสาคัญของพระมหากษัตริย์
๓.๔) ความจงรักภักดี
๔) การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข ดาเนินการเกี่ยวกับประเด็น ๔ ประเด็น
๔.๑) การเสริมสร้างวินัยในการจราจร
๔.๒) การเสริมสร้างวินัยในการเข้าคิวรับบริการต่าง ๆ
๔.๓) การเสริมสร้างความเป็นผู้นา
๔.๔) การเสริมสร้างการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
๖.๒ โครงงำนคุณธรรมสำนึกดี (CSR=Corporate Social Responsibility) เป็น
โครงงานความดีที่นักเรียนทาเพื่อพัฒนาหรือแก้ปัญหาในสิ่งที่ไม่พึงประสงค์หรือเป็นโครงงานที่
นักเรียนทาโดยบูรณาการความดี ในการทาโครงงาน ซึ่งกระบวนการทาโครงงานเกิดจากความคิด
สร้างสรรค์ของนักเรียนที่ทาโครงงาน จัดเป็นโครงงานคุณธรรมสานึกดี CSR โดยจาแนก
โครงงานคุณธรรม ๔ รูปแบบ ได้แก่
๑) โครงงานสื่อคุณธรรม
๒) โครงงานวิทย์-คุณธรรม
๓) โครงงานธุรกิจคุณธรรม
๔) โครงงานเสริมสร้างคุณธรรม
๖.๓ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์อย่างน้อย ๘ ประการ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้แก่
๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒) ซื่อสัตย์สุจริต
๓) มีวินัย
๔) ใฝ่เรียนรู้
๕) อยู่อย่างพอเพียง
๖) มุ่งมั่นในการทางาน
๗) รักความเป็นไทย
๘) มีจิตสาธารณะ
นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน
www.damsanid.blogger.com
๘
ส่วนที่ ๒
แนวทำงกำรพัฒนำและองค์ควำมรู้ที่เกี่ยวข้อง
ประเทศไทยมีสถาบันหลักของชาติไทย ประกอบด้วย สถาบันชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย์การธารงส่งเสริมให้ประชาชนในชาติเกิดจิตสานึกและตระหนักถึงความสาคัญของ
สถาบันหลัก ทั้ง ๓ สถาบัน ซึ่งเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชาติ จึงเป็นหัวใจหลักที่จะกระตุ้นจิต
สานึกของพี่น้องประชาชนของชาติด้วยการดาเนินงานมิติศาสนาภายใต้สถาบันหลัก ๓ สถาบัน
การดาเนินงานให้ประชาชนในชาติร่วมกิจกรรมที่ผสมผสานกันอย่างแนบแน่นและมีความผูกพัน
กัน โดยมีหลักธรรมทางศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยว และมีสถาบันชาติ และสถาบัน
พระมหากษัตริย์เป็นองค์ประกอบหลักของกิจกรรม
แนวทำงกำรพัฒนำ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนดหลักการปฏิรูปการศึกษาใน
ทศวรรษที่สอง ๓ เป้าหมาย ๔ กรอบแนวทาง ได้แก่
เป้ำหมำย
๑. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรู้ของคนไทย
๒. เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
๓. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ของสังคมในการบริหารและจัดการศึกษา
กรอบแนวทำง
๑. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่
๒. พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่
๓. พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่
๔. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่
วิสัยทัศน์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นพลังขับเคลื่อนการศึกษาขั้น
พื้นฐานของประเทศไทย ให้เป็นผู้นาหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเชียตะวนออกเฉียงใต้
พันธกิจ พัฒนาและส่งเสริมการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ประชากรวัยเรียนทุกคน ได้รับ
การศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลที่มีความรู้คู่คุณธรรม มีความสามารถ
ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพระดับสากล
นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน
www.damsanid.blogger.com
๙
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนกำหนดเป็นกลยุทธ์ในกำรพัฒนำ
กลยุทธ์ที่ ๒ ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
เป้ำหมำยและตัวชี้วัดควำมสำเร็จ
กลยุทธ์ที่ ๒ ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
ที่ เป้ำหมำยควำมสำเร็จ ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ
๑ ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาให้มี
คุณธรรม จิตสานึกความเป็นไทย
จานวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มี
จิตสานึก ความเป็นไทย ยึดมั่นใน
สถาบันชาติศาสนา พระมหากษัตริย์และ
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตาม
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า
ร้อยละ ๘๐
ร้อยละของผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้น
พื้นฐาน
๓ โรงเรียนทุกโรงเรียนจัดกิจกรรม
เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม ความ
สานึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิต
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
-จานวนโรงเรียนที่จัดกิจกรรมเสริมสร้าง
คุณธรรมความสานึกในความเป็นชาติไทย
และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
-จานวนโรงเรียนที่จัดกิจกรรมตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็น
สถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ ๑๐,๐๐๐
แห่ง
๔ ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาทักษะการ
ดารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
จานวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะการ
ดารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงำนคุณธรรม (Moral Project)
โครงงำนคุณธรรมคืออะไร?
โครงงานคุณธรรม หรือโครงงานความดี เป็นนวัตกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการทาความดี
มีคุณธรรมแบบเชิงรุก โดยให้ผู้เรียนที่เป็นเด็กและเยาวชนเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของกิจกรรมการ
เรียนรู้นี้เอง ผ่านเทคนิควิธีการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Approach) โดยประเด็นที่เลือก
ทาโครงงานนั้นเกิดขึ้นมาจากความสนใจและความคิดริเริ่มของผู้เรียนเอง เน้นการเรียนรู้ผ่านการ
ปฏิบัติงานจริง ด้วยความพากเพียรพยายามอย่างจดจ่อต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาที่ยาวนาน
พอสมควร (ต้องทางานจริงไม่น้อยกว่า ๒ เดือน) ในลักษณะวิจัยปฏิบัติการ (action research)
นาไปสู่การแก้ไขปัญหาด้านความเสื่อมทรามทางศีลธรรม และส่งเสริมการบ่มเพาะความดีมี
นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน
www.damsanid.blogger.com
๑๐
คุณธรรมอย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบ รวมทั้งการขยายความมีส่วนร่วมไปสู่บุคคลต่างๆ ใน
สถานศึกษาและชุมชนของตนเองหรือชุมชนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
กำรเรียนรู้ที่ไม่จำกัด EDUCATION FOR ALL
ในเมื่อโครงงานคุณธรรมเป็นกระบวนการพัฒนาคุณธรรมและความดี โครงงานคุณธรรม
นี้ จึงมีลักษณะที่เปิดกว้างสาหรับทุกคน โดยไม่มีข้อจากัดว่าเรียนวิชาสุขศึกษา พลศึกษา หรือ
วิชาการงานพื้นฐานอาชีพ และเทคโนโลยี เป็นนักเรียนประถมหรือมัธยม เพราะคุณธรรมและ
ความดีงามนั้น เป็นเรื่องที่มีคุณค่าที่ควรเข้าถึงของคนทุกคนนั่นเอง
ไม่จากัดจานวนคน เพศ วัย สถานะ ระดับช่วงชั้นหรือสายวิชาที่เรียน แต่สนับสนุนให้ทุก
คนมีส่วนร่วมให้ได้มากที่สุด แม้ว่าจะมีผู้รับผิดชอบโครงงานเป็นกลุ่มเริ่มต้น ๕-๑๐ คนก็ตาม
แต่โครงงานก็กาหนดเงื่อนไขให้ผู้รับผิดชอบนี้ ต้องคิดวางแผนและดาเนินงานเพื่อขยายหาแนว
ร่วมต่อไปในรูปของเครือข่ายแกนนา สมาชิก หรือกลุ่มเป้าหมาย และต้องสร้างความมีส่วนร่วมใน
ทุกภาคส่วนให้มากที่สุด ทั้งครอบครัว(บ้าน) ศาสนา(วัด) และสถานศึกษา(โรงเรียน) โครงงาน
คุณธรรมไม่มีกติกาควบคุมจานวนคนที่มาช่วยทาโครงงาน หากใครอยากมาช่วย อยากเข้ามาร่วม
ทางาน ก็เข้ามาช่วยเลย โครงงานใดยิ่งมีคนมาช่วยร่วมมือด้วยมากเท่าไร โครงงานนั้นยิ่งประสบ
ความสาเร็จ เพราะเท่ากับว่ามีคนมาร่วมทาความดีเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น
องค์รวมแห่งควำมดี ที่ไร้ขีดจำกัด
ไม่แยกเรื่อง ไม่แยกส่วน แต่ทุกเรื่องสาระสามารถบูรณาการเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ
โครงงานนี้ได้ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นวิชาการด้านใดหรือปัญหาของใคร นาองค์ความรู้ทุกด้าน ทุก
วิชา ทุกสาระการเรียนรู้ และทุกทักษะที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นศิลปะ-ดนตรี-กีฬา สามารถนามา
ปรับบูรณาการใช้ในการทาความดี ทาการงาน และการสื่อสารประชาสัมพันธ์โครงงานได้ทั้งสิ้น
ไม่ติดขัดที่งบประมาณ เพราะการทาโครงงานด้านความดีหรือคุณธรรมนี้ไม่ต้องลงทุน
ด้วยเม็ดเงินมาก บางโครงงานลงทุนเพียงแรงงานจากสองมือที่คอยเก็บขยะ และเมื่อแยกขยะขาย
ก็ได้ทุนมาเพิ่มอีก บางโครงงานใช้สองมือน้อยๆ บีบนวดให้พ่อแม่ปู่ย่าตายายในชุมชน บาง
โครงงานมาจากพฤติกรรมช่วยกันประหยัดน้าประหยัดไฟ บางโครงงานมาจากการยิ้มไหว้
ทักทาย ตัวอย่างของโครงงานในลักษณะเช่นนี้มีอยู่มากมายที่ลงทุนน้อยแต่ได้ผลและมีคุณค่ามาก
แต่อย่างไรก็ตาม ก็ต้องมีการลงทุนเม็ดเงินในเรื่องคุณธรรมบ้าง ไม่ใช่ปากบอกว่าเรื่องคุณธรรม
ความดีสาคัญแต่พฤติกรรมไม่แสดงออกว่าให้ความสาคัญเลย
ดังนั้นโครงงานคุณธรรม จึงเป็น WIN-WIN SITUATION กล่าวคือ ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
และทุกฝ่ายก็ได้รับประโยชน์สุขร่วมกันทั้งหมด กล่าวคือ ปัญหาต่างๆ ในโรงเรียน และชุมชน
ได้รับการพิจารณาและแก้ไข เด็กและเยาวชนได้รับการปลูกฝังบ่มเพาะซึมซับและเรียนรู้คุณธรรม
ความดีงามต่างๆ ด้วยความรู้สึกเป็นเจ้าของ เด็กและเยาวชนได้ฝึกฝนและพัฒนาทักษะการคิด
วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหา คิดเชิงระบบ คิดประเมินค่า ฯลฯ ผ่านการทาโครงงานอย่าง
เป็นวิทยาศาสตร์ เด็กและเยาวชนได้รับการฝึกทักษะการทางานจริง การทางานเป็นระบบ
ความรับผิดชอบต่องาน และได้รับการฝึกทักษะทางสังคม ผ่านกระบวนการทางานเป็นกลุ่มใหญ่
ในระยะเวลายาวนานพอสมควร และเมื่อโครงงานนั้นๆ ได้มีการขยายผลไปถึงการแก้ปัญหาใน
ครอบครัว วัด ชุมชน พ่อแม่ผู้ปกครอง พระสงฆ์ และคนในชุมชนก็จะได้รับอานิสงส์แห่ง
ประโยชน์สุขนั้นด้วย ผู้บริหารและคณะครูอาจารย์ก็จะเบาใจสบายใจไม่ต้องกังวลเครียดกับ
ปัญหาที่สั่งสมไว้มากมายโดยไม่มีการแก้ไข แต่ปัญหาเหล่านั้นกลับแปรเปลี่ยนเป็นผลงานที่มี
นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน
www.damsanid.blogger.com
๑๑
ความโดดเด่นและน่าชื่นชมแทน นอกจากนี้ ผู้บริหาร ครูอาจารย์ และศึกษานิเทศก์ ยังสามารถนา
ข้อมูลและผลจากการทาโครงงานคุณธรรมมาทาการวิจัยให้เป็นผลงานที่มีคุณค่า ได้อย่างมี
คุณภาพและเกิดประโยชน์แท้จริงได้อีกด้วย
โครงงำนคุณธรรม
กำรทำดีเชิงรุกพร้อมกับกำรเรียนรู้ชีวิตอย่ำงเป็นวิทยำศำสตร์
โครงงานคุณธรรมนี้ถูกออกแบบมาเพื่อให้ตอบโจทย์ คาท้าทายที่ว่าเด็กไทยไม่ใฝ่ดี ใฝ่ต่า
ทาชั่วมั่วเพศเสพยา ละอายการทาดี ทางานเป็นทีมไม่เป็น คิดวิเคราะห์ไม่ได้ โดยการสร้างเงื่อนไข
ให้เขาใช้ปัญหาจริงที่ต้องเผชิญอยู่ทุกวัน ไม่ว่าในโรงเรียนหรือในครอบครัวในชุมชน นามา
ตรวจสอบ วิเคราะห์ วางแผน แสวงหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน ซึ่งไม่เพียงเข้าใจปัญหานอกตัว
เท่านั้น นี่ยังเป็นโอกาสให้เด็กๆ ได้เชื่อมโยงสู่ตนเอง เพราะคุณสมบัติของโครงงานคุณธรรมนั้น
พิเศษตรงที่เป็นเรื่องในชีวิตจริง เป็นประเด็นปัญหาจริงๆ ในชีวิต ซึ่งทุกคนมีส่วนร่วม เกี่ยวข้อง
สัมพันธ์อยู่ด้วยกันนั่นเอง แต่อาจไม่รู้ตัวก็ได้ ดังนั้น ด้วยกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ จึงพบ
ทางออกของปัญหาด้วยปัญญา โครงงานคุณธรรมจึงเป็นกระบวนการที่นาพาให้เด็กไทยสามารถ
ทาโครงงานจริงในชีวิตด้วยวิธีคิดอย่างเป็นวิทยาศาสตร์นั่นเอง
โครงงานคุณธรรมนั้น เน้นการนาปัญหาในชีวิตจริงมาเรียนรู้ผ่านการทาโครงงาน อันจะ
เป็นการเรียนรู้และพัฒนาทักษะชีวิตด้วยวิธีคิดอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ หรือ ด้วยกระบวนการทาง
ปัญญา อันพอจะสรุปได้เป็นลาดับขั้นดังนี้
๑) สังเกตปัญหา ระดมความคิด เลือก ระบุ วิเคราะห์ เชื่อมโยง “ปัญหำ-สำเหตุ” ได้
ชัดเจน เห็นความเชื่อมโยงเป็นเหตุเป็นปัจจัยเกี่ยวเนื่องกันได้ตลอดสาย (จาก “ภายนอก” สู่
“ภายใน” ชีวิตจิตใจของตนเอง)
๒) คาดการณ์และระบุ “เป้ำหมำย” ของการแก้ปัญหาให้ชัด ทั้งเป้าหมายในตัวคน
(พฤติกรรม จิตใจ ปัญญา ที่คาดหวัง) เป้าหมายนอกตัวคน (สิ่งแวดล้อม-กายภาพ) เป้าหมายเชิง
ปริมาณ เป้าหมายเชิงคุณภาพ เป้าหมายระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว และเมื่อรู้จุดหมาย
ปลายทางชัด การกาหนดทิศทางและการเดินทางก็จะชัดไปด้วย
๓) วางแผนและออกแบบ “ทำงแก้” หรือวิธีการทดลองอย่างมีหลักเกณฑ์ ที่แก้ปัญหาได้
ตรงจุด (คือแก้ที่สาเหตุ) และถึงพร้อมที่จะบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ได้
๔) ลงมือทำ พร้อมกับเรียนรู้ แสวงหา ฝึกฝน “คุณธรรมจากภายในตน” ไปสู่ “การ
แก้ปัญหาภายนอก” ทั้งการเรียนรู้ส่วนบุคคลจาเพาะตน และเรียนรู้ร่วมกันผ่านกระบวนการกลุ่ม
๕) ลงมือปฏิบัติการอย่างเป็นระบบ มีการติดตำมและเก็บบันทึกข้อมูล ทาตาม
แผนงานอย่างยืดหยุ่น มุ่งมั่นทุ่มเทแต่ไม่ยึดติดมากเกินไป เรียนรู้อย่างตื่นตัวเท่าทันพร้อม
ปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขสูงสุดแม้มีข้อจากัด
มากมาย
๖) ประมวลผล-สรุปผล ประเมินผลการบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ การ
ประเมินตนเอง การย้อนพิจารณาเพื่อปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง และการต่อยอดขยายผล
๗) นำเสนอ สื่อสำร ข้อมูลเรื่องราวการทาโครงงานผลของการทางาน สู่สาธารณะ อย่าง
มีประสิทธิภาพเพื่อเป็นการแพร่ขยายความดี-สื่อสารความดี บอกต่อองค์ความรู้ในการแก้ปัญหา
ต่างๆ เผยแพร่วิธีการในการทาความดี อันจะเป็นการเสริมสร้างค่านิยมการทาความดี สร้างแรง
บันดาลใจในการทาความดีให้กับผู้อื่นต่อๆ ไป และเป็นการสืบต่อความดีต่อไปได้ไม่สิ้นสุด
นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน
www.damsanid.blogger.com
๑๒
แก่นกำรเรียนรู้คือ “ร่วมกัน ทำดี อย่ำงมีปัญญำ”
กระบวนการเรียนรู้ที่ดีและสมบูรณ์ของโครงงานคุณธรรมนั้น จะต้องเริ่มต้นจากการ
สร้างควำมเป็นกัลยำณมิตรต่อกันก่อน อันเป็นปัจจัยต้นเริ่มที่สาคัญที่สุด จึงต้องออกแบบและ
จัดวางเงื่อนไขให้เกิดการรวมกลุ่มกันของผู้รับผิดชอบโครงงานจานวน ๕-๑๐ คน และที่ปรึกษา
อีก ๓ คน โดยมีองค์ประกอบโครงสร้างและความสัมพันธ์ในกลุ่ม ให้สามารถดึงด้านบวกของแต่
ละคนออกมาหากันให้ได้มากที่สุด ซึ่งก็จะทาให้เกิดการใฝ่ดีคิดดีและทำดีร่วมกันออกมาได้อย่าง
เต็มที่เต็มตามศักยภาพของแต่ละคน เกิดการซึมซับความดี พร้อมๆ กับมีการเรียนรู้หรือมี
กระบวนกำรทำงปัญญำเกิดขึ้นตลอดสาย ตั้งแต่เริ่มต้นระดมความคิด การสังเกตสารวจสภาพ
ปัญหา ปัญญาตระหนักรู้ในสถานการณ์หรือสภาพปัญหาและสืบสาวถึงสาเหตุ ปัญญาค้นคว้าหา
ความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เพิ่มเติม การรวบรวมประมวลข้อมูล ปัญญาคิดวิเคราะห์คิด
สังเคราะห์ ปัญญาคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การทาความคิดให้ชัด และเป็นระบบ การคิดวางแผนงาน
การร่างโครงงาน ปัญญาการปรับประยุกต์จากนามธรรมให้เป็นรูปธรรม ปัญญาการติดตาม
ดาเนินงานปรับปรุงงาน ปัญญาการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ปัญญาการประเมินผลสรุปผล และ
ปัญญาการนาเสนอ ตลอดจนสติปัญญาที่จะเท่าทันและสามารถวางใจต่อโลกธรรมทั้ง ๘ ที่มา
ถูกต้องสัมผัสใจได้อย่างฉลาดและเป็นกุศลได้ในที่สุด
กระบวนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นภายใต้โครงงานคุณธรรมฯนี้ เป็นกระบวนการที่พัฒนาและ
ปรับประยุกต์มาจากกระบวนการเรียนรู้วิถีพุทธ ซึ่งใช้แบบจาลองของวงรอบ ๑-๒-๓-๔ ที่
หมุนเวียนรอบพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่อง อันประกอบด้วย (๑) กระบวนการกัลยาณมิตร, (๒) การ
เปิดการเรียนรู้ภายใน (ปรโตโฆสะ สู่ สัทธาและโยนิโสมนสิการ), (๓) กระบวนการเรียนรู้อย่าง
เป็นองค์รวม (ตามหลักไตรสิกขา-ภาวนา๔) และ (๔) กระบวนการพัฒนาแบบเวียนรอบต่อเนื่อง
จึงทาให้กระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาคุณธรรมของผู้เรียนเกิดขึ้นควบคู่กันไป ดังแผนผังของ
แบบจาลอง ด้านล่างนี้
นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน
www.damsanid.blogger.com
๑๓
แบบจำลองกำรศึกษำ ๑-๒-๓-๔ นี้อาจเรียกชื่อเป็นธรรมอีกหมวดหนึ่งได้ว่า “กระบวนกำร ๓ ป
ต่อเนื่อง”
ลูกศร A : ปริยัติ, ลูกศร B : ปฏิบัติ, ลูกศร C : ปฏิเวธ, ลูกศร D : ต่อเนื่อง
(๑) กระบวนการกัลยำณมิตร
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนต้นเริ่มที่สาคัญที่สุด โดยจัดวางเงื่อนไขให้เกิดการนาพาให้บุคคล
ต่างๆ ซึ่งมีตั้งแต่กลุ่มเพื่อนใกล้ตัว ครู ผู้บริหาร พระสงฆ์ พ่อแม่ จนถึงองค์กรที่ให้การ
สนับสนุนมารวมกลุ่มกันโดยดึงด้านบวกของแต่ละคนแต่ละฝ่ายออกมาหากันให้ได้มากที่สุด ให้แต่
ละคนมาสวมบทบาทเป็นกัลยาณมิตรต่อกัน กัลยาณมิตรนั้นมีความสาคัญอย่างมากที่จะช่วย
กระตุ้นเตือน ช่วยสร้างแรงบันดาลใจ ช่วยสร้างศรัทธาในการทาความดี ช่วยสนับสนุนให้
โครงงานดาเนินไปได้ด้วยดี ขั้นตอนนี้จึงสาคัญมากที่สุดที่จะทาให้เริ่มต้นการเรียนรู้ได้และดาเนิน
ต่อไปจนถึงปลายทางแห่งความสาเร็จ โดยกัลยาณมิตรจะทาหน้าที่เป็นผู้ชักจูงปัจจัยภายนอกมา
กระตุ้นตัวเปิดการเรียนรู้ภายใน
(๒) การเปิดกำรเรียนรู้ภายใน (ปรโตโฆสะ สู่ สัทธาและโยนิโสมนสิการ) (ลูกศร A)
การเปิดกำรเรียนรู้ภายใน เป็นขั้นตอนที่สาคัญมากอีกขั้นตอนหนึ่ง ที่เสมือนเป็นกำรออก
สตำร์ทหรือจุดติดเครื่องยนต์แห่งการเรียนรู้ภายในตัวมนุษย์ ซึ่งมีองค์ธรรมเริ่มต้นแห่งการ
เรียนรู้สาคัญสองประการด้วยกันคือ “สัทธำ” (ความสนใจใฝ่รู้, ความเชื่อใจ เชื่อถือ และความ
เชื่อมั่น) และ “โยนิโสมนสิกำร” (พิจารณาอย่างแยบคาย – คิดเป็น – น้อมมาใส่ใจไปสู่กุศลได้)
การเปิดกำรเรียนรู้ภายใน จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยกัลยาณมิตรเตรียมการและเลือกใช้
ปัจจัยภายนอกมากระตุ้นปัจจัยภายในอย่างพอเหมาะพอดีแก่ผู้เรียนและสถานการณ์แวดล้อม
ปัจจัยภายนอกดังกล่าวนั้น เรียกว่า “ปรโตโฆสะ” ซึ่งมีหลายลักษณะ ตั้งแต่คาสอน คาบอกกล่าว
หนังสือ ตารา สื่อต่างๆ และที่ดีที่สุด คือ “เสียงของครู” เพราะเป็นเสียงที่จะสร้างศรัทธาให้
เกิดขึ้นในใจ เป็นเสียงที่จะช่วยเตือนจิตสะกิดใจให้ฉุกคิดหรือตระหนักสานึก เป็นเสียงที่เป็น
กาลังใจให้เกิดการเรียนรู้ภายในตนขึ้น มั่นใจขึ้น จนเข้าใจถึงคุณค่า ถึงประโยชน์ของการทาความดี
การสร้างคุณธรรมจริยธรรมขึ้นในตน เมื่อเข้าใจถึงประโยชน์ จึงเกิดฉันทะความพอใจใคร่ที่จะลง
มือกระทาด้วยตนเองโดยไม่ลังเล ดังตัวอย่างของ เสียงของครู ในโครงการนี้ที่สาคัญที่สุด คือ
พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ชาวไทยทุกคนล้วนมีศรัทธาอย่างเต็มเปี่ยม เมื่อ
โครงการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติเลือกมาใช้เป็นเสียงบอกกล่าว (ปรโตโฆสะ)
ที่ย้าชัดเจนว่า “เยำวชนไทย ทำดี ถวำยในหลวง” จึงเท่ากับเป็นเสียงบอกที่ให้แนวทางว่า
ศรัทธาที่เกิดขึ้นนั้นควรนาไปสู่การตอบแทนคุณพระองค์ท่าน ในโอกาสครั้งนี้มิใช่สิ่งใดอื่น แต่เป็น
การทำดีถวายพระองค์ท่านนั่นเอง
เมื่อสัทธำคือความสนใจใฝ่รู้เกิดขึ้นก็จะช่วยไปกระตุ้นตัวเปิดการเรียนรู้ภายในอีกอย่าง
หนึ่ง ก็คือกระบวนการคิดพิจารณาอย่างแยบคาย หรือที่เรียกว่า โยนิโสมนสิกำร ให้เริ่มต้นและ
ทางานไปด้วยกัน เริ่มตั้งแต่เยาวชนสนใจใฝ่รู้และคิดพิจารณาว่าจะทาดีอะไรถวายในหลวง ซึ่งตาม
เงื่อนไขก็คือ การกระทานั้นควรตอบโจทย์หรือแก้ปัญหาจริงที่ทุกคนหรือส่วนใหญ่กาลังเผชิญอยู่
โดยช่วยกันระบุปัญหาให้ชัดเจน ค้นหาสาเหตุที่มาของปัญหานั้นๆ สืบสาว ปัจจัยแวดล้อมที่
เกี่ยวข้อง ทั้งบุคคล สถานการณ์ สถานที่ ฯลฯ เริ่มวิเคราะห์และกาหนดเป้าหมายของการแก้ปัญหา
พิจารณาหาหนทางปฏิบัติ เพื่อนาไปสู่การแก้ปัญหาอย่างเป็นจริง ทั้งหมดนี้เป็นวิธีคิดพิจารณา
แบบอริยสัจ ๔ นั่นเอง
นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน
www.damsanid.blogger.com
๑๔
(๓) กระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม ตามหลักไตรสิกขำ (ลูกศร B และ C)
กระบวนการไตรสิกขำ เป็นกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม ในด้านพฤติกรรม(ศีล)
ด้านจิตใจ(สมาธิ) ด้านปัญญา(ปัญญา) ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ต้องจัดเตรียมเหตุปัจจัยให้เอื้อต่อการ
กระทาหรือปฏิบัติงานจริง โครงการนี้จึงเน้นให้มีช่วงระยะเวลาดาเนินงานนาน เพื่อให้เพียงพอต่อ
การค่อยๆ สะสมการเรียนรู้ สั่งสมและบ่มเพาะคุณความดีในจิตใจ และการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม จากประสบการณ์ที่พบจากการทาโครงงานคุณธรรมมา ๒ ปีนั้น ทาให้พบว่า อย่าง
น้อยต้องมีเวลาประมาณ ๒ เดือนสาหรับการปฏิบัติงานจริงๆ (เฉพาะช่วงเวลาทางานจริง ไม่รวม
ช่วงทางานเอกสาร)
ศีล เป็นการเรียนรู้ด้านพฤติกรรมหรือการเรียนรู้ทักษะทางสังคมที่จะทางานร่วมกัน
เป็นกลุ่มร่วมกับผู้อื่นอย่างเอื้ออาทร พร้อมที่จะให้กาลังใจและให้อภัยแก่กัน การระมัดระวัง
คาพูด-การกระทา ที่จะไม่เบียดเบียนใคร หากมีการกระทบกระทั่งกันบ้างก็มีศีลกากับที่จะไม่ให้
เกินเลยไปจนกระทบกระแทกให้แตกทาลายความสัมพันธ์ระหว่างกัน การสารวมระวังทั้งทาง
คาพูดและการกระทา การยอมรับสานึกผิด การให้อภัยกัน ก่อให้เกิดพัฒนาการทางด้าน
พฤติกรรมไม่ให้เป็นมลภาวะเบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ก็จะทาให้การทางานกลุ่มเกิดขึ้นไปได้
ตลอดรอดฝั่ง
สมำธิ เป็นการเรียนรู้ทางด้านจิตใจ ที่ต้องเผชิญสถานการณ์จริงจากการทางาน ทาให้
ต้องมีความมุ่งมั่นตั้งใจ ความขยันหมั่นเพียรกระทาอย่างต่อเนื่องไม่ท้อถอย มีความอดทน ทั้งต่อ
ภาระงาน และทั้งต่อคนและสถานการณ์ที่เข้ามา นอกจากนี้ยังหมายถึงการเจริญงอกงามของคุณ
ความดีหรือคุณธรรมในจิตใจ อันนาไปสู่ภาวะความสุขสดชื่น แจ่มใสผ่องใสในจิตใจ ตั้งมั่นเป็น
สมาธิ
ปัญญำเป็นการเรียนรู้ที่มาจากกระบวนการสังเกต สารวจ การคิดการพิจารณาไตร่ตรอง
การตัดสินใจอย่างเป็นเหตุเป็นผลเป็นระบบ นาไปสู่ภาวะที่ออกจากปัญหา นาออกจากทุกข์
นาไปสู่ภาวะที่ดีงามเป็นบุญกุศล การเรียนรู้ทางปัญญาเริ่มจากการเรียนความรู้จากหลักธรรม
คาสอน ข้อมูล ข้อเท็จจริง การจดจา การจับประเด็น การแยกแยะ การจัดหมวดหมู่ อันเป็น
ปัญญาขั้นรู้จำ และพัฒนาขึ้นไปสู่ปัญญาขั้นรู้คิด อันเกิดจากการฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์คิด
สังเคราะห์การคิดเชื่อมโยงเหตุปัจจัย การคิดพิจารณาคุณค่าแท้คุณค่าเทียมเป็นต้น และพัฒนา
ไปสู่ปัญญาขั้นรู้แจ้งที่ทาให้แสวงหาทางออกจากปัญหาได้ ตลอดจนปัญญาที่ก่อเกิดจากการลงมือ
ปฏิบัติเพื่อบรรลุผลของการแก้ไขปัญหาหรือดับทุกข์ได้ (เผด็จศึกกับปัญหา) และปัญญาติดตาม
ประเมินผลอย่างเป็นระบบเพื่อปรับปรุงให้ดีขึ้น นาสู่การสั่งสมเป็นประสบการณ์และปรีชาญาณรู้
แจ้งในเรื่องนั้นๆ
(๔) ขั้นกำรพัฒนำแบบเวียนรอบต่อเนื่อง (ภำวนำ๔ สู่ กัลยำณมิตร) (ลูกศร D)
เมื่อผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียนรู้ใน ๓ ขั้นตอนแรกมาซ้าแล้วซ้าอีก เป็นเวลาต่อเนื่องกัน
ในช่วงเวลาที่เหมาะสม (กรณีทาโครงงานคุณธรรม ต้องทางานจริงไม่น้อยกว่า ๒ เดือน) ผู้เรียน
จะเกิดพัฒนาการในตนเองอย่างเป็นองค์รวมทุกด้าน ทั้ง พัฒนาการทางพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับ
ร่างกายและกายภาพแวดล้อม (กำยภำวนำ) พัฒนาการทางสังคม (ศีลภำวนำ) พัฒนาการทาง
จิตใจ (จิตภำวนำ) และพัฒนาการทางปัญญา (ปัญญำภำวนำ)
หากมีพัฒนาการทั้ง ๔ ด้านพร้อม (กายภาวนา ศีลภาวนา จิตตภาวนา ปัญญาภาวนา) ก็จะ
เป็นผู้ที่พร้อมที่จะมีบทบาทเป็นกัลยาณมิตรให้กับผู้อื่นได้ต่อไป ซึ่งก็จะเท่ากับว่าเป็นผู้เริ่มต้น
ขับเคลื่อนวงจรแห่งการเรียนรู้วิถีพุทธนี้สืบไป ดังเช่น ข้อเท็จจริงที่พบว่าแทบทุกโครงงานมักจะ
สรุปบทเรียนสาคัญว่า การจะไปเปลี่ยนแปลงผู้อื่น ต้องเริ่มจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ
นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน
www.damsanid.blogger.com
๑๕
ตนเองก่อน (กายภาวนา และ ศีลภาวนา) และระหว่างที่เขาได้เรียนรู้เพื่อเปลี่ยนแปลงตนเอง ก็ทา
ให้เขาได้เกิดการเรียนรู้คุณความดีหรือคุณธรรมจากภายใน (จิตภาวนา) ที่ค่อยๆ ซึมซับ และสั่ง
สมเป็นประสบการณ์เป็นปัญญาญาณหยั่งรู้เชี่ยวชาญในเรื่องที่ตนเองทานั้น(ปัญญาภาวนา) เขาก็
จะพัฒนามาสู่ความเป็นกัลยำณมิตรที่สมบูรณ์ขึ้น อันจะก่อเกิดเป็นวงจรขับเคลื่อนที่ทรงพลังให้
เกิดการสืบเนื่องไปสู่ขั้นต่อๆ ไป นาพาให้เพื่อนคนอื่นๆ ได้เกิด การเรียนรู้และพัฒนาต่อเนื่อง
ขยายวงออกไปได้ไม่สิ้นสุด
ขั้นตอนในกำรทำโครงงำนคุณธรรม
ขั้นตอนที่ ๑ กำรตระหนักรู้และพิจำรณำเลือกหัวเรื่องหรือประเด็นปัญหำ
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุด ที่ต้องอาศัยภาวการณ์ตระหนักรู้ในสถานการณ์หรือ
สภาพปัญหาด้วยสติปัญญา หรือภาวะที่มีแรงบันดาลใจที่จะทาสิ่งดีงามอะไรบางอย่างที่เป็นความ
ฝันหรืออุดมคติ ซึ่งอาจจะเกิดจากผู้เรียนเองโดยตรง หรืออาจจะเกิดจากการแนะนาหรือชี้ชวน
จากครูที่ปรึกษาหรือผู้อื่นที่เป็นเงื่อนไขภายนอก มากระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักรู้หรือแรง
บันดาลใจขึ้นก็ได้
การสร้างความตระหนักรู้นั้นเป็นขั้นตอนที่ยาก เพราะโดยทั่วไปสภาพการณ์ที่เป็นปัญหา
ต่างๆ นั้นมักจะเกิดขึ้นอยู่แล้ว แต่มักจะถูกละเลยมองข้าม หรือชาชินเคยชินจนมองไม่เห็นปัญหา
หรือไม่รู้สึกว่าตนเองมีส่วนเกี่ยวข้องกับปัญหานั้นอย่างไรในทานอง “เส้นผมบังภูเขา” หรือ “ปลา
อยู่ในน้ามองไม่เห็นน้า” จึงต้องอาศัยเหตุปัจจัยภายนอก จากกัลยาณมิตรที่กระตุ้นปัจจัยภายใน
ใจของผู้เรียนได้ถูกตรงกับจริตนิสัย ในเงื่อนไขสถานการณ์แวดล้อม และจังหวะเวลาที่พอเหมาะ
พอดี จนเกิดฉันทะร่วมกันที่จะรวมกันเป็นกลุ่มเพื่อดาเนินการโครงงาน
กิจกรรมแนะนำสำหรับครูที่ปรึกษำ
ครูที่ปรึกษาอาจวางเงื่อนไขเบื้องต้นจากการให้ผู้เรียนสารวจและสังเกตสภาพปัญหาต่างๆ
จากเพื่อนนักเรียน ปัญหาที่พบเห็นในห้องเรียน โรงเรียน วัด และชุมชน แล้วช่วยกันระดม
ความคิดต่อปัญหาที่เกิดขึ้นให้ได้มากที่สุด แล้วมาอภิปรายกันในกลุ่มใหญ่หรือกลุ่มย่อยก็ได้ (อาจ
ทาให้สนุกในลักษณะโต้วาทีหรือยอวาทีก็ได้) เพื่อเลือกประเด็นปัญหาที่มีความสนใจ หรือ
อยากจะแก้ปัญหานั้นมากที่สุด เพื่อนามาตั้งเป็นประเด็นสาหรับทาโครงงาน
คำแนะนำเพิ่มเติม (Tip)
ความดี หรือ ประเด็นที่เลือกมาทาโครงงานนั้นมีที่มา ๒ ลักษณะด้วยกัน คือ ผู้เรียนเริ่ม
คิดจาก (๑) ปัญหำที่อยำกแก้ หรือจาก (๒) สิ่งดีที่อยำกทำ จากประสบการณ์พบว่าผู้เรียนที่
เริ่มคิดจากความดีที่อยากทาก่อนนั้นมักยังมองแบบผิวเผิน ความคิดความเข้าใจยังไม่หยั่งรากลึก
ความจริงแล้วแม้เป็นความดีที่อยากทาก็ตาม หากย้อนคิดพิจารณาให้ดีก็จะพบว่าสิ่งดีที่อยากทา
นั้นต้องช่วยแก้ไขหรือปรับปรุงอะไรให้ดีขึ้นสักอย่างหนึ่งแน่ ครูที่ปรึกษาก็ต้องช่วยกระตุ้นชี้ชวน
ให้ผู้เรียนได้ย้อนคิดพิจารณากลับไปที่ประเด็นปัญหาให้ได้ เช่น หากเด็กเริ่มต้นด้วยความคิด
อยากปลูกต้นไม้ขึ้นมาลอยๆ ครูที่ปรึกษาอาจต้องถามให้ย้อนคิดไปว่า ทาไมหรือถึงต้องปลูก
ต้นไม้? ปลูกที่ไหน? เพราะอะไรจึงต้องปลูกที่นี่? ปลูกต้นไม้มันช่วยแก้ปัญหาอะไรหรือ? หรือมัน
ช่วยทาให้อะไรดีขึ้นบ้าง? ถ้าผู้เรียนช่วยกันคิดและตอบปัญหาเหล่านี้ได้ ก็จะได้ประเด็นปัญหาที่
ชัดเจนสาหรับการนามาตั้งเป็นประเด็นทาโครงงาน
นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน
www.damsanid.blogger.com
๑๖
ขั้นตอนที่ ๒ กำรรวบรวมประมวลข้อมูลและองค์ควำมรู้ที่เกี่ยวข้อง
เมื่อสมาชิกทุกคนในกลุ่มเห็นพ้องกันและตัดสินใจเลือกประเด็นปัญหาหรือหัวเรื่องได้แล้ว
และได้รับความเห็นชอบจากที่ปรึกษาแล้ว ก็จะเป็นขั้นตอนของการระดมความคิดวางแผนงานใน
เบื้องต้น โดยเริ่มจากการร่วมกันพิจารณาวิเคราะห์สภาพปัญหาแล้วสืบสาวไปหาสาเหตุและปัจจัย
ร่วมต่างๆ การวางเป้าหมายและวิธีการแก้ปัญหา แล้วประมวลสิ่งที่วิเคราะห์ได้ทาเป็นผังมโน
ทัศน์ ในขั้นตอนนี้จะพบว่ายังมีข้อมูลของสภาพปัญหาและปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องไม่เพียงพอหรือ
ยังมีรายละเอียดที่ไม่ชัดเจน ตัวแปรสนับสนุนและองค์ความรู้ต่างๆ ที่จะนามาใช้ในการวางแผน
แก้ปัญหาก็ยังมีไม่ครบถ้วนหรือยังไม่ชัดเจนเป็นต้น จึงต้องมีการรวบรวมข้อมูลและองค์ความรู้
เพิ่มเติม (ซึ่งอาจจะได้มาจากการสารวจโดยละเอียดหรือประมาณการโดยคร่าวๆ ก็ได้) จากการ
พบปะสนทนาขอความร่วมมือจากบุคคลต่างๆ และจากการค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือตารา
และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วนาข้อมูลที่รวบรวมได้ทั้งหมดมาประมวลเพื่อจัดเตรียมสาหรับคิด
วางแผนทาร่ำงโครงงำนต่อไป
โครงกำรพัฒนำโครงงำนคุณธรรม
 นวัตกรรมกำรเรียนรู้โครงงำนคุณธรรม ๔ ประเภท
ก. โครงงานสื่อคุณธรรม
ข. โครงงานวิทย์-คุณธรรม
ค. โครงงานธุรกิจคุณธรรม
ง. โครงงานกำรเมืองคุณธรรม
- โครงงานสื่อคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ
มิใช่แค่ผลิตสื่อ แต่มีที่มาของความคิดว่า “ทาไม? ถึงผลิตสื่อคุณธรรมนี้” มีแผนงานการผลิตสื่อ
มีกระบวนการนาไปใช้ มีการติดตามประเมินผลว่า สื่อที่ผลิตขึ้นนี้ ทาให้เกิดผลดีอย่างไรต่อผู้รับ
สื่อ สื่อที่ผลิตขึ้นสามารถช่วยแก้ปัญหาที่ตั้งไว้ได้จริงหรือไม่? จึงจะมีควำมเป็นโครงงำน
- โครงงานวิทย์-คุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ
เป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มิใช่แค่ทดลองเสร็จประกวดจบแล้วเลิกทา ไม่จาเป็นต้องคิดค้นใหม่ก็
ได้ แต่เน้นการนาไปใช้จริงเพื่อพัฒนา/แก้ไขปัญหาจริงๆ ในลักษณะงานจิตอาสา-บาเพ็ญประโยชน์
ต่อส่วนรวม ในโรงเรียนหรือชุมชน โดยสร้างจิตสานึกความเสียสละต่อส่วนร่วมให้แก่เยาวชนได้
ดี (บางโครงงานสามารถต่อยอดเป็นโครงงานธุรกิจคุณธรรม หาทุนมาสนับสนุนกิจกรรมการ
กุศลได้ด้วย)
- โครงงานธุรกิจคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ (ธุรกิจ ๒ ช พอเพียง)
(โครงงานธุรกิจเพื่อพัฒนาชีวิตและชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ)
ธุรกิจที่ไม่ได้เน้นผลกาไรสูงสุด เน้น “ประโยชน์สุข” สูงสุด ธุรกิจที่มีควำมเป็นโครงงำน
สอดคล้องกับหลักการเรียนรู้ “ร่วมกัน ทาดี อย่างมีปัญญา” และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ใช่
ธุรกิจบาป ไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข ไม่เป็นธุรกิจที่ขัดกับหลักศีลธรรมเป็นธุรกิจที่มีแนวคิดดีๆ
ใหม่ๆที่ช่วยแก้ปัญหาจริงในโรงเรียนชุมชน ทาให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น เน้นการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา

More Related Content

What's hot

สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4supap6259
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Nonsawan Exschool
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์kand-2539
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
krupeem
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
พัน พัน
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
peter dontoom
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
Santichon Islamic School
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
พัน พัน
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
KruKaiNui
 

What's hot (20)

ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
กิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศกิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศ
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
 

Viewers also liked

โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
TupPee Zhouyongfang
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษาVitamilk
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาAomJi Math-ed
 
โครงงาน 1 com
โครงงาน 1 comโครงงาน 1 com
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
panadda kingkaew
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
จตุรพล ชานันโท
 

Viewers also liked (8)

โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
โครงงาน 1 com
โครงงาน 1 comโครงงาน 1 com
โครงงาน 1 com
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 

Similar to นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
Boonlert Aroonpiboon
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...นายจักราวุธ คำทวี
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
นางจำเรียง กอมพนม
 
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพแผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงsukhom
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
tassanee chaicharoen
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 
6.ส่วนที่ 2
6.ส่วนที่ 26.ส่วนที่ 2
6.ส่วนที่ 2Junior Bush
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
ครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
ครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือboomlonely
 

Similar to นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา (20)

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพแผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
6.ส่วนที่ 2
6.ส่วนที่ 26.ส่วนที่ 2
6.ส่วนที่ 2
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือ
 

More from ครูแชมป์ ฟักอ่อน

กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนกรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ๒๔๗๕ ๒๕๐๐
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ๒๔๗๕ ๒๕๐๐ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ๒๔๗๕ ๒๕๐๐
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ๒๔๗๕ ๒๕๐๐ครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...ครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงครูแชมป์ ฟักอ่อน
 

More from ครูแชมป์ ฟักอ่อน (12)

กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนกรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริงธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
 
ควบคุบภายใน
ควบคุบภายในควบคุบภายใน
ควบคุบภายใน
 
Booksuffwork thai
Booksuffwork thaiBooksuffwork thai
Booksuffwork thai
 
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ๒๔๗๕ ๒๕๐๐
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ๒๔๗๕ ๒๕๐๐ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ๒๔๗๕ ๒๕๐๐
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ๒๔๗๕ ๒๕๐๐
 
วิทยากรเศรษฐกิจพอเพียง
วิทยากรเศรษฐกิจพอเพียงวิทยากรเศรษฐกิจพอเพียง
วิทยากรเศรษฐกิจพอเพียง
 
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
 
นิทาน ป ๔
นิทาน ป ๔นิทาน ป ๔
นิทาน ป ๔
 
นิทาน ป ๓
นิทาน ป ๓นิทาน ป ๓
นิทาน ป ๓
 

นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา

  • 1. นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ค ำ น ำ ห น ัง ส ือ น ว ัต ก ร ร ม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบ ประชาธิปไตยในสถานศึกษา เล่มนี้จัดทาขั้นเพื่อสนองนโยบาย ในโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต ๒ สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักงานพระพุทธศาสนา ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมอันพึงประสงค์ ตามระบอบประชาธิปไตย อันนี้พระมหากษัตรทรงเป็นประมุข โดยให้ ผู้เรียนได้รู้จักตระหนักและคุณค่าของสังคมที่มีคุณธรรม จริยธรรม รักชาติ ศาสน์ กษัตร จากสภาพสังคมในปัจจุบันนั้นพบว่ามีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและหลากหลายอัน เนื่องมาจากความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสารต่างๆ แพร่หลาย อย่างรวดเร็วทาให้แนวคิด วิถีชีวิต ค่านิยมของบุคคลในสังคมเกิดความเปลี่ยนแปลง เบี่ยงเบนไป จากหลัก ศีลธรรม จริยธรรมที่ดีงามตามหลักธรรมของพุทธศาสนา กลับชื่นชมวัฒนธรรม ตะวันตก ที่เน้นการ บริโภควัตถุต่างๆ จนเกิดความสับสน ระบบสังคมที่เคยดีงามของไทยได้รับ ผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ อันสืบเนื่องมาจากการให้ความสาคัญในด้านเศรษฐกิจซึ่งเป็นการ พัฒนาทางด้านวัตถุมากกว่า พัฒนาสังคมในด้านอื่น ๆ โดยเฉพาะการพัฒนาทางด้านจิตใจจึงทาให้ เกิดปัญหาความย่อหย่อนของคุณธรรมจริยธรรม ดังนั้น หนังสือเล่มนี้สามารถช่วยส่งเสริม ให้โรงเรียนนาไปใช้ และพัฒนา ปรังปรุง ให้เข้าบริบทของโรงเรียน และผู้เรียนในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมอันพึ่งประสงค์ ตามระบบประชาธิปไตยในสถานศึกษาได้เป็นอย่างดี ข้าพเจ้า นายวชิระ ฟักอ่อน ตาแหน่งพนักงานราชการ ครูผู้สอนโรงเรียนคลองเจริญ ราษฎร์ จึงใคร่ขอขอบพระคุณ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานบริหารทั่วไป หัวหน้างานบริหาร วิชาการ หัวหน้างานบริหารงานบุคคล หัวหน้างานบริหารงบประมาณ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่ให้ คาปรึกษา ในการจัดทาหนังสือเล่มนี้ สาเร็จลุล่วงไปด้วยนี้ หวังว่าหนังสือเล่มนี้สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ของโรงเรียน และผู้เรียนเป็นอย่างดีในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรทรงเป็นประมุข (เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ) นายวชิระ ฟักอ่อน ตาแหน่ง พนักงานราชการ ( ครูผู้สอน ) โรงเรียนคลองเจริญราษฎร์
  • 2. นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ๒ สารบัญ เรื่อง หน้ำ ส่วนที่ ๑ บทนา ความเป็นมา ๓ ส่วนที่ ๒ แนวทางการพัฒนา และองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง ๘ โครงงานคุณธรรม (Moral Project) ๙ โครงการพัฒนาโครงงานคุณธรรม ๑๖ ส่วนที่ ๓ แนวทางการพัฒนาคุณธรรมตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา ๒๕ การกาหนดแนวทางการดาเนินงานการพัฒนาคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา ๒๕ แนวทางในการดาเนินการกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา ๒๖ กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมในพระพุทธศาสนา สร้างจิตอาสา ความดี ไม่ซ่อนเร้น ๒๖ กิจกรรมที่ ๒ โครงงานคุณธรรมสานึกดี ๒๗ กิจกรรมที่ ๓ ค่ายพระ ครู ผู้ปกครอง ๓๓ คำรับรอง ๖๙
  • 3. นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ๓ ส่วนที่ ๑ บทนำ ๑. ควำมเป็นมำ สถานการณ์และสภาพปัญหาของชาติ ในปัจจุบันเป็นที่ประจักษ์โดยทั่วกันแล้วว่าการ ที่ประเทศมุ่งพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและการเงินเพื่อสร้างความแข็งแกร่งทางการเงินและการ คลัง ของประเทศอย่างมากส่งผลให้เกิดการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและความเจริญทางด้านวัตถุ อย่าง เห็นได้ชัด ทิศทางของการพัฒนานั้นก็มิได้เป็นไปอย่างยั่งยืนและครอบคลุมทั้งด้านคนและ วัตถุ เพราะการพัฒนาประเทศโดยมุ่งความเจริญทางเศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ที่เน้นเรื่องวัตถุอุปกรณ์อย่างรวดเร็ว โดยขาดความสมดุลกับการพัฒนาทางด้านจิตใจของคนให้มี คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่ดี ได้ก่อให้เกิดปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคนใน ประเทศจานวนมาก ผลของการพัฒนา เหล่านี้ จึงเป็นที่มาของปัญหาสังคมปัจจุบันที่จะทวีความ รุนแรงขึ้นเป็นลาดับ โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นอนาคตของประเทศชาติกาลังประสบ ปัญหาสังคมหลายด้านที่รุมล้อมคุกคามเด็กเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ทาให้หลงผิดและมี พฤติกรรมที่เบี่ยงเบน ขาดระเบียบวินัยฯ ละทิ้งค่านิยมความเป็น ไทย และขาดคุณธรรม เป็น ปัญหาสังคมที่ควรแก้ไขเป็นการเร่งด่วน จากสภาพสังคมในปัจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและหลากหลายอัน เนื่องมาจากความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสารต่างๆ แพร่หลาย อย่างรวดเร็วทาให้แนวคิด วิถีชีวิต ค่านิยมของบุคคลในสังคมเกิดความเปลี่ยนแปลง เบี่ยงเบนไป จากหลัก ศีลธรรม จริยธรรมที่ดีงามตามหลักธรรมของพุทธศาสนา กลับชื่นชมวัฒนธรรม ตะวันตก ที่เน้นการ บริโภควัตถุต่างๆ จนเกิดความสับสน ระบบสังคมที่เคยดีงามของไทยได้รับ ผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ อันสืบเนื่องมาจากการให้ความสาคัญในด้านเศรษฐกิจซึ่งเป็นการ พัฒนาทางด้านวัตถุมากกว่า พัฒนาสังคมในด้านอื่น ๆ โดยเฉพาะการพัฒนาทางด้านจิตใจจึงทาให้ เกิดปัญหาความย่อหย่อนของคุณธรรมจริยธรรม มีการประพฤติปฏิบัติที่เห็นแก่ประโยชน์ ส่วนตัวมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม ยังส่งผล ไปยังปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมไทย อาทิ เกิด ปัญหาทุจริตคอรัปชั่น ปัญหายาเสพติด และปัญหาหย่าร้าง ปัญหา นักเรียนตีกัน ปัญหาการรัก ร่วมเพศ การหลงมัวเมาในอบายมุข การปล่อยตัวปล่อยใจ ขาดระเบียบวินัย ไร้ทิศทางของชีวิต ฟุ่มเฟือย และอื่น ๆ อีกมากมาย หากปล่อยไว้จะเป็น ผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศด้วย ผลจากการพัฒนาประเทศในระยะผ่านมาโดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจทาให้เกิดการขยายตัว ทางเศรษฐกิจในอัตราสูง มีความก้าวหน้าทางวัตถุและเทคโนโลยีใหม่ ๆ อย่างรวดเร็ว ประกอบ กับอิทธิพลจากวัฒนธรรมต่างชาติเข้ามามีบทบาทในสังคมไทย ทาให้เกิดปัญหาสังคมที่ สลับซับซ้อน ระบบสังคมที่เคยดีงามของไทยได้รับผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งการพัฒนา ทางด้านเศรษฐกิจเป็น การพัฒนาทางด้านวัตถุมากกว่าพัฒนาสังคมในด้านอื่นๆ โดยเฉพาะการ พัฒนาทางด้านจิตใจ จึงทาให้เกิดปัญหาความย่อหย่อนของคุณธรรม จริยธรรม มีการประพฤติ
  • 4. นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ๔ ปฏิบัติที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าส่วนรวม การขาดคุณธรรมจริยธรรม ทาให้เกิดปัญหา ทุจริตคอรัปชั่น ปัญหายาเสพติด และปัญหาอื่น ๆ อีกมากมาย หากปล่อยไว้จะเป็นผลกระทบต่อ ความมั่นคงของประเทศด้วย การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของคนไทยในสังคมให้เป็นคนดี จึงเป็น เรื่องที่จาเป็น เพราะคน ในสังคมต่างเรียกร้องในเรื่องคุณธรรมจริยธรรมให้เกิดขึ้นในสังคมไทยแม้เป็น เรื่อง ที่มีความยากเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นกระบวนการที่มีความสลับซับซ้อน และมีองค์ประกอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มากมาย ดังนั้น กระทรวงศึกษาธิการ โดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน ได้พิจารณาถึง ความจาเป็นที่จะต้องดาเนินการ ในเรื่องการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งเป็นเครื่องมือในการกาหนดความสงบสุขของสังคมไทย (ผลงานวิจัย ข้อมูลที่ เกี่ยวข้องต่าง ๆ ในเอกสาร – ๒๔๘๖ ที่แนบ)ได้วิเคราะห์แล้ว พบว่า สังคมใดมีผู้เพียบพร้อม ด้วย คุณธรรมจริยธรรม สังคมนั้นจะมีแต่ความสงบสุข ในขณะเดียวกัน หากคนในสังคมใดมีความ บกพร่องด้านจิตใจ ขาดคุณธรรมและจริยธรรม แม้สังคมนั้นจะมีความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ก็หา ความสงบ สุขได้ยาก สรุปภาพรวมของปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นกับคนในชาติทุกกลุ่มเป้าหมาย นับวัน จะรุนแรงและทวีคูณมากขึ้น ที่มีผลต่อประเทศและสังคมไทยโดยรวม รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ส่วนที่ ๕ แนวนโยบายด้าน ศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม มาตรา ๗๙ รัฐต้องให้ความอุปถัมภ์ และคุ้มครองพระพุทธศาสนา เป็นศาสนาที่ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่นับถือมาช้านานและศาสนา อื่น ทั้งต้องส่งเสริมความเข้าใจอันดีและความสมานฉันท์ระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา รวมทั้ง สนับสนุนการนาหลักธรรมของศาสนามาใช้เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมและพัฒนาคุณภาพชีวิต แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ ๑๐ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ ๑๐ มีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาสู่ “สังคมที่มี ความสุขอย่างยั่งยืน (Green Society) ให้ ความสาคัญกับการสร้างสมดุลของการพัฒนาให้ เกิดขึ้นในทุกมิติ ทั้งมิติ ทางเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเปาหมาย สูงสุด คือ การนาไปสู่ความอยู่ดีมีสุขของคนไทย และเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนตลอดไป แนวคิด พื้นฐาน “คนเป็นศูนย์กลางของ การพัฒนา ยึดหลักปรัชญาของ เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ พ อ เ พ ีย ง ” โ ด ย เ ฉ พ า ะ เ ร ื่อ ง ก า ร เ ส ร ิม ส ร ้า ง ค ุณ ภ า พ ค น ใ ห ้เ ป ็น ค น ด ี ม ีค ุณ ธ ร ร ม ม ีค ว า ม ซ ื่อ ส ัต ย ์ สุจริต ไม่เบียดเบียน ผู้อื่น เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความอดทน มีความเพียร มีวินัย มีสติ ตั้งอยู่ในความไม่ประมาท มีการ พัฒนาปัญญาและความรู้อย่างต่อเนื่อง
  • 5. นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ๕ ๒.วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพื่อพัฒนานักเรียนทุกคนให้มีจิตสานึกความเป็นชาติไทย ๒.๒ เพื่อพัฒนานักเรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒.๓ เพื่อให้นักเรียนสามารถดาเนินงานด้านโรงเรียนสุจริต และโรงเรียนวิถีพุทธ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒.๓ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนนักเรียนทุกคนจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมใน สถานศึกษา ๓ กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมในพระพุทธศาสนา กิจกรรมโครงงาน คุณธรรมสานึกดี และกิจกรรมค่ายพระ ครู ผู้ปกครอง พลัง บวร บ้าน วัด โรงเรียน ๓.เป้ำหมำย ๓.๑ เชิงปริมาณ นักเรียนโรงเรียนคลองเจริญราษฎร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต ๒ ๓.๒ เชิงคุณภาพ นักเรียนโรงเรียนคลองเจริญราษฎร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต ๒ ทุกคนให้มีจิตสานึกความเป็นไทย ได้อย่างเหมาะสมกับวัย ๔.ควำมคำดหวังที่จะเกิดขึ้น ๔.๑ โรงเรียนคลองเจริญราษฎร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สมุทรปราการ เขต ๒ ดาเนินงานกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมให้กับนักเรียน ๓ กิจกรรมได้ ชัดเจน เป็นรูปธรรม ๔.๒ โรงเรียนขับเคลื่อนดาเนินงานด้านโรงเรียนวิถีพุทธได้อย่างมีประสิทธิภาพตาม บริบทของโรงเรียน ๔.๓ นักเรียนได้รับการส่งเสริมให้เป็นคนดีด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสม กับวัย ๔.๔ นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะและเกิดจิตสานึกในความเป็นชาติไทย ๔.๕ นักเรียน มีศีลธรรม ลด ละ เลิก อบายมุข ลดปัญหาสังคมความเสื่อมทราม ๔.๖ การเรียนการสอนง่ายขึ้น ผลสัมฤทธิ์ดีขึ้น
  • 6. นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ๖ ๕.เงื่อนไขที่นำไปสู่ควำมสำเร็จ ๕.๑ มีแนวทางการปฏิบัติการที่ชัดเจน เป็นรูปธรรมสาหรับคณะครู และนักเรียนใช้ เป็นนวัตกรรมการปฏิบัติเพื่อให้การดาเนินการเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ หน่วยงาน ๕.๒ บุคลากรทุกฝ่ายให้ความร่วมมือ ตั้งแต่ครอบครัว ชุมชน สังคม หน่วยงานอื่น ทั้งภาครัฐและเอกชน ตระหนักถึงความสาคัญในการพัฒนาคุณธรรมตามระบอบประชาธิปไตยใน สถานศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชน ๕.๓ มีการจัดระบบการติดตาม ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือที่จริงจัง ต่อเนื่องและมี ประสิทธิภาพเพื่อให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพ ๕.๔ จัดสรรงบประมาณสนับสนุน ๕.๕ มีการเสริมสร้างขวัญ กาลังใจ แก่บุคลากรตามโอกาส ๖. นิยำมศัพท์ ๖.๑ จิตสำนึกควำมเป็นไทย ใช้เกณฑ์ของสานักงานส่งเสริมเอกลักษณ์ของชาติ สานักนายกรัฐมนตรี ได้แก่สิ่งที่แสดงถึงจิตสานึกความเป็นไทย มี ๔ สถาบัน ๑๖ ประเด็น ได้แก่ ๑) สถาบันชาติ การดาเนินการเกี่ยวกับประเด็น ๗ ประเด็น ๑.๑) ธงชาติ ๑.๒) การใช้เลขไทย ๑.๓) การใช้คาว่างพุทธศักราช หรือ พ.ศ. ๑.๔) การใช้ภาษาไทย ๑.๕) สัญลักษณ์ประจาชาติไทย (ช้างไทย ดอกราชพฤกษ์ ศาลาไทย) ๑.๖) การใช้ผ้าไทย ๑.๗) เพลงชาติไทย ๒) สถาบันศาสนา ดาเนินการเกี่ยวกับ ประเด็น ๓ ประเด็น ๒.๑) การไหว้ ๒.๒) การใช้โต๊ะหมู่บูชา ๒.๓) การอยู่ร่วมกันของ ๕ ศาสนา (ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิก วันสาคัญทางศาสนา ๓) สถาบันพระมหากษัตริย์ ดาเนินการเกี่ยวกับประเด็น ๔ ประเด็น ๓.๑) เพลงสรรเสริญพระบารมี ๓.๒) เพลงพระราชนิพนธ์
  • 7. นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ๗ ๓.๓) วันสาคัญของพระมหากษัตริย์ ๓.๔) ความจงรักภักดี ๔) การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข ดาเนินการเกี่ยวกับประเด็น ๔ ประเด็น ๔.๑) การเสริมสร้างวินัยในการจราจร ๔.๒) การเสริมสร้างวินัยในการเข้าคิวรับบริการต่าง ๆ ๔.๓) การเสริมสร้างความเป็นผู้นา ๔.๔) การเสริมสร้างการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ๖.๒ โครงงำนคุณธรรมสำนึกดี (CSR=Corporate Social Responsibility) เป็น โครงงานความดีที่นักเรียนทาเพื่อพัฒนาหรือแก้ปัญหาในสิ่งที่ไม่พึงประสงค์หรือเป็นโครงงานที่ นักเรียนทาโดยบูรณาการความดี ในการทาโครงงาน ซึ่งกระบวนการทาโครงงานเกิดจากความคิด สร้างสรรค์ของนักเรียนที่ทาโครงงาน จัดเป็นโครงงานคุณธรรมสานึกดี CSR โดยจาแนก โครงงานคุณธรรม ๔ รูปแบบ ได้แก่ ๑) โครงงานสื่อคุณธรรม ๒) โครงงานวิทย์-คุณธรรม ๓) โครงงานธุรกิจคุณธรรม ๔) โครงงานเสริมสร้างคุณธรรม ๖.๓ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์อย่างน้อย ๘ ประการ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้แก่ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒) ซื่อสัตย์สุจริต ๓) มีวินัย ๔) ใฝ่เรียนรู้ ๕) อยู่อย่างพอเพียง ๖) มุ่งมั่นในการทางาน ๗) รักความเป็นไทย ๘) มีจิตสาธารณะ
  • 8. นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ๘ ส่วนที่ ๒ แนวทำงกำรพัฒนำและองค์ควำมรู้ที่เกี่ยวข้อง ประเทศไทยมีสถาบันหลักของชาติไทย ประกอบด้วย สถาบันชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์การธารงส่งเสริมให้ประชาชนในชาติเกิดจิตสานึกและตระหนักถึงความสาคัญของ สถาบันหลัก ทั้ง ๓ สถาบัน ซึ่งเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชาติ จึงเป็นหัวใจหลักที่จะกระตุ้นจิต สานึกของพี่น้องประชาชนของชาติด้วยการดาเนินงานมิติศาสนาภายใต้สถาบันหลัก ๓ สถาบัน การดาเนินงานให้ประชาชนในชาติร่วมกิจกรรมที่ผสมผสานกันอย่างแนบแน่นและมีความผูกพัน กัน โดยมีหลักธรรมทางศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยว และมีสถาบันชาติ และสถาบัน พระมหากษัตริย์เป็นองค์ประกอบหลักของกิจกรรม แนวทำงกำรพัฒนำ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนดหลักการปฏิรูปการศึกษาใน ทศวรรษที่สอง ๓ เป้าหมาย ๔ กรอบแนวทาง ได้แก่ เป้ำหมำย ๑. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรู้ของคนไทย ๒. เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ๓. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ของสังคมในการบริหารและจัดการศึกษา กรอบแนวทำง ๑. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ ๒. พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ ๓. พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ ๔. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ วิสัยทัศน์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นพลังขับเคลื่อนการศึกษาขั้น พื้นฐานของประเทศไทย ให้เป็นผู้นาหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเชียตะวนออกเฉียงใต้ พันธกิจ พัฒนาและส่งเสริมการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ประชากรวัยเรียนทุกคน ได้รับ การศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลที่มีความรู้คู่คุณธรรม มีความสามารถ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพระดับสากล
  • 9. นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ๙ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนกำหนดเป็นกลยุทธ์ในกำรพัฒนำ กลยุทธ์ที่ ๒ ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง เป้ำหมำยและตัวชี้วัดควำมสำเร็จ กลยุทธ์ที่ ๒ ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ที่ เป้ำหมำยควำมสำเร็จ ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ ๑ ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาให้มี คุณธรรม จิตสานึกความเป็นไทย จานวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มี จิตสานึก ความเป็นไทย ยึดมั่นใน สถาบันชาติศาสนา พระมหากษัตริย์และ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ ร้อยละของผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐาน ๓ โรงเรียนทุกโรงเรียนจัดกิจกรรม เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม ความ สานึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง -จานวนโรงเรียนที่จัดกิจกรรมเสริมสร้าง คุณธรรมความสานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง -จานวนโรงเรียนที่จัดกิจกรรมตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็น สถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ ๑๐,๐๐๐ แห่ง ๔ ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาทักษะการ ดารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง จานวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะการ ดารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง โครงงำนคุณธรรม (Moral Project) โครงงำนคุณธรรมคืออะไร? โครงงานคุณธรรม หรือโครงงานความดี เป็นนวัตกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการทาความดี มีคุณธรรมแบบเชิงรุก โดยให้ผู้เรียนที่เป็นเด็กและเยาวชนเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของกิจกรรมการ เรียนรู้นี้เอง ผ่านเทคนิควิธีการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Approach) โดยประเด็นที่เลือก ทาโครงงานนั้นเกิดขึ้นมาจากความสนใจและความคิดริเริ่มของผู้เรียนเอง เน้นการเรียนรู้ผ่านการ ปฏิบัติงานจริง ด้วยความพากเพียรพยายามอย่างจดจ่อต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาที่ยาวนาน พอสมควร (ต้องทางานจริงไม่น้อยกว่า ๒ เดือน) ในลักษณะวิจัยปฏิบัติการ (action research) นาไปสู่การแก้ไขปัญหาด้านความเสื่อมทรามทางศีลธรรม และส่งเสริมการบ่มเพาะความดีมี
  • 10. นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ๑๐ คุณธรรมอย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบ รวมทั้งการขยายความมีส่วนร่วมไปสู่บุคคลต่างๆ ใน สถานศึกษาและชุมชนของตนเองหรือชุมชนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กำรเรียนรู้ที่ไม่จำกัด EDUCATION FOR ALL ในเมื่อโครงงานคุณธรรมเป็นกระบวนการพัฒนาคุณธรรมและความดี โครงงานคุณธรรม นี้ จึงมีลักษณะที่เปิดกว้างสาหรับทุกคน โดยไม่มีข้อจากัดว่าเรียนวิชาสุขศึกษา พลศึกษา หรือ วิชาการงานพื้นฐานอาชีพ และเทคโนโลยี เป็นนักเรียนประถมหรือมัธยม เพราะคุณธรรมและ ความดีงามนั้น เป็นเรื่องที่มีคุณค่าที่ควรเข้าถึงของคนทุกคนนั่นเอง ไม่จากัดจานวนคน เพศ วัย สถานะ ระดับช่วงชั้นหรือสายวิชาที่เรียน แต่สนับสนุนให้ทุก คนมีส่วนร่วมให้ได้มากที่สุด แม้ว่าจะมีผู้รับผิดชอบโครงงานเป็นกลุ่มเริ่มต้น ๕-๑๐ คนก็ตาม แต่โครงงานก็กาหนดเงื่อนไขให้ผู้รับผิดชอบนี้ ต้องคิดวางแผนและดาเนินงานเพื่อขยายหาแนว ร่วมต่อไปในรูปของเครือข่ายแกนนา สมาชิก หรือกลุ่มเป้าหมาย และต้องสร้างความมีส่วนร่วมใน ทุกภาคส่วนให้มากที่สุด ทั้งครอบครัว(บ้าน) ศาสนา(วัด) และสถานศึกษา(โรงเรียน) โครงงาน คุณธรรมไม่มีกติกาควบคุมจานวนคนที่มาช่วยทาโครงงาน หากใครอยากมาช่วย อยากเข้ามาร่วม ทางาน ก็เข้ามาช่วยเลย โครงงานใดยิ่งมีคนมาช่วยร่วมมือด้วยมากเท่าไร โครงงานนั้นยิ่งประสบ ความสาเร็จ เพราะเท่ากับว่ามีคนมาร่วมทาความดีเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น องค์รวมแห่งควำมดี ที่ไร้ขีดจำกัด ไม่แยกเรื่อง ไม่แยกส่วน แต่ทุกเรื่องสาระสามารถบูรณาการเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ โครงงานนี้ได้ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นวิชาการด้านใดหรือปัญหาของใคร นาองค์ความรู้ทุกด้าน ทุก วิชา ทุกสาระการเรียนรู้ และทุกทักษะที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นศิลปะ-ดนตรี-กีฬา สามารถนามา ปรับบูรณาการใช้ในการทาความดี ทาการงาน และการสื่อสารประชาสัมพันธ์โครงงานได้ทั้งสิ้น ไม่ติดขัดที่งบประมาณ เพราะการทาโครงงานด้านความดีหรือคุณธรรมนี้ไม่ต้องลงทุน ด้วยเม็ดเงินมาก บางโครงงานลงทุนเพียงแรงงานจากสองมือที่คอยเก็บขยะ และเมื่อแยกขยะขาย ก็ได้ทุนมาเพิ่มอีก บางโครงงานใช้สองมือน้อยๆ บีบนวดให้พ่อแม่ปู่ย่าตายายในชุมชน บาง โครงงานมาจากพฤติกรรมช่วยกันประหยัดน้าประหยัดไฟ บางโครงงานมาจากการยิ้มไหว้ ทักทาย ตัวอย่างของโครงงานในลักษณะเช่นนี้มีอยู่มากมายที่ลงทุนน้อยแต่ได้ผลและมีคุณค่ามาก แต่อย่างไรก็ตาม ก็ต้องมีการลงทุนเม็ดเงินในเรื่องคุณธรรมบ้าง ไม่ใช่ปากบอกว่าเรื่องคุณธรรม ความดีสาคัญแต่พฤติกรรมไม่แสดงออกว่าให้ความสาคัญเลย ดังนั้นโครงงานคุณธรรม จึงเป็น WIN-WIN SITUATION กล่าวคือ ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม และทุกฝ่ายก็ได้รับประโยชน์สุขร่วมกันทั้งหมด กล่าวคือ ปัญหาต่างๆ ในโรงเรียน และชุมชน ได้รับการพิจารณาและแก้ไข เด็กและเยาวชนได้รับการปลูกฝังบ่มเพาะซึมซับและเรียนรู้คุณธรรม ความดีงามต่างๆ ด้วยความรู้สึกเป็นเจ้าของ เด็กและเยาวชนได้ฝึกฝนและพัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหา คิดเชิงระบบ คิดประเมินค่า ฯลฯ ผ่านการทาโครงงานอย่าง เป็นวิทยาศาสตร์ เด็กและเยาวชนได้รับการฝึกทักษะการทางานจริง การทางานเป็นระบบ ความรับผิดชอบต่องาน และได้รับการฝึกทักษะทางสังคม ผ่านกระบวนการทางานเป็นกลุ่มใหญ่ ในระยะเวลายาวนานพอสมควร และเมื่อโครงงานนั้นๆ ได้มีการขยายผลไปถึงการแก้ปัญหาใน ครอบครัว วัด ชุมชน พ่อแม่ผู้ปกครอง พระสงฆ์ และคนในชุมชนก็จะได้รับอานิสงส์แห่ง ประโยชน์สุขนั้นด้วย ผู้บริหารและคณะครูอาจารย์ก็จะเบาใจสบายใจไม่ต้องกังวลเครียดกับ ปัญหาที่สั่งสมไว้มากมายโดยไม่มีการแก้ไข แต่ปัญหาเหล่านั้นกลับแปรเปลี่ยนเป็นผลงานที่มี
  • 11. นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ๑๑ ความโดดเด่นและน่าชื่นชมแทน นอกจากนี้ ผู้บริหาร ครูอาจารย์ และศึกษานิเทศก์ ยังสามารถนา ข้อมูลและผลจากการทาโครงงานคุณธรรมมาทาการวิจัยให้เป็นผลงานที่มีคุณค่า ได้อย่างมี คุณภาพและเกิดประโยชน์แท้จริงได้อีกด้วย โครงงำนคุณธรรม กำรทำดีเชิงรุกพร้อมกับกำรเรียนรู้ชีวิตอย่ำงเป็นวิทยำศำสตร์ โครงงานคุณธรรมนี้ถูกออกแบบมาเพื่อให้ตอบโจทย์ คาท้าทายที่ว่าเด็กไทยไม่ใฝ่ดี ใฝ่ต่า ทาชั่วมั่วเพศเสพยา ละอายการทาดี ทางานเป็นทีมไม่เป็น คิดวิเคราะห์ไม่ได้ โดยการสร้างเงื่อนไข ให้เขาใช้ปัญหาจริงที่ต้องเผชิญอยู่ทุกวัน ไม่ว่าในโรงเรียนหรือในครอบครัวในชุมชน นามา ตรวจสอบ วิเคราะห์ วางแผน แสวงหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน ซึ่งไม่เพียงเข้าใจปัญหานอกตัว เท่านั้น นี่ยังเป็นโอกาสให้เด็กๆ ได้เชื่อมโยงสู่ตนเอง เพราะคุณสมบัติของโครงงานคุณธรรมนั้น พิเศษตรงที่เป็นเรื่องในชีวิตจริง เป็นประเด็นปัญหาจริงๆ ในชีวิต ซึ่งทุกคนมีส่วนร่วม เกี่ยวข้อง สัมพันธ์อยู่ด้วยกันนั่นเอง แต่อาจไม่รู้ตัวก็ได้ ดังนั้น ด้วยกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ จึงพบ ทางออกของปัญหาด้วยปัญญา โครงงานคุณธรรมจึงเป็นกระบวนการที่นาพาให้เด็กไทยสามารถ ทาโครงงานจริงในชีวิตด้วยวิธีคิดอย่างเป็นวิทยาศาสตร์นั่นเอง โครงงานคุณธรรมนั้น เน้นการนาปัญหาในชีวิตจริงมาเรียนรู้ผ่านการทาโครงงาน อันจะ เป็นการเรียนรู้และพัฒนาทักษะชีวิตด้วยวิธีคิดอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ หรือ ด้วยกระบวนการทาง ปัญญา อันพอจะสรุปได้เป็นลาดับขั้นดังนี้ ๑) สังเกตปัญหา ระดมความคิด เลือก ระบุ วิเคราะห์ เชื่อมโยง “ปัญหำ-สำเหตุ” ได้ ชัดเจน เห็นความเชื่อมโยงเป็นเหตุเป็นปัจจัยเกี่ยวเนื่องกันได้ตลอดสาย (จาก “ภายนอก” สู่ “ภายใน” ชีวิตจิตใจของตนเอง) ๒) คาดการณ์และระบุ “เป้ำหมำย” ของการแก้ปัญหาให้ชัด ทั้งเป้าหมายในตัวคน (พฤติกรรม จิตใจ ปัญญา ที่คาดหวัง) เป้าหมายนอกตัวคน (สิ่งแวดล้อม-กายภาพ) เป้าหมายเชิง ปริมาณ เป้าหมายเชิงคุณภาพ เป้าหมายระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว และเมื่อรู้จุดหมาย ปลายทางชัด การกาหนดทิศทางและการเดินทางก็จะชัดไปด้วย ๓) วางแผนและออกแบบ “ทำงแก้” หรือวิธีการทดลองอย่างมีหลักเกณฑ์ ที่แก้ปัญหาได้ ตรงจุด (คือแก้ที่สาเหตุ) และถึงพร้อมที่จะบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ได้ ๔) ลงมือทำ พร้อมกับเรียนรู้ แสวงหา ฝึกฝน “คุณธรรมจากภายในตน” ไปสู่ “การ แก้ปัญหาภายนอก” ทั้งการเรียนรู้ส่วนบุคคลจาเพาะตน และเรียนรู้ร่วมกันผ่านกระบวนการกลุ่ม ๕) ลงมือปฏิบัติการอย่างเป็นระบบ มีการติดตำมและเก็บบันทึกข้อมูล ทาตาม แผนงานอย่างยืดหยุ่น มุ่งมั่นทุ่มเทแต่ไม่ยึดติดมากเกินไป เรียนรู้อย่างตื่นตัวเท่าทันพร้อม ปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขสูงสุดแม้มีข้อจากัด มากมาย ๖) ประมวลผล-สรุปผล ประเมินผลการบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ การ ประเมินตนเอง การย้อนพิจารณาเพื่อปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง และการต่อยอดขยายผล ๗) นำเสนอ สื่อสำร ข้อมูลเรื่องราวการทาโครงงานผลของการทางาน สู่สาธารณะ อย่าง มีประสิทธิภาพเพื่อเป็นการแพร่ขยายความดี-สื่อสารความดี บอกต่อองค์ความรู้ในการแก้ปัญหา ต่างๆ เผยแพร่วิธีการในการทาความดี อันจะเป็นการเสริมสร้างค่านิยมการทาความดี สร้างแรง บันดาลใจในการทาความดีให้กับผู้อื่นต่อๆ ไป และเป็นการสืบต่อความดีต่อไปได้ไม่สิ้นสุด
  • 12. นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ๑๒ แก่นกำรเรียนรู้คือ “ร่วมกัน ทำดี อย่ำงมีปัญญำ” กระบวนการเรียนรู้ที่ดีและสมบูรณ์ของโครงงานคุณธรรมนั้น จะต้องเริ่มต้นจากการ สร้างควำมเป็นกัลยำณมิตรต่อกันก่อน อันเป็นปัจจัยต้นเริ่มที่สาคัญที่สุด จึงต้องออกแบบและ จัดวางเงื่อนไขให้เกิดการรวมกลุ่มกันของผู้รับผิดชอบโครงงานจานวน ๕-๑๐ คน และที่ปรึกษา อีก ๓ คน โดยมีองค์ประกอบโครงสร้างและความสัมพันธ์ในกลุ่ม ให้สามารถดึงด้านบวกของแต่ ละคนออกมาหากันให้ได้มากที่สุด ซึ่งก็จะทาให้เกิดการใฝ่ดีคิดดีและทำดีร่วมกันออกมาได้อย่าง เต็มที่เต็มตามศักยภาพของแต่ละคน เกิดการซึมซับความดี พร้อมๆ กับมีการเรียนรู้หรือมี กระบวนกำรทำงปัญญำเกิดขึ้นตลอดสาย ตั้งแต่เริ่มต้นระดมความคิด การสังเกตสารวจสภาพ ปัญหา ปัญญาตระหนักรู้ในสถานการณ์หรือสภาพปัญหาและสืบสาวถึงสาเหตุ ปัญญาค้นคว้าหา ความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เพิ่มเติม การรวบรวมประมวลข้อมูล ปัญญาคิดวิเคราะห์คิด สังเคราะห์ ปัญญาคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การทาความคิดให้ชัด และเป็นระบบ การคิดวางแผนงาน การร่างโครงงาน ปัญญาการปรับประยุกต์จากนามธรรมให้เป็นรูปธรรม ปัญญาการติดตาม ดาเนินงานปรับปรุงงาน ปัญญาการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ปัญญาการประเมินผลสรุปผล และ ปัญญาการนาเสนอ ตลอดจนสติปัญญาที่จะเท่าทันและสามารถวางใจต่อโลกธรรมทั้ง ๘ ที่มา ถูกต้องสัมผัสใจได้อย่างฉลาดและเป็นกุศลได้ในที่สุด กระบวนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นภายใต้โครงงานคุณธรรมฯนี้ เป็นกระบวนการที่พัฒนาและ ปรับประยุกต์มาจากกระบวนการเรียนรู้วิถีพุทธ ซึ่งใช้แบบจาลองของวงรอบ ๑-๒-๓-๔ ที่ หมุนเวียนรอบพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่อง อันประกอบด้วย (๑) กระบวนการกัลยาณมิตร, (๒) การ เปิดการเรียนรู้ภายใน (ปรโตโฆสะ สู่ สัทธาและโยนิโสมนสิการ), (๓) กระบวนการเรียนรู้อย่าง เป็นองค์รวม (ตามหลักไตรสิกขา-ภาวนา๔) และ (๔) กระบวนการพัฒนาแบบเวียนรอบต่อเนื่อง จึงทาให้กระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาคุณธรรมของผู้เรียนเกิดขึ้นควบคู่กันไป ดังแผนผังของ แบบจาลอง ด้านล่างนี้
  • 13. นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ๑๓ แบบจำลองกำรศึกษำ ๑-๒-๓-๔ นี้อาจเรียกชื่อเป็นธรรมอีกหมวดหนึ่งได้ว่า “กระบวนกำร ๓ ป ต่อเนื่อง” ลูกศร A : ปริยัติ, ลูกศร B : ปฏิบัติ, ลูกศร C : ปฏิเวธ, ลูกศร D : ต่อเนื่อง (๑) กระบวนการกัลยำณมิตร ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนต้นเริ่มที่สาคัญที่สุด โดยจัดวางเงื่อนไขให้เกิดการนาพาให้บุคคล ต่างๆ ซึ่งมีตั้งแต่กลุ่มเพื่อนใกล้ตัว ครู ผู้บริหาร พระสงฆ์ พ่อแม่ จนถึงองค์กรที่ให้การ สนับสนุนมารวมกลุ่มกันโดยดึงด้านบวกของแต่ละคนแต่ละฝ่ายออกมาหากันให้ได้มากที่สุด ให้แต่ ละคนมาสวมบทบาทเป็นกัลยาณมิตรต่อกัน กัลยาณมิตรนั้นมีความสาคัญอย่างมากที่จะช่วย กระตุ้นเตือน ช่วยสร้างแรงบันดาลใจ ช่วยสร้างศรัทธาในการทาความดี ช่วยสนับสนุนให้ โครงงานดาเนินไปได้ด้วยดี ขั้นตอนนี้จึงสาคัญมากที่สุดที่จะทาให้เริ่มต้นการเรียนรู้ได้และดาเนิน ต่อไปจนถึงปลายทางแห่งความสาเร็จ โดยกัลยาณมิตรจะทาหน้าที่เป็นผู้ชักจูงปัจจัยภายนอกมา กระตุ้นตัวเปิดการเรียนรู้ภายใน (๒) การเปิดกำรเรียนรู้ภายใน (ปรโตโฆสะ สู่ สัทธาและโยนิโสมนสิการ) (ลูกศร A) การเปิดกำรเรียนรู้ภายใน เป็นขั้นตอนที่สาคัญมากอีกขั้นตอนหนึ่ง ที่เสมือนเป็นกำรออก สตำร์ทหรือจุดติดเครื่องยนต์แห่งการเรียนรู้ภายในตัวมนุษย์ ซึ่งมีองค์ธรรมเริ่มต้นแห่งการ เรียนรู้สาคัญสองประการด้วยกันคือ “สัทธำ” (ความสนใจใฝ่รู้, ความเชื่อใจ เชื่อถือ และความ เชื่อมั่น) และ “โยนิโสมนสิกำร” (พิจารณาอย่างแยบคาย – คิดเป็น – น้อมมาใส่ใจไปสู่กุศลได้) การเปิดกำรเรียนรู้ภายใน จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยกัลยาณมิตรเตรียมการและเลือกใช้ ปัจจัยภายนอกมากระตุ้นปัจจัยภายในอย่างพอเหมาะพอดีแก่ผู้เรียนและสถานการณ์แวดล้อม ปัจจัยภายนอกดังกล่าวนั้น เรียกว่า “ปรโตโฆสะ” ซึ่งมีหลายลักษณะ ตั้งแต่คาสอน คาบอกกล่าว หนังสือ ตารา สื่อต่างๆ และที่ดีที่สุด คือ “เสียงของครู” เพราะเป็นเสียงที่จะสร้างศรัทธาให้ เกิดขึ้นในใจ เป็นเสียงที่จะช่วยเตือนจิตสะกิดใจให้ฉุกคิดหรือตระหนักสานึก เป็นเสียงที่เป็น กาลังใจให้เกิดการเรียนรู้ภายในตนขึ้น มั่นใจขึ้น จนเข้าใจถึงคุณค่า ถึงประโยชน์ของการทาความดี การสร้างคุณธรรมจริยธรรมขึ้นในตน เมื่อเข้าใจถึงประโยชน์ จึงเกิดฉันทะความพอใจใคร่ที่จะลง มือกระทาด้วยตนเองโดยไม่ลังเล ดังตัวอย่างของ เสียงของครู ในโครงการนี้ที่สาคัญที่สุด คือ พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ชาวไทยทุกคนล้วนมีศรัทธาอย่างเต็มเปี่ยม เมื่อ โครงการประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติเลือกมาใช้เป็นเสียงบอกกล่าว (ปรโตโฆสะ) ที่ย้าชัดเจนว่า “เยำวชนไทย ทำดี ถวำยในหลวง” จึงเท่ากับเป็นเสียงบอกที่ให้แนวทางว่า ศรัทธาที่เกิดขึ้นนั้นควรนาไปสู่การตอบแทนคุณพระองค์ท่าน ในโอกาสครั้งนี้มิใช่สิ่งใดอื่น แต่เป็น การทำดีถวายพระองค์ท่านนั่นเอง เมื่อสัทธำคือความสนใจใฝ่รู้เกิดขึ้นก็จะช่วยไปกระตุ้นตัวเปิดการเรียนรู้ภายในอีกอย่าง หนึ่ง ก็คือกระบวนการคิดพิจารณาอย่างแยบคาย หรือที่เรียกว่า โยนิโสมนสิกำร ให้เริ่มต้นและ ทางานไปด้วยกัน เริ่มตั้งแต่เยาวชนสนใจใฝ่รู้และคิดพิจารณาว่าจะทาดีอะไรถวายในหลวง ซึ่งตาม เงื่อนไขก็คือ การกระทานั้นควรตอบโจทย์หรือแก้ปัญหาจริงที่ทุกคนหรือส่วนใหญ่กาลังเผชิญอยู่ โดยช่วยกันระบุปัญหาให้ชัดเจน ค้นหาสาเหตุที่มาของปัญหานั้นๆ สืบสาว ปัจจัยแวดล้อมที่ เกี่ยวข้อง ทั้งบุคคล สถานการณ์ สถานที่ ฯลฯ เริ่มวิเคราะห์และกาหนดเป้าหมายของการแก้ปัญหา พิจารณาหาหนทางปฏิบัติ เพื่อนาไปสู่การแก้ปัญหาอย่างเป็นจริง ทั้งหมดนี้เป็นวิธีคิดพิจารณา แบบอริยสัจ ๔ นั่นเอง
  • 14. นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ๑๔ (๓) กระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม ตามหลักไตรสิกขำ (ลูกศร B และ C) กระบวนการไตรสิกขำ เป็นกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม ในด้านพฤติกรรม(ศีล) ด้านจิตใจ(สมาธิ) ด้านปัญญา(ปัญญา) ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ต้องจัดเตรียมเหตุปัจจัยให้เอื้อต่อการ กระทาหรือปฏิบัติงานจริง โครงการนี้จึงเน้นให้มีช่วงระยะเวลาดาเนินงานนาน เพื่อให้เพียงพอต่อ การค่อยๆ สะสมการเรียนรู้ สั่งสมและบ่มเพาะคุณความดีในจิตใจ และการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม จากประสบการณ์ที่พบจากการทาโครงงานคุณธรรมมา ๒ ปีนั้น ทาให้พบว่า อย่าง น้อยต้องมีเวลาประมาณ ๒ เดือนสาหรับการปฏิบัติงานจริงๆ (เฉพาะช่วงเวลาทางานจริง ไม่รวม ช่วงทางานเอกสาร) ศีล เป็นการเรียนรู้ด้านพฤติกรรมหรือการเรียนรู้ทักษะทางสังคมที่จะทางานร่วมกัน เป็นกลุ่มร่วมกับผู้อื่นอย่างเอื้ออาทร พร้อมที่จะให้กาลังใจและให้อภัยแก่กัน การระมัดระวัง คาพูด-การกระทา ที่จะไม่เบียดเบียนใคร หากมีการกระทบกระทั่งกันบ้างก็มีศีลกากับที่จะไม่ให้ เกินเลยไปจนกระทบกระแทกให้แตกทาลายความสัมพันธ์ระหว่างกัน การสารวมระวังทั้งทาง คาพูดและการกระทา การยอมรับสานึกผิด การให้อภัยกัน ก่อให้เกิดพัฒนาการทางด้าน พฤติกรรมไม่ให้เป็นมลภาวะเบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ก็จะทาให้การทางานกลุ่มเกิดขึ้นไปได้ ตลอดรอดฝั่ง สมำธิ เป็นการเรียนรู้ทางด้านจิตใจ ที่ต้องเผชิญสถานการณ์จริงจากการทางาน ทาให้ ต้องมีความมุ่งมั่นตั้งใจ ความขยันหมั่นเพียรกระทาอย่างต่อเนื่องไม่ท้อถอย มีความอดทน ทั้งต่อ ภาระงาน และทั้งต่อคนและสถานการณ์ที่เข้ามา นอกจากนี้ยังหมายถึงการเจริญงอกงามของคุณ ความดีหรือคุณธรรมในจิตใจ อันนาไปสู่ภาวะความสุขสดชื่น แจ่มใสผ่องใสในจิตใจ ตั้งมั่นเป็น สมาธิ ปัญญำเป็นการเรียนรู้ที่มาจากกระบวนการสังเกต สารวจ การคิดการพิจารณาไตร่ตรอง การตัดสินใจอย่างเป็นเหตุเป็นผลเป็นระบบ นาไปสู่ภาวะที่ออกจากปัญหา นาออกจากทุกข์ นาไปสู่ภาวะที่ดีงามเป็นบุญกุศล การเรียนรู้ทางปัญญาเริ่มจากการเรียนความรู้จากหลักธรรม คาสอน ข้อมูล ข้อเท็จจริง การจดจา การจับประเด็น การแยกแยะ การจัดหมวดหมู่ อันเป็น ปัญญาขั้นรู้จำ และพัฒนาขึ้นไปสู่ปัญญาขั้นรู้คิด อันเกิดจากการฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์คิด สังเคราะห์การคิดเชื่อมโยงเหตุปัจจัย การคิดพิจารณาคุณค่าแท้คุณค่าเทียมเป็นต้น และพัฒนา ไปสู่ปัญญาขั้นรู้แจ้งที่ทาให้แสวงหาทางออกจากปัญหาได้ ตลอดจนปัญญาที่ก่อเกิดจากการลงมือ ปฏิบัติเพื่อบรรลุผลของการแก้ไขปัญหาหรือดับทุกข์ได้ (เผด็จศึกกับปัญหา) และปัญญาติดตาม ประเมินผลอย่างเป็นระบบเพื่อปรับปรุงให้ดีขึ้น นาสู่การสั่งสมเป็นประสบการณ์และปรีชาญาณรู้ แจ้งในเรื่องนั้นๆ (๔) ขั้นกำรพัฒนำแบบเวียนรอบต่อเนื่อง (ภำวนำ๔ สู่ กัลยำณมิตร) (ลูกศร D) เมื่อผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียนรู้ใน ๓ ขั้นตอนแรกมาซ้าแล้วซ้าอีก เป็นเวลาต่อเนื่องกัน ในช่วงเวลาที่เหมาะสม (กรณีทาโครงงานคุณธรรม ต้องทางานจริงไม่น้อยกว่า ๒ เดือน) ผู้เรียน จะเกิดพัฒนาการในตนเองอย่างเป็นองค์รวมทุกด้าน ทั้ง พัฒนาการทางพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ร่างกายและกายภาพแวดล้อม (กำยภำวนำ) พัฒนาการทางสังคม (ศีลภำวนำ) พัฒนาการทาง จิตใจ (จิตภำวนำ) และพัฒนาการทางปัญญา (ปัญญำภำวนำ) หากมีพัฒนาการทั้ง ๔ ด้านพร้อม (กายภาวนา ศีลภาวนา จิตตภาวนา ปัญญาภาวนา) ก็จะ เป็นผู้ที่พร้อมที่จะมีบทบาทเป็นกัลยาณมิตรให้กับผู้อื่นได้ต่อไป ซึ่งก็จะเท่ากับว่าเป็นผู้เริ่มต้น ขับเคลื่อนวงจรแห่งการเรียนรู้วิถีพุทธนี้สืบไป ดังเช่น ข้อเท็จจริงที่พบว่าแทบทุกโครงงานมักจะ สรุปบทเรียนสาคัญว่า การจะไปเปลี่ยนแปลงผู้อื่น ต้องเริ่มจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ
  • 15. นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ๑๕ ตนเองก่อน (กายภาวนา และ ศีลภาวนา) และระหว่างที่เขาได้เรียนรู้เพื่อเปลี่ยนแปลงตนเอง ก็ทา ให้เขาได้เกิดการเรียนรู้คุณความดีหรือคุณธรรมจากภายใน (จิตภาวนา) ที่ค่อยๆ ซึมซับ และสั่ง สมเป็นประสบการณ์เป็นปัญญาญาณหยั่งรู้เชี่ยวชาญในเรื่องที่ตนเองทานั้น(ปัญญาภาวนา) เขาก็ จะพัฒนามาสู่ความเป็นกัลยำณมิตรที่สมบูรณ์ขึ้น อันจะก่อเกิดเป็นวงจรขับเคลื่อนที่ทรงพลังให้ เกิดการสืบเนื่องไปสู่ขั้นต่อๆ ไป นาพาให้เพื่อนคนอื่นๆ ได้เกิด การเรียนรู้และพัฒนาต่อเนื่อง ขยายวงออกไปได้ไม่สิ้นสุด ขั้นตอนในกำรทำโครงงำนคุณธรรม ขั้นตอนที่ ๑ กำรตระหนักรู้และพิจำรณำเลือกหัวเรื่องหรือประเด็นปัญหำ ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุด ที่ต้องอาศัยภาวการณ์ตระหนักรู้ในสถานการณ์หรือ สภาพปัญหาด้วยสติปัญญา หรือภาวะที่มีแรงบันดาลใจที่จะทาสิ่งดีงามอะไรบางอย่างที่เป็นความ ฝันหรืออุดมคติ ซึ่งอาจจะเกิดจากผู้เรียนเองโดยตรง หรืออาจจะเกิดจากการแนะนาหรือชี้ชวน จากครูที่ปรึกษาหรือผู้อื่นที่เป็นเงื่อนไขภายนอก มากระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักรู้หรือแรง บันดาลใจขึ้นก็ได้ การสร้างความตระหนักรู้นั้นเป็นขั้นตอนที่ยาก เพราะโดยทั่วไปสภาพการณ์ที่เป็นปัญหา ต่างๆ นั้นมักจะเกิดขึ้นอยู่แล้ว แต่มักจะถูกละเลยมองข้าม หรือชาชินเคยชินจนมองไม่เห็นปัญหา หรือไม่รู้สึกว่าตนเองมีส่วนเกี่ยวข้องกับปัญหานั้นอย่างไรในทานอง “เส้นผมบังภูเขา” หรือ “ปลา อยู่ในน้ามองไม่เห็นน้า” จึงต้องอาศัยเหตุปัจจัยภายนอก จากกัลยาณมิตรที่กระตุ้นปัจจัยภายใน ใจของผู้เรียนได้ถูกตรงกับจริตนิสัย ในเงื่อนไขสถานการณ์แวดล้อม และจังหวะเวลาที่พอเหมาะ พอดี จนเกิดฉันทะร่วมกันที่จะรวมกันเป็นกลุ่มเพื่อดาเนินการโครงงาน กิจกรรมแนะนำสำหรับครูที่ปรึกษำ ครูที่ปรึกษาอาจวางเงื่อนไขเบื้องต้นจากการให้ผู้เรียนสารวจและสังเกตสภาพปัญหาต่างๆ จากเพื่อนนักเรียน ปัญหาที่พบเห็นในห้องเรียน โรงเรียน วัด และชุมชน แล้วช่วยกันระดม ความคิดต่อปัญหาที่เกิดขึ้นให้ได้มากที่สุด แล้วมาอภิปรายกันในกลุ่มใหญ่หรือกลุ่มย่อยก็ได้ (อาจ ทาให้สนุกในลักษณะโต้วาทีหรือยอวาทีก็ได้) เพื่อเลือกประเด็นปัญหาที่มีความสนใจ หรือ อยากจะแก้ปัญหานั้นมากที่สุด เพื่อนามาตั้งเป็นประเด็นสาหรับทาโครงงาน คำแนะนำเพิ่มเติม (Tip) ความดี หรือ ประเด็นที่เลือกมาทาโครงงานนั้นมีที่มา ๒ ลักษณะด้วยกัน คือ ผู้เรียนเริ่ม คิดจาก (๑) ปัญหำที่อยำกแก้ หรือจาก (๒) สิ่งดีที่อยำกทำ จากประสบการณ์พบว่าผู้เรียนที่ เริ่มคิดจากความดีที่อยากทาก่อนนั้นมักยังมองแบบผิวเผิน ความคิดความเข้าใจยังไม่หยั่งรากลึก ความจริงแล้วแม้เป็นความดีที่อยากทาก็ตาม หากย้อนคิดพิจารณาให้ดีก็จะพบว่าสิ่งดีที่อยากทา นั้นต้องช่วยแก้ไขหรือปรับปรุงอะไรให้ดีขึ้นสักอย่างหนึ่งแน่ ครูที่ปรึกษาก็ต้องช่วยกระตุ้นชี้ชวน ให้ผู้เรียนได้ย้อนคิดพิจารณากลับไปที่ประเด็นปัญหาให้ได้ เช่น หากเด็กเริ่มต้นด้วยความคิด อยากปลูกต้นไม้ขึ้นมาลอยๆ ครูที่ปรึกษาอาจต้องถามให้ย้อนคิดไปว่า ทาไมหรือถึงต้องปลูก ต้นไม้? ปลูกที่ไหน? เพราะอะไรจึงต้องปลูกที่นี่? ปลูกต้นไม้มันช่วยแก้ปัญหาอะไรหรือ? หรือมัน ช่วยทาให้อะไรดีขึ้นบ้าง? ถ้าผู้เรียนช่วยกันคิดและตอบปัญหาเหล่านี้ได้ ก็จะได้ประเด็นปัญหาที่ ชัดเจนสาหรับการนามาตั้งเป็นประเด็นทาโครงงาน
  • 16. นวัตกรรม “ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ” ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา โดยครูแชมป์ ฟักอ่อน www.damsanid.blogger.com ๑๖ ขั้นตอนที่ ๒ กำรรวบรวมประมวลข้อมูลและองค์ควำมรู้ที่เกี่ยวข้อง เมื่อสมาชิกทุกคนในกลุ่มเห็นพ้องกันและตัดสินใจเลือกประเด็นปัญหาหรือหัวเรื่องได้แล้ว และได้รับความเห็นชอบจากที่ปรึกษาแล้ว ก็จะเป็นขั้นตอนของการระดมความคิดวางแผนงานใน เบื้องต้น โดยเริ่มจากการร่วมกันพิจารณาวิเคราะห์สภาพปัญหาแล้วสืบสาวไปหาสาเหตุและปัจจัย ร่วมต่างๆ การวางเป้าหมายและวิธีการแก้ปัญหา แล้วประมวลสิ่งที่วิเคราะห์ได้ทาเป็นผังมโน ทัศน์ ในขั้นตอนนี้จะพบว่ายังมีข้อมูลของสภาพปัญหาและปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องไม่เพียงพอหรือ ยังมีรายละเอียดที่ไม่ชัดเจน ตัวแปรสนับสนุนและองค์ความรู้ต่างๆ ที่จะนามาใช้ในการวางแผน แก้ปัญหาก็ยังมีไม่ครบถ้วนหรือยังไม่ชัดเจนเป็นต้น จึงต้องมีการรวบรวมข้อมูลและองค์ความรู้ เพิ่มเติม (ซึ่งอาจจะได้มาจากการสารวจโดยละเอียดหรือประมาณการโดยคร่าวๆ ก็ได้) จากการ พบปะสนทนาขอความร่วมมือจากบุคคลต่างๆ และจากการค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือตารา และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วนาข้อมูลที่รวบรวมได้ทั้งหมดมาประมวลเพื่อจัดเตรียมสาหรับคิด วางแผนทาร่ำงโครงงำนต่อไป โครงกำรพัฒนำโครงงำนคุณธรรม  นวัตกรรมกำรเรียนรู้โครงงำนคุณธรรม ๔ ประเภท ก. โครงงานสื่อคุณธรรม ข. โครงงานวิทย์-คุณธรรม ค. โครงงานธุรกิจคุณธรรม ง. โครงงานกำรเมืองคุณธรรม - โครงงานสื่อคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ มิใช่แค่ผลิตสื่อ แต่มีที่มาของความคิดว่า “ทาไม? ถึงผลิตสื่อคุณธรรมนี้” มีแผนงานการผลิตสื่อ มีกระบวนการนาไปใช้ มีการติดตามประเมินผลว่า สื่อที่ผลิตขึ้นนี้ ทาให้เกิดผลดีอย่างไรต่อผู้รับ สื่อ สื่อที่ผลิตขึ้นสามารถช่วยแก้ปัญหาที่ตั้งไว้ได้จริงหรือไม่? จึงจะมีควำมเป็นโครงงำน - โครงงานวิทย์-คุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ เป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มิใช่แค่ทดลองเสร็จประกวดจบแล้วเลิกทา ไม่จาเป็นต้องคิดค้นใหม่ก็ ได้ แต่เน้นการนาไปใช้จริงเพื่อพัฒนา/แก้ไขปัญหาจริงๆ ในลักษณะงานจิตอาสา-บาเพ็ญประโยชน์ ต่อส่วนรวม ในโรงเรียนหรือชุมชน โดยสร้างจิตสานึกความเสียสละต่อส่วนร่วมให้แก่เยาวชนได้ ดี (บางโครงงานสามารถต่อยอดเป็นโครงงานธุรกิจคุณธรรม หาทุนมาสนับสนุนกิจกรรมการ กุศลได้ด้วย) - โครงงานธุรกิจคุณธรรม เฉลิมพระเกียรติ (ธุรกิจ ๒ ช พอเพียง) (โครงงานธุรกิจเพื่อพัฒนาชีวิตและชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ) ธุรกิจที่ไม่ได้เน้นผลกาไรสูงสุด เน้น “ประโยชน์สุข” สูงสุด ธุรกิจที่มีควำมเป็นโครงงำน สอดคล้องกับหลักการเรียนรู้ “ร่วมกัน ทาดี อย่างมีปัญญา” และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ใช่ ธุรกิจบาป ไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข ไม่เป็นธุรกิจที่ขัดกับหลักศีลธรรมเป็นธุรกิจที่มีแนวคิดดีๆ ใหม่ๆที่ช่วยแก้ปัญหาจริงในโรงเรียนชุมชน ทาให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น เน้นการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น