SlideShare a Scribd company logo
1
ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบองค์ประกอบของศิลปะ
...........................................................................................................................
ความหมายและความสาคัญขององค์ประกอบศิลป์
มนุษย์เรารับรู้ถึงความสวยความงาม ความพอใจ ของสิ่งต่าง ๆ ได้แตกต่างกับระดับ
ความพอใจของแต่ละบุคคล ก็แตกต่างกันออกไปทั้งนี้อาจขึ้นกับรสนิยม สภาพสังคม ศาสนา
ความเชื่อและสิ่งแวดล้อมที่ผู้รับรู้ นั้นดารงชีวิตอยู่ หากแต่ว่าผู้รับรู้นั้นได้เข้าใจถึงกระบวนการ
องค์ประกอบและพื้นฐานที่สาคัญของสิ่งที่ได้สัมผัส ก็ย่อมทาให้รับรู้ถึงความงาม ความพอใจนั้น ๆ
เกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง
ศิลปะนั้นดูเหมือนว่าจะไม่มีกฎเกณฑ์อะไรมากนัก เพราะอาศัยแต่ความสุนทรียะ
ทางอารมณ์เพียงประการเดียว แต่หากว่าได้ศึกษาถึงความสุนทรียะอย่างลึกซึ้งแล้ว จะเห็นว่า
มีกฎเกณฑ์ในตัวของมันเอง ซึ่งผู้เรียนจะต้องศึกษาถึง องค์ประกอบต่าง ๆ เหล่านั้นที่ประกอบกัน
ขึ้นเป็นงานศิลปะ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คื อผู้เรียน จะต้องเข้าใจในหลัก องค์ประกอบของศิลปะ
เป็นพื้นฐานเสียก่อนจึงจะสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะที่มีคุณค่าและรับรู้ถึงความงามทางศิลปะ
ได้อย่างถูกต้อง
1. ความหมายขององค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบของศิลปะ (Composition) มาจากภาษาละติน โดยคาว่า Post นั้นหมายถึง
การจัดวางและคาว่า Comp หมายถึง เข้าด้วยกัน ซึ่งเมื่อนามารวมกันแล้วในทางศิลปะ Composition
จึงหมายความถึง องค์ประกอบของศิลปะ การจะเกิดองค์ประกอบศิลป์ได้นั้น ต้องเกิดจากการเอา
ส่วนประกอบของศิลปะ (Element of Art) มาสร้างสรรค์งานศิลปะเข้าด้วยหลักการจัดองค์ประกอบ
ศิลป์ (Principle of Art) จึงจะเป็นผลงานองค์ประกอบศิลป์ ความหมายขององค์ประกอบศิลป์นั้นได้
มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายเอาไว้ ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้
คาว่าองค์ประกอบ ตามความหมายพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถานคือ ส่วนต่าง ๆ
ที่ประกอบกันทาให้เกิดรูปร่างใหม่ขึ้นโดยเฉพาะ
องค์ประกอบศิลป์ หมายถึง สิ่งที่ศิลปินและนักออกแบบใช้เป็นสื่อในการแสดงออก
และสร้างความหมาย โดยนามาจัดเข้าด้วยกันและเกิดรูปร่างอันเด่นชัด (สวนศรี ศรีแพงพงษ์ : 82)
องค์ประกอบศิลป์ หมายถึง เครื่องหมายหรือรู ปแบบที่นามาจัดรวมกันแล้วเกิดรูปร่างต่าง
ๆ ที่แสดงออกในการสื่อ ความหมายและความคิดสร้างสรรค์ (สิทธิศักดิ์ ธัญศรีสวัสดิ์กุล : 56)
องค์ประกอบศิลป์ หมายถึง ศิลปะที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อแสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก
ความคิด หรือความงาม ซึ่งประกอบด้วย ส่วนที่มนุ ษย์สร้างขึ้นและส่วนที่เป็นการแสดงออก
เป็นผลที่เกิดจากโครงสร้างทางวัตถุ (ชลูด นิ่มเสมอ :18)
2
องค์ประกอบศิลป์ หมายถึง ส่วนประกอบต่าง ๆ ของศิลปะ เช่น จุด เส้น รูปร่าง ขนาด
สัดส่วน น้าหนัก แสง เงา ลักษณะพื้นผิว ที่ว่างและสี (มานิต กรินพงศ์:51)
องค์ประกอบศิลป์ คือความงาม ความพอดี ลงตัว อันเป็นรากฐานเนื้อหาของศิลปะ อีกทั้ง
ยังเป็นเครื่องมือที่สาคัญ ทางศิลปะให้ผู้สร้างสรรค์ได้สื่อสารความคิดของตนเองไปสู่บุคคลอื่น
(สุชาติ เถาทอง, สังคม ทองมี, ธารงศักดิ์ ธารงเลิศฤทธิ์, รอง ทองดาดาษ: 3)
2. ความสาคัญขององค์ประกอบศิลป์ ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในสาขาต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็นสาขาวิจิตรศิลป์ หรือประยุกต์ศิลป์ ผู้สร้างสรรค์นั้นต้องมีความรู้เบื้องต้นด้านศิลปะ
มาก่อน และศึกษาถึงหลักการองค์ประกอบพื้นฐาน องค์ประกอบที่สาคัญ การจัดวางองค์ประกอบ
เหล่านั้น รวมถึงการกาหนดสี ในลักษณะต่าง ๆ เพิ่มเติมให้เกิดความเข้าใจ เพื่อเวลาที่สร้างผลงาน
ศิลปะ จะได้ผลงานที่มีคุณค่า ความหมาย และความงามเป็นที่น่าสนใจแก่ผู้พบเห็น หากสร้างสรรค์
ผลงานโดยขาดองค์ประกอบศิลป์ ผลงานนั้นอาจดูด้อยค่า หมดความหมายหรือไม่น่าสนใจ
เห็นได้ว่าองค์ประกอบศิลป์นั้นมีความสาคัญอย่างมากในการสร้างงานศิลปะ พอสรุปได้ดังนี้
การสร้างสรรค์งานศิลปะให้ได้ดีนั้น ผู้สร้างสรรค์จะต้องทาความเข้าใจกับองค์ประกอบ
ศิลป์เป็นพื้นฐานเสียก่อน ไม่เช่นนั้นแล้วผลงานที่ออกมามักไม่สมบูรณ์เท่าไรนักซึ่งองค์ประกอบ
หลักของศิลปะ คือรูปทรงกับเนื้อหา (ชลูด นิ่มเสมอ)
องค์ประกอบศิลป์ เป็นเสมือนหัวใจดวงหนึ่งของการทางานศิลปะ เพราะในงาน
องค์ประกอบศิลป์หนึ่งชิ้น จะประกอบไปด้วย การร่างภาพ การจัดวางให้เกิดความงาม และการใช้สี
ซึ่งแต่ละอย่างจะต้องเรียนรู้สู่รายละเอียดลึกลงไปอีก องค์ประก อบศิลป์จึงเป็นพื้นฐานสาคัญ
จึงต้องเรียนรู้ก่อนที่จะศึกษาในเรื่องอื่น ๆ (อนันต์ ประภาโส)
องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบและการใช้สี เป็นหลักการที่สาคัญ
ในการสร้างสรรค์ให้งานศิลปะ เกิดความงาม ไม่ว่าจะเป็นจิตรกรรม วาดเขียน ประติมากรรม
สถาปัตยกรรมและการพิมพ์ภาพ หากปราศจากความรู้ ความเข้าใจเสียแล้วผลงานนั้นๆก็จะไม่มีค่า
หรือความหมายใด ๆ เลย (สวนศรี ศรีแพงพงษ์)
องค์ประกอบศิลป์ จัดเป็นวิชาที่มีความสาคัญสาหรับผู้ศึกษางานศิลปะ หากว่าขาดความรู้
ความเข้าใจในวิชานี้แล้ว ผลงานที่สร้างขึ้นมาก็ยากที่ประสบความสาเร็จ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
งานศิลปะสมัยใหม่ที่มีการแสดงเฉพาะ เส้น สี แสง เงา น้าหนัก พื้นผิว จังหวะ และบริเวณที่ว่าง
มีความจาเป็นอย่างยิ่งต้องนาหลักการองค์ประกอบศิลป์มาใช้
หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์มีความสาคั ญและเกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์โดยตรง
ทั้งวิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์ การจัดภาพหรือออกแบบสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ให้เกิดคุณค่า
ความงามนั้น การจัดองค์ประกอบศิลป์จะมีบทบาทสาคัญมากที่สุด (จีรพันธ์ สมประสงค์: 15)
3
จากทรรศนะต่าง ๆ สรุปได้ว่า องค์ประกอบศิลป์เป็นหัวใจสาคัญของงานศิลปะ
ทุกสาขา เพราะงานศิลปะใดหากขาดการนาองค์ประกอบศิลป์ไปใช้ จะทาให้งานนั้นดูไม่มีคุณค่า
ทั้งด้านทางกายและทางจิตใจของผู้ดูหรือพบเห็นขณะเดียวกัน ก็จะบ่งบอกถึงภูมิความรู้
ความสามารถของผู้สร้างสรรค์ผลงานนั้นด้วย
การที่จะเข้าถึงศิลปะ(Appreciation) นั้น จะต้องผ่านการฝึกฝนและหาทางดู เพื่อให้เกิด
ความเข้าใจ ทั้งจะต้องมีรสนิยมที่ดีพอสมควร การฝึกฝน การทาซ้า ๆ อย่างสนใจ เมื่อนานเข้า
ก็จะเกิดความเข้าใจ ทาด้วยความคุ้นเคยกับสิ่งเหล่านั้น จึงจะเข้าใจ รู้เห็นในคุณค่าของศิลปะนั้ น ๆ
ได้ดี
องค์ประกอบพื้นฐานด้านนามธรรมของศิลปะ
องค์ประกอบพื้นฐานด้านนามธรรมของศิลปะ เป็นแนวคิด หรือจุดกาเนิดแรกที่ศิลปิน
ใช้เป็นสิ่งกาหนดทิศทาง ในการสร้างสรรค์ ก่อนที่จะมีการสร้างผลงานศิลปะ ประกอบด้วย เนื้อหา
กับเรื่องราว
1. เนื้อหาในท างศิลปะ คือ ความคิดที่เป็นนามธรรมที่แสดงให้เห็นได้ โดยผ่าน
กระบวนการทางศิลปะ เช่น ศิลปินต้องการเขียนภาพที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับชนบท ก็จะแสดงออก
โดยการเขียนภาพทิวทัศน์ของชนบท หรือภาพวิถีชีวิตของคนในชนบท เป็นต้น
2. เรื่องราวในทางศิลปะ คือส่วนที่แสดงความคิดทั้งหมดของศิลปินออกมาเป็นรูปธรรม
ด้วยกระบวนการทางศิลปะ เช่น ศิลปินเขียนภาพชื่อชาวเขา ก็มักแสดงรูปเกี่ยวกับวิถีชีวิต
หรือกิจกรรมส่วนหนึ่งของชาวเขา นั่นคือเรื่องราว ที่ปรากฏออกมาให้เห็น
ประเภทของความสัมพันธ์ของเนื้อหากับเรื่องร าวในงานทัศนศิลป์นั้น เนื้อหา
กับเรื่องราวจะมีความสัมพันธ์กัน น้อยหรือมาก หรืออาจไม่สัมพันธ์กันเลย หรืออาจไม่มีเรื่องเลย
ก็เป็นไปได้ทั้งนั้น โดยขึ้นกับลักษณะของงาน และเจตนา ในการแสดงออกของศิลปิน
ซึ่งเราสามารถแยกได้ดังต่อไปนี้ คือ
1. การเน้นเนื้อหาด้วยเรื่อง ได้แก่ การใช้เรื่องที่ตรงกับเนื้อหา และเป็นตัวแสดงเนื้อหา
ของงานโดยตรง ตัวอย่างเช่น เมื่อศิลปินต้องการให้ความงามทางด้านดอกไม้ เป็นเนื้อหาของงาน
ก็จะหาดอกไม้ที่สวยงามมาเป็นเรื่องสีสันและความอ่อนช้อยของกลีบดอกจะช่วยให้ เกิดความงาม
ขึ้นในภาพ
2. เนื้อหาที่เป็นผลจากการผสมผสานระหว่างศิลปินกับเรื่อง ในส่วนนี้ศิลปินจะเสนอ
ความเห็นส่วนตัว หรือผสมความรู้สึกส่วนตัวเข้าไปในเรื่อง เป็นการผสมกันระหว่างรูปลักษณะ
ของเรื่องกับจินตนาการของศิลปิน เช่น เรื่องความงามของดอกไม้ โดยศิลปินผสม ความรู้สึกนึกคิด
ของตนเองลงไปในเรื่องด้วย เขาจะดัดแปลง เพิ่มเติมรูปร่างของดอกไม้ ให้งามไปตามทัศนะ
และใช้องค์ประกอบทางศิลปะเป็นองค์ประกอบทางรูปทรงให้สอดคล้องกับความงามของเรื่อง
4
3. เนื้อหาที่เป็นอิสระจากเรื่อง เมื่อศิลปินผสมจินตนาการของตนเองเข้าไป ในงานมากขึ้น
ความสาคัญของเรื่อง จะลดลง ดอกไม้ที่สวยที่เป็นแบบอาจถูกศิลปินตัดทอนขัดเกลา
หรือเปลี่ยนแปลงมากที่สุด จนเรื่องดอกไม้ นั้นหมดความสาคัญไปอย่างสิ้นเชิง เหลือแต่เนื้อหา
ที่เป็นอิสระ การทางานแบบนี้ศิลปินอาศัยเพียงเรื่อง เป็นจุดเริ่ มต้นแล้ว เดินทางห่างออกจากเรื่อง
จนหายลับไป เหลือแต่รูปทรงและตัวศิลปินเองที่เป็นเนื้อหาของงาน กรณีนี้เนื้อหาภายใน
ซึ่ง หมายถึงเนื้อหาที่ที่เกิดขึ้นจากการประสานกันของรูปทรงจะมีบทบาทมากกว่าเนื้อหาภายนอก
หรือบางครั้งจะไม่แสดงเนื้อหาภายนอกออกมาเลย
4. เนื้อหาไม่มีเรื่อง ศิลปินบางประเภท ไม่มีความจาเป็นต้องใช้เรื่องเป็นจุดเริ่มต้นงาน
ไม่มีเรื่อง มีแต่รูปทรงกับเนื้อหา โดยรูปทรงเป็นเนื้อหาเสียเองโดยตรง เป็นเนื้อหาภายในล้วน ๆ
เป็นการแสดงความคิด อารมณ์ และบุคลิกภาพของศิลปินแท้ ๆ ลงไปในรูปทรงที่บริสุ ทธิ์
งานประเภทนี้จะเห็นได้ชัดในดนตรีและงานทัศนศิลป์ที่เป็นนามธรรม และแบบนอนออบเจคตีฟ
องค์ประกอบพื้นฐานด้านรูปธรรมของศิลปะองค์ประกอบพื้นฐานด้านรูปธรรม
ของศิลปะ คือสิ่งที่แสดงแนวคิดเกี่ยวกับเนื้อหาและเรื่องราวของศิลปินใ ห้เห็นหรือรับรู้ผ่านผลงาน
ศิลปะ ประกอบด้วย เอกภาพ ดุลยภาพ และจุดเด่น
1. เอกภาพ หมายถึงการนาองค์ประกอบของศิลปะมาจัดเข้าด้วยกันให้แต่ละหน่วย
มีความสัมพันธ์ เกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน ประสานกลมกลืนเกิดเป็นผลรวมที่แบ่งแยกไม่ได้
โดยถ่ายทอดเป็นผลงานศิลปะด้วยกระบวนการศิลปะ
2. ดุลยภาพ คือการนาองค์ประกอบของศิลปะมาจัดเข้าด้วยกันให้เกิดความเท่ากัน
หรือสมดุล โดยมีเส้นแกนสมมุติ 2 เส้น เป็นตัวกาหนดดุลยภาพเส้นแกนสมมุติจะทาหน้าที่แบ่งภาพ
ออกเป็นด้านซ้ายและด้านขวา หรือด้านบนและด้านล่าง เพื่อให้ผล งานศิลปะที่ปรากฏ
เกิดความสมดุลในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เช่นแบบซ้ายขวาเหมือนกันและแบบซ้าย ขวา
ไม่เหมือนกัน
3. จุดเด่น คือ ส่วนที่สาคัญในภาพ มีความชัดเจนสะดุดตาเป็นแห่งแรก รับรู้ได้
ด้วยการมองผลงานที่สาเร็จแล้ว จุดเด่นจะมีลักษณะการมีอานาจ ตระหง่าน ชัดเจนกว่าส่วนอื่น
ทั้งหมด โดยเกิดจากการเน้นให้เด่นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เช่น จุดเด่นที่มีความเด่นชัด
หรือจุดเด่นที่แยกตัวออกไปให้เด่น
เส้น (Line)
เกิดจากจุดที่เรียงต่อกัน หรือเกิดจากการลากเส้นไปยังทิศทางต่าง ๆ มีหลายลักษณะ
เช่น ตั้ง นอน เฉียง โค้ง ฯลฯ เส้น เกิดจากเคลื่อนที่ของจุด หรือถ้านาจุดมาวางเรียงต่อ ๆ กันก็จะเกิด
เป็นเส้นขึ้น เส้นมีมิติเดียว คือ ความยาว ไม่มีความกว้าง ทาหน้าที่เป็นขอบเขตของที่ว่าง รูปร่าง
รูปทรง สี น้าหนัก รวมทั้งเป็นแกนหลักโครงสร้างของรูปร่างรูปทรงต่าง ๆ
5
เส้น คือ ร่องรอยที่เกิดจากเคลื่อนที่ของจุด หรือถ้าเรานาจุดมาวางเรียงต่อ ๆ กันไป
ก็จะเกิดเป็นเส้นขึ้น เส้นมีมิติเดียว คือ ความยาว ไม่มีความกว้าง ทาหน้าที่เป็นขอบเขต ของที่ว่าง
รูปร่าง รูปทรง น้าหนัก สี ตลอดจนกลุ่มรูปทรงต่าง ๆ รวมทั้ งเป็นแกนหรือ โครงสร้างของรูปร่าง
รูปทรง
เส้นเป็นพื้นฐานที่สาคัญของงานศิลปะทุกชนิด เส้นสามารถให้ความหมาย
แสดงความรู้สึกและอารมณ์ด้วย การสร้างเป็นรูปทรงต่างๆ ขึ้น เส้นมี 2 ลักษณะคือ เส้นตรง
(Straight Line) และ เส้นโค้ง (Curve Line) เส้นทั้งสองชนิดนี้เมื่อนามาจัดวางในลักษณะต่าง ๆ กัน
และให้ความหมาย ความรู้สึก ที่แตกต่างกันออกไปด้วย
รูปที่ 1.1 : ลักษณะของเส้น
ลักษณะของเส้น
เส้นมีจุดเด่นที่นามาใช้ได้หลากหลายรูปแบบ ทาให้เกิดรูปร่างรูปทรงต่าง ๆ
มากมาย เพื่อต้องการสื่อให้เกิดความรู้สึกทางด้านอารมณ์ จากการสร้างสรรค์ของงาน
1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น
เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง
2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย
3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง
4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว อย่างเป็น
จังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง
5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ
อ่อนโยน นุ่มนวล
6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทาง
ที่หมุนวน ถ้ามองเข้าไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไม่สิ้นสุด
6
7. เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยน
ทิศทางที่รวดเร็ว ไม่หยุดนิ่ง
8. เส้นประ ให้ความรู้สึกที่ไม่ต่อเนื่อง ขาด หาย ไม่ชัดเจน ทาให้เกิดความเครียด
ความสาคัญของเส้น
1. ใช้ในการแบ่งที่ว่างออกเป็นส่วน ๆ
2. กาหนดขอบเขตของที่ว่าง หมายถึง ทาให้เกิดเป็นรูปร่าง (Shape) ขึ้นมา
3. กาหนดเส้นรอบนอกของรูปทรง ทาให้มองเห็นรูปทรง (Form) ชัดขึ้น
4. ทาหน้าที่เป็นน้าหนักอ่อนแก่ ของแสดงและเงา หมายถึง การแรเงาด้วยเส้น
5. ให้ความรู้สึกด้วยการเป็นแกนหรือโครงสร้างของรูป และโครงสร้างของภาพ
รูปร่างและรูปทรง ( Shape and Form)
รูปร่าง คือ พื้นที่ ๆ ล้อมรอบด้วยเส้นที่แสดงความกว้าง และความยาว รูปร่างจึงมี
สองมิติรูปทรง คือ ภาพสามมิติที่ต่อเนื่องจากรูปร่าง โดยมีความหนา หรือความลึก ทาให้ภาพที่เห็น
มีความชัดเจน และสมบูรณ์
รูปร่างและรูปทรงแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะใหญ่ คือ
1. รูปเรขาคณิต (Geometric Form) มีรูปร่างรูปทรงที่แน่นอน มาตรฐาน สามารถ
วัดหรือคานวณได้ มีกฎเกณฑ์ เช่น รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงรี ห้าเหลี่ยม หกเหลี่ยม พีระมิด
เป็นต้น รูปเรขาคณิตเป็นโครงสร้างพื้นฐานของรูปทรงต่าง ๆ ดังนั้น การสร้างสรรค์รู ปอื่น ๆ
ควรศึกษารูปเรขาคณิตให้เข้าใจถ่องแท้เสียก่อน
2. รูปทรงธรรมชาติ (Nature Form) เป็นการเลียนแบบธรรมชาติ นารูปทรงที่มีอยู่
ตามธรรมชาติรอบตัวเรา เช่น ดอกไม้ , ใบไม้, สัตว์ต่าง ๆ , สัตว์น้า แมลง, มนุษย์ เป็นต้น มาใช้เป็น
แม่แบบในการออกแบบและสร้างสรรค์ โดยยังคงให้ความรู้สึกและรูปทรงที่เป็นธรรมชาติอยู่
ส่วนผลงานบางชิ้น ที่ล้อเลียนธรรมชาติ โดยใช้รูปทรงเช่น ตุ๊กตาหมี , การ์ตูน, อวัยวะของร่างกาย
เรา เป็นต้น ยังคงเป็นรูปทรงตามธรรมชาติ ให้เห็นอยู่ บางครั้งได้มีการนาวัสดุที่มีอยู่ ตามธรรมชาติ
เช่น เปลือกหอย, กิ่งไม้, ขนนก ฯลฯ นามาออกแบบ ดัดแปลง สร้างสรรค์ผลงาน รูปทรงก็ไม่ได้
เปลี่ยนแปลงมากนัก
3. รูปทรงอิสระ (Free Form) เป็นรูปแบบโครงสร้างที่ไม่แน่นอน ให้ความรู้สึก
เคลื่อนไหว เลื่อนไหล ให้ความอิสระ และได้อารมณ์ ความเคลื่อนไหวเป็นอย่างดี รูปอิสระอาจเกิด
จากรูปเรขาคณิต หรือรูปธรรมชาติ ที่ถูกกระทาจนมีรูปลักษณะเปลี่ยนไปจากเดิมจนไม่เหลือสภาพ
เดิม
7
8
รูปที่ 1.2 : ลักษณะของเส้น
9
แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบองค์ประกอบของศิลปะ
คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องและเหมาะสมที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วกาเครื่องหมาย X
ลงในช่องว่างให้ตรงกับอักษรกากับข้อคาตอบในกระดาษคาตอบ
1. ข้อความใดที่มีความหมายตรงกับองค์ประกอบศิลป์
ก. ศิลปะเกิดจากมนุษย์สร้างขึ้นเพื่อแสดงออกทางอารมณ์
ข. การนาศิลปะมาจัดเข้าด้วยกันให้แต่ละหน่วยมีความสัมพันธ์
ค. การนาศิลปะมาจัดเข้าด้วยกันให้เกิดความเท่ากัน
ง. การนาความรู้สึกส่วนตัวเข้าไปผสมกันกับรูปลักษณะ
2. พื้นฐานด้านรูปธรรมของศิลปะ องค์ประกอบที่สาคัญหมายถึงข้อใด
ก. เอกภาพ
ข. ดุลภาพ
ค. จุดเด่น
ง. ถูกทุกข้อ
3. เส้นแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ข้อความใดถูกต้องมากที่สุด
ก. เส้นตรง เส้นหยัก
ข. เส้นตรง เส้นโค้ง
ค. เส้นตรง เส้นเฉียง
ง. เส้นตั้ง เส้นนอน
4. ดอกไม้ ใบไม้ สัตว์ต่าง ๆ และมนุษย์ มีรูปร่างรูปทรงตรงกับข้อใด
ก. รูปทรงเรขาคณิต
ข. รูปทรงธรรมชาติ
ค. รูปทรงอิสระ
ง. รูปทรงลูกบาศก์
5. ความหมายของเส้นตั้ง (Vertical Line) คือข้อใด
ก. แสดงความสง่า ความเกลี้ยง ความรู้สึกแข็งแรง
ข. แสดงถึงความสูง ความแข็งแรง มีระเบียบให้ทิศทาง
ค. แสดงถึงความกว้าง ความสงบ ความนิ่งเฉย ราบเรียบ
ง. แสดงถึงความไม่อยู่นิ่ง เปลี่ยนแปลง ว่องไว เคลื่อนไหว
10
6. เส้นที่สร้างความนุ่มนวลและกลมกลืน ห้องที่มีเส้นตั้งและเส้นนอนมาก ๆ
จะให้ความรู้สึกกระด้าง แต่สามารถลดความกระด้างลงได้ด้วยการใช้เส้นชนิดใด
ก. เส้นทแยงหรือเส้นเฉียง
ข. เส้นหยัก
ค. เส้นโค้ง
ง. เส้นขาดหรือเส้นประ
7. ข้อใดมองแล้วให้ความรู้สึกสูง
ก. ข. ค. ง.
8. ข้อใดดูแล้วสวยงามในด้านจัดองค์ประกอบ
ก. ข. ค. ง.
9. จัตุรัสภายในซึ่งมีขนาดเท่ากัน ปูลายด้วยเส้นทแยง เส้นตั้ง เส้นนอน และลายวงกลม
จัตุรัสภายในข้อใดดูเล็กลง
ก. ข. ค. ง.
11
10. ความหมายของเส้นที่แสดงถึงความก้าวหน้า คือข้อใด
ก.
ข.
ค.
ง.
……………………………………………………………….
12
เฉลย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบองค์ประกอบของศิลปะ
1. ก
2. ง
3. ข
4. ข
5. ข
6. ค
7. ก
8. ง
9. ง
10. ค
.......................................................................................................
13
ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
เรื่อง องค์ประกอบของศิลปะ
...........................................................................................................................
องค์ประกอบของศิลปะ
เป็นองค์ประกอบที่ถูกกาหนดขึ้นโดยธรรมชาติ เป็นองค์ประกอบมูลฐานของความงาม
ในการออกแบบ จาเป็นต้องเข้าใจคุณค่าและมูลฐาน ที่สาคัญของความงาม สามารถนาไปใช้ให้เกิด
ความกลมกลืน องค์ประกอบของศิลปะประกอบด้วย จุด (Point) เส้น (line) สี (color) รูปร่างรูปทรง
(shape and form) ลักษณะผิว (texture) ลวดลาย (pattern) และช่องว่าง (space or volume)
จุดมุ่งหมายขององค์ประกอบศิลปะ
1. เพื่อดึงดูดความสนใจ การสร้างงานศิลปะ ศิลปินต้องมีจุดมุ่งหมายเพื่อความพอใจ
ของตนเองและผู้อื่น จึงต้องพยายามที่จะสร้างผลงานให้ออกมาน่าสนใจ โดยนาองค์ประกอบต่าง ๆ
มาจัดเข้าด้วยกัน และใช้การเน้นหรือความโดดเด่นเป็นสาคัญ (Center of interest)
2. เพื่อแสดงความมุ่งหมาย การนาองค์ประกอบมาจัดอย่างเหมาะสมเพื่อสื่อเรื่องราว
โดยผู้สื่อจะต้องสามารถทาให้ผู้มองมีความตั้งใจและใช้เวลามากพอที่จะพิจารณาผลงาน
ได้ตรงตามความมุ่งหมายของผู้สร้างงาน
รูปที่ 2.1 : ภาพส่วนประกอบขององค์ประกอบศิลปะ
การแบ่งองค์ประกอบศิลปะ
องค์ประกอบบางเรื่องเป็นส่วนหนึ่งขององค์ประกอบอีกเรื่องหนึ่ง เช่น เส้นเป็นส่วน
หนึ่งของรูปร่างรูปทรง องค์ประกอบบางเรื่องเป็นผลมาจากองค์ประกอบอื่น ๆ เช่น ค่าความอ่อน
ความแก่ทาให้เกิดแสงเ งา แสงเงาทาให้เกิดรูปร่างมองเห็นเป็นรูปทรง รูปทรงที่ถูกขนาดสมจริง
ทาให้เกิดสัดส่วน ความแตกต่างกันของเส้น รูปทรง สี ลักษณะผิว ทาให้เกิดการตัดกัน
14
ความคล้ายคลึงของเส้น สี ลักษณะผิวหรือรูปร่าง รูปทรง ทาให้เกิดความกลมกลืน หรือการซ้า
เป็นจังหวะเหมือนกันทาให้เกิดลวดลาย เป็นต้น จะสังเกตเห็นว่าองค์ประกอบแต่ละเรื่อง
มีความสัมพันธ์กัน จึงมีการแบ่งองค์ประกอบออกเป็น 2 แบบ ตามหน้าที่และความจาเป็น ดังนี้
องค์ประกอบที่เป็นพื้นฐานในการสร้างงานศิลปะ
1. จุด (point) เป็นส่วนประกอบที่เล็กที่ สุด ที่จะเริ่มต้นไปสู่ส่วนอื่น ๆ จึงเป็นจุดที่มีมวล
(mass) และมีปริมาตร ได้ด้วย จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ก็ได้ การใช้จุด ก็เพื่อบอกถึงความต่อเนื่อง
เชื่อมโยง การเน้นนาสายตา หรือจะใช้เน้น ให้เกิดความเด่น ขององค์ประกอบอื่น ๆ ก็ได้
จุดจะกาหนดตาแหน่งในที่ว่าง โดยความรู้สึกของเราแล้ว จุดไม่มีความยาว ความกว้าง และความลึก
ฉะนั้นจุดจึงอยู่นิ่ง ไม่มีการเคลื่อนไหว (static) ไม่มีทิศทาง และเป็นศูนย์รวม (centralized)
รูปที่ 2.2 : การแสดงภาพส่วนประกอบของจุด
2. เส้น (line) เส้นในทางเรขาคณิตหรือในทางการเขียนแบบ หมายถึงจุดที่เรียงต่อ ๆ กัน
ส่วนใหญ่ใช้เครื่องมือเขียนแบบกาหนดขนาดและทิศทางแต่เส้นในการออกแบบจะมีอิสระ
ทั้งขนาด ทิศทาง ระยะ มีสภาพเป็น ตัวแบ่งพื้นที่ หรือกาหนดบริเวณว่าง (space) และสร้างรูปทรง
ขององค์ประกอบต่า ง ๆ เส้นในการออกแบบจะให้ความรู้สึกต่อการมองด้วย ให้ความรู้สึก
เคลื่อนไหว ความต่อเนื่องสัมพันธ์ และการนาสายตา ลักษณะของเส้นในการออกแบบ มีลักษณะ
ต่าง ๆ เช่น
2.1 เส้นตั้งตรง ให้ความรู้สึกมั่นคง แข็งแกร่ง แน่นอน ตรง สง่า แสดงถึงความสูง เส้นตั้ง
ที่ปรากฏในสวน เช่น ต้นไม้ เสาโคมไฟ กาแพง รั้ว
2.2 เส้นนอนหรือเส้นระดับ ให้ความรู้สึกราบเรียบ สงบ พักผ่อน เช่น เส้นที่ขอบฟ้าไกล
ตัดกับทะเลยามเย็น ในทางการจัดสวนเส้นนอนจะสร้างพื้นที่ในทางราบ เช่น สนามหญ้า ผิวน้า
ทางเดิน เส้นที่เกิดจากการตัดแต่งต้นไม้ เช่น แนวของเข็มญี่ปุ่น แสยก อิทธิพลของเส้นนอนในสวน
จะช่วยลด ความสูงโดดของเส้นตั้ง ถือเป็นมิติ ลวงตา
15
2.3 เส้นโค้ง ให้ความรู้สึกนุ่มนวล อ่อนไหว สบาย และความเป็นอิสระ การเคลื่อนที่
จะเห็นได้ว่าในการออกแบบสวน จะใช้เส้นโค้งมาก เช่น เส้นที่ไหลคดเคี้ยว ของสน ามหญ้า
ทางเดินเท้า ถนน สระน้า
2.4 เส้นทแยง เส้นขวาง เส้นซิกแซก เส้นเหล่านี้ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว รวดเร็ว ตื่นเต้น
แข็งกร้าว อิทธิพลของเส้นลักษณะนี้ คือ ความมีแบบแผน น่าเกรงขาม จึงเป็นเส้นที่มักใช้ ตกแต่ง
สวนประดิษฐ์
รูปที่ 2.3 : การแสดงภาพส่วนประกอบของเส้น
3. รูปร่างและรูปทรง (form and shape)
เมื่อเรามองเห็นต้นไม้ เส้นรอบนอกของทรงพุ่มที่มีลักษณะ คดโค้ง หรือเส้นตั้ง
ของลาต้น ซึ่งเป็นเส้นรอบรูปที่ตัดกับบริเวณว่าง สิ่งนั้นคือ รูปร่าง (Form) มี 2 มิติ (กว้างกับยาว)
ส่วนเนื้อที่ภายในของทรงพุ่มหรือทรงกระบอก ของลาต้นนั้น เป็นรูปทรง (shape) มี 3 มิติ
ให้ความรู้สึกเป็นกลุ่มก้อน มีน้าหนัก มีเนื้อที่ภายใน (กว้าง ยาว และลึก)
3.1 รูปร่าง รูปทรงธรรมชาติ เป็นรูปร่างที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
3.2 รูปร่าง รูปทรงเรขาคณิต เป็นรูปร่างที่ประกอบด้วยเส้นตรงและเส้นโค้ง เช่น
รูปครึ่งวงกลม รูปวงกลม รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปห้าเหลี่ยม เป็นต้น
3.3 รูปร่าง รูปทรงอิสระ เป็นรูปร่าง รูปทรงต่าง ๆ ที่นอกเหนือจากรูปร่าง
ธรรมชาติ และรูปร่างเรขาคณิต
16
รูปที่ 2.4: การแสดงภาพรูปร่างและรูปทรงธรรมชาติ
รูปที่ 2.5 : การแสดงภาพรูปร่างและรูปทรงเรขาคณิต
รูปที่ 2.6 : การแสดงภาพรูปร่างและรูปทรงอิสระ
17
4. มวลและปริมาตร (Mass and volume)
มวล หมายถึง เนื้อทั้งหมดของสาร ถ้าเป็นพุ่มไม้ ก็คือ พื้นที่ภายในทรงพุ่มทั้งหมด
มวลของหิน คือ เนื้อที่แข็งแกร่งของหิน
ปริมาตร (Volume) คือ พื้นที่กินระวางในอากาศหรือบริเวณว่าง (space) ของวัตถุต่าง ๆ
กาหนดเป็นรูปทรงที่แสดงเป็น 3 มิติ การกาหนดมวลและปริมาตร มักจะถูกเรียกกลืนไปกับ
เรื่องของเนื้อที่และปริมาณ เช่น ใช้พันธุ์ไม้ในปริมาณที่มาก ๆ มาปลูกรวมกัน เพื่อสร้างเนื้อที่
ดังนั้น ในการจัดวางองค์ประกอบต่าง ๆ ลงในพื้นที่ ต้องคานึงถึงปริมาณของวัตถุและการใช้เนื้อที่
รูปที่ 2.7 : การแสดงภาพมวลและปริมาตร
การจัดองค์ประกอบทางศิลปะ
การจัดองค์ประกอบทางศิลปะ เป็นหลักสาคัญสาหรับผู้สร้างสรรค์ ผู้ศึกษา
งานศิลปะ มีคุณค่าอยู่ 2 ประการ คือ คุณค่าทางด้านรูปทรงรูปทรงเกิดจากการนาเอาองค์ประกอบ
ต่างๆ ของศิลปะได้แก่ เส้น สี แสงและเงา รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว ฯลฯ มาจัดเข้าด้วยกันเพื่อให้เกิด
ความงาม ซึ่งแนวทางในการนาองค์ประกอบต่าง ๆ มาจัดรวมกันนั้นเรียกว่า การจัดองค์ ประกอบ
ศิลป์ (Art Composition) และอีกคุณค่าหนึ่งของงานศิลปะ คือ คุณค่าทางด้านเนื้อหา เป็นเรื่องราว
หรือสาระของผลงานที่ศิลปินผู้สร้างสรรค์ ต้องกา รที่จะแสดงออกมา ให้ผู้ชมได้สัมผัส รับรู้
โดยอาศัยรูปลักษณะที่เกิดจากการจัดองค์ประกอบศิลป์ มีหลักที่ควรคานึงอยู่ 5 ประการ คือ
1. สัดส่วน หมายถึง ความสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสมระหว่างขนาดขององค์ประกอบ
ที่แตกต่างกัน ทั้งขนาดที่อยู่ในรูปทรงเดียวกันหรือระหว่างรูปทรง และรวมถึงความสัมพันธ์
กลมกลืนระหว่างองค์ประกอบทั้งหลายด้วย ซึ่งเป็นความพอเหมาะพอดี ไม่มากไม่น้อย
ขององค์ประกอบทั้งหลายที่นามาจัดรวมกัน พิจารณาจากคุณลักษณะดังต่อไปนี้
18
1.1 สัดส่วนที่เป็นมาตรฐาน จากรูปลักษณะตามธรรมชาติของ คน สัตว์ พืช จะมี
ความงามที่เหมาะสมที่สุด หรือจากรูปลักษณะที่เป็นการสร้างสรรค์ของมนุษย์ ทาให้สิ่งต่าง ๆ
ที่สร้างขึ้นมีสัดส่วนที่สัมพันธ์กับทุกสิ่งอย่างลงตัว
รูปที่ 2.8 : สัดส่วนที่เป็นมาตรฐานตามธรรมชาติ
1.2 สัดส่วนจากความรู้สึก โดยที่ศิลปะนั้นไม่ได้สร้างขึ้นเพื่อความงามของรูปทรง
เพียงอย่างเดียว แต่ยังสร้างขึ้นเพื่อแสดงออกถึงเนื้อหา เรื่องราว ความรู้สึกด้วยสัดส่วนจะช่วยเน้น
อารมณ์ ความรู้สึกให้เป็นไปตามเจตนารมณ์และเรื่องราวที่ศิลปินต้องการลักษณะ ทาให้งานศิลปะ
ของชนชาติต่าง ๆ มีลักษณะแตกต่างกัน เนื่องจากมีเรื่องราว อารมณ์ ความรู้สึกที่ต้องการแสดงออก
ต่าง ๆ กันไป
รูปที่ 2.9 : การแสดงภาพมวลและปริมาตร
2. ความสมดุล หรือ ดุลยภาพ หมายถึง น้าหนักที่เท่ากันขององค์ประกอบไม่เอนเอียง
ไปข้างใดข้างหนึ่ง ยังรวมถึงความประสานกลมกลืน ความพอเหมาะพอดีของส่วนต่าง ๆ ในรูปทรง
ของการจัดวางองค์ประกอบต่าง ๆ ลงในงานศิลปกรรม งานสถาปัตยกรรม
19
3. จังหวะลีลา หมายถึง การเคลื่อนไหวที่เกิดจาการซ้ากันขององค์ประกอบเป็นการซ้า
ที่เป็นระเบียบ จากระเบียบธรรมดาที่มีช่วงห่างเท่า ๆ กัน มาเป็นระเบียบที่สูงขึ้น ซับซ้อนขึ้น
จนถึงขั้นเกิดเป็นรูปลักษณะของศิลปะ โดยเกิดจาก การซ้าของหน่วย หรือการสลับกันของหน่วย
กับช่องไฟ หรือเกิดจากการเลื่อนไหลต่อเนื่องกันของเส้น สี รูปทรง หรือ น้าหนัก
รูปที่ 2.10 : การแสดงภาพจังหวะและลีลา
4. การเน้น การกระทาให้เด่นเป็นพิเศษ จะต้องมีส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือจุดใดจุดหนึ่ง
ที่มีความสาคัญกว่าส่วนอื่น ๆ เป็นประธานอยู่ แต่ถ้าถูกส่วนอื่นๆ ที่มีความสาคัญน้อยกว่าบดบัง
หรือแย่งความสาคัญ ความน่าสนใจไปเสีย งานที่ไม่มีจุดสนใจ จะทาให้ดูน่าเบื่อ เหมือนกับลวดลาย
ที่ถูกจัดวางซ้ากันโดยปราศจากความหมาย หรือเรื่องราวที่น่าสนใจ ดังนั้น ส่วนนั้นจึงต้องถูกเน้น
ให้เห็นเด่นชัดขึ้นมาเป็นพิเศษกว่าส่วนอื่น ๆ ซึ่งจะทาให้ผลงานมีความงาม สมบูรณ์ ลงตัว
และน่าสนใจมากขึ้น
รูปที่ 2.11 : การแสดงภาพที่เน้นจุดเด่น
20
5. เอกภาพ หมายถึง ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันขององค์ประกอบศิลป์ทั้งด้านรูปลักษณะ
และด้านเนื้อหาเรื่องราว เป็นการประสานหรือจัดระเบียบของส่วนต่าง ๆ ให้เกิดความเป็นหนึ่งเดียว
เพื่อผลรวมอันไม่อาจแบ่งแยกส่วนใดส่วนหนึ่งออกไป การสร้างงานศิลปะ คือ การสร้างเอกภาพ
ขึ้นจากความสับสน ความยุ่งเหยิง เป็นการจัดระเบียบและดุลยภาพให้แก่สิ่งที่ขัดแย้งกันเพื่อให้
รวมตัวกันได้ โดยการเชื่อมโยงส่วนต่าง ๆให้สัมพันธ์กัน
รูปที่ 2.12 : การแสดงภาพที่เป็นเอกภาพ
21
แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของศิลปะ
คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องและเหมาะสมที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วกาเครื่องหมาย X
ลงในช่องว่างให้ตรงกับอักษรกากับข้อคาตอบในกระดาษคาตอบ
1. องค์ประกอบของศิลปะ ถูกกาหนดมูลฐานความงามข้อใด
ก. รูปร่าง รูปทรง สัดส่วน
ข. จุด เส้น สี ช่องว่าง
ค. ลักษณะผิว ลวดลาย การเน้น
ง. เอกภาพ ดุลยภาพ จังหวะลีลา
2. ข้อใดไม่ใช่หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์
ก. เอกภาพ
ข. จังหวะ
ค. ระยะทาง
ง. ความสมดุล
3. ข้อใดไม่ใช่ความงามของศิลปะ
ก. ความสวยงามของน้าตก
ข. การสร้างรูปเพื่อเคารพ
ค. การวาดภาพเหมือน
ง. การออกแบบรถยนต์รุ่นใหม่
4. การจัดองค์ประกอบศิลป์ มีหลักที่ควรคานึงอยู่กี่ประการ
ก. 3 ประการ
ข. 4 ประการ
ค. 5 ประการ
ง. 6 ประการ
5. ข้อใดคือความหมายของเอกภาพ (Unity) ในงานศิลปะ
ก. ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ข. ความเท่ากันเสมอกัน
ค. ส่วนประธานของงานศิลปะ
ง. ความไม่ลงรอยกัน
22
6. ข้อใดคือความหมายของความสมดุล (Balance) ในงานศิลปะ
ก. ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ข. ความเท่ากันเสมอกัน
ค. ส่วนประธานของงานศิลปะ
ง. ความไม่ลงรอยกัน
7. ข้อใดเป็นการให้ชิ้นงานเด่นเป็นพิเศษกว่าส่วนเป็นประธานศิลปะ
ก. สัดส่วน
ข. จังหวะลีลา
ค. เอกภาพ
ง. การเน้น
8. จากรูป เป็นข้อใดของพื้นฐานองค์ประกอบศิลป์
ก. รูปร่าง
ข. เส้น
ค. ปริมาตร
ง. จุด
9. จากรูป เป็นข้อใดของพื้นฐานองค์ประกอบศิลป์
ก. รูปร่าง
ข. เส้น
ค. ปริมาตร
ง. จุด
10. การออกแบบเครื่องแต่งกาย จัดว่าเป็นงานออกแบบประเภทใด
ก. ออกแบบตกแต่ง
ข. ออกแบบผลิตภัณฑ์
ค. ออกแบบพาณิชย์ศิลป์
ง. ออกแบบสัญลักษณ์สื่อความหมาย
……………………………………………………………….
23
เฉลย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของศิลปะ
………………………………………………………………………………….
1. ข
2. ค
3. ก
4. ค
5. ก
6. ข
7. ง
8. ง
9. ก
10. ข
.......................................................................................................

More Related Content

What's hot

ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลยข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
Khunnawang Khunnawang
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
Khunnawang Khunnawang
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
narongsak kalong
 
แบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointแบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointpoomarin
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
Rachabodin Suwannakanthi
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงWichai Likitponrak
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
Thanawut Rattanadon
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันnoi1
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุNattapon
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3teerachon
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
Ponpirun Homsuwan
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
peter dontoom
 
วิชา โลกศึกษา ปอ
วิชา  โลกศึกษา ปอวิชา  โลกศึกษา ปอ
วิชา โลกศึกษา ปอKittayaporn Changpan
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
peter dontoom
 

What's hot (20)

ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลยข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
แบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointแบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpoint
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสง
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
 
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
 
วิชา โลกศึกษา ปอ
วิชา  โลกศึกษา ปอวิชา  โลกศึกษา ปอ
วิชา โลกศึกษา ปอ
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 

Similar to องค์ประกอบศิลป์

ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ครูหนุ่ม สอนศิลปะ
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2Yatphirun Phuangsuwan
 
Content01
Content01Content01
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศYatphirun Phuangsuwan
 
ศิลปศึกษา
ศิลปศึกษาศิลปศึกษา
ศิลปศึกษาLchigo Kurosaki
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะพิพัฒน์ ตะภา
 
Content06
Content06Content06
Tha464 3
Tha464 3Tha464 3
ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลพัน พัน
 
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงHeeroyuy Heero
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
กฤตพร สุดสงวน
 
9789740329640
97897403296409789740329640
9789740329640
CUPress
 
Pol 6103 สังคมวิทยาการเมืองกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ภาคเช้า
Pol 6103 สังคมวิทยาการเมืองกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ภาคเช้าPol 6103 สังคมวิทยาการเมืองกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ภาคเช้า
Pol 6103 สังคมวิทยาการเมืองกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ภาคเช้า
ประพันธ์ เวารัมย์
 
ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3
peter dontoom
 
9789740335931
97897403359319789740335931
9789740335931
CUPress
 

Similar to องค์ประกอบศิลป์ (20)

ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะ
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
 
ศิลปศึกษา
ศิลปศึกษาศิลปศึกษา
ศิลปศึกษา
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
Content06
Content06Content06
Content06
 
Content06
Content06Content06
Content06
 
Tha464 3
Tha464 3Tha464 3
Tha464 3
 
ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากล
 
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
9789740329640
97897403296409789740329640
9789740329640
 
Pol 6103 สังคมวิทยาการเมืองกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ภาคเช้า
Pol 6103 สังคมวิทยาการเมืองกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ภาคเช้าPol 6103 สังคมวิทยาการเมืองกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ภาคเช้า
Pol 6103 สังคมวิทยาการเมืองกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ภาคเช้า
 
ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
9789740335931
97897403359319789740335931
9789740335931
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 

More from peter dontoom

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
peter dontoom
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
peter dontoom
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
peter dontoom
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
peter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
peter dontoom
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
peter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
peter dontoom
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
peter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

Recently uploaded

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
Postharvest Technology Innovation Center
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 

Recently uploaded (6)

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 

องค์ประกอบศิลป์

  • 1. 1 ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบองค์ประกอบของศิลปะ ........................................................................................................................... ความหมายและความสาคัญขององค์ประกอบศิลป์ มนุษย์เรารับรู้ถึงความสวยความงาม ความพอใจ ของสิ่งต่าง ๆ ได้แตกต่างกับระดับ ความพอใจของแต่ละบุคคล ก็แตกต่างกันออกไปทั้งนี้อาจขึ้นกับรสนิยม สภาพสังคม ศาสนา ความเชื่อและสิ่งแวดล้อมที่ผู้รับรู้ นั้นดารงชีวิตอยู่ หากแต่ว่าผู้รับรู้นั้นได้เข้าใจถึงกระบวนการ องค์ประกอบและพื้นฐานที่สาคัญของสิ่งที่ได้สัมผัส ก็ย่อมทาให้รับรู้ถึงความงาม ความพอใจนั้น ๆ เกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง ศิลปะนั้นดูเหมือนว่าจะไม่มีกฎเกณฑ์อะไรมากนัก เพราะอาศัยแต่ความสุนทรียะ ทางอารมณ์เพียงประการเดียว แต่หากว่าได้ศึกษาถึงความสุนทรียะอย่างลึกซึ้งแล้ว จะเห็นว่า มีกฎเกณฑ์ในตัวของมันเอง ซึ่งผู้เรียนจะต้องศึกษาถึง องค์ประกอบต่าง ๆ เหล่านั้นที่ประกอบกัน ขึ้นเป็นงานศิลปะ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คื อผู้เรียน จะต้องเข้าใจในหลัก องค์ประกอบของศิลปะ เป็นพื้นฐานเสียก่อนจึงจะสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะที่มีคุณค่าและรับรู้ถึงความงามทางศิลปะ ได้อย่างถูกต้อง 1. ความหมายขององค์ประกอบศิลป์ องค์ประกอบของศิลปะ (Composition) มาจากภาษาละติน โดยคาว่า Post นั้นหมายถึง การจัดวางและคาว่า Comp หมายถึง เข้าด้วยกัน ซึ่งเมื่อนามารวมกันแล้วในทางศิลปะ Composition จึงหมายความถึง องค์ประกอบของศิลปะ การจะเกิดองค์ประกอบศิลป์ได้นั้น ต้องเกิดจากการเอา ส่วนประกอบของศิลปะ (Element of Art) มาสร้างสรรค์งานศิลปะเข้าด้วยหลักการจัดองค์ประกอบ ศิลป์ (Principle of Art) จึงจะเป็นผลงานองค์ประกอบศิลป์ ความหมายขององค์ประกอบศิลป์นั้นได้ มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายเอาไว้ ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้ คาว่าองค์ประกอบ ตามความหมายพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถานคือ ส่วนต่าง ๆ ที่ประกอบกันทาให้เกิดรูปร่างใหม่ขึ้นโดยเฉพาะ องค์ประกอบศิลป์ หมายถึง สิ่งที่ศิลปินและนักออกแบบใช้เป็นสื่อในการแสดงออก และสร้างความหมาย โดยนามาจัดเข้าด้วยกันและเกิดรูปร่างอันเด่นชัด (สวนศรี ศรีแพงพงษ์ : 82) องค์ประกอบศิลป์ หมายถึง เครื่องหมายหรือรู ปแบบที่นามาจัดรวมกันแล้วเกิดรูปร่างต่าง ๆ ที่แสดงออกในการสื่อ ความหมายและความคิดสร้างสรรค์ (สิทธิศักดิ์ ธัญศรีสวัสดิ์กุล : 56) องค์ประกอบศิลป์ หมายถึง ศิลปะที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อแสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด หรือความงาม ซึ่งประกอบด้วย ส่วนที่มนุ ษย์สร้างขึ้นและส่วนที่เป็นการแสดงออก เป็นผลที่เกิดจากโครงสร้างทางวัตถุ (ชลูด นิ่มเสมอ :18)
  • 2. 2 องค์ประกอบศิลป์ หมายถึง ส่วนประกอบต่าง ๆ ของศิลปะ เช่น จุด เส้น รูปร่าง ขนาด สัดส่วน น้าหนัก แสง เงา ลักษณะพื้นผิว ที่ว่างและสี (มานิต กรินพงศ์:51) องค์ประกอบศิลป์ คือความงาม ความพอดี ลงตัว อันเป็นรากฐานเนื้อหาของศิลปะ อีกทั้ง ยังเป็นเครื่องมือที่สาคัญ ทางศิลปะให้ผู้สร้างสรรค์ได้สื่อสารความคิดของตนเองไปสู่บุคคลอื่น (สุชาติ เถาทอง, สังคม ทองมี, ธารงศักดิ์ ธารงเลิศฤทธิ์, รอง ทองดาดาษ: 3) 2. ความสาคัญขององค์ประกอบศิลป์ ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในสาขาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาวิจิตรศิลป์ หรือประยุกต์ศิลป์ ผู้สร้างสรรค์นั้นต้องมีความรู้เบื้องต้นด้านศิลปะ มาก่อน และศึกษาถึงหลักการองค์ประกอบพื้นฐาน องค์ประกอบที่สาคัญ การจัดวางองค์ประกอบ เหล่านั้น รวมถึงการกาหนดสี ในลักษณะต่าง ๆ เพิ่มเติมให้เกิดความเข้าใจ เพื่อเวลาที่สร้างผลงาน ศิลปะ จะได้ผลงานที่มีคุณค่า ความหมาย และความงามเป็นที่น่าสนใจแก่ผู้พบเห็น หากสร้างสรรค์ ผลงานโดยขาดองค์ประกอบศิลป์ ผลงานนั้นอาจดูด้อยค่า หมดความหมายหรือไม่น่าสนใจ เห็นได้ว่าองค์ประกอบศิลป์นั้นมีความสาคัญอย่างมากในการสร้างงานศิลปะ พอสรุปได้ดังนี้ การสร้างสรรค์งานศิลปะให้ได้ดีนั้น ผู้สร้างสรรค์จะต้องทาความเข้าใจกับองค์ประกอบ ศิลป์เป็นพื้นฐานเสียก่อน ไม่เช่นนั้นแล้วผลงานที่ออกมามักไม่สมบูรณ์เท่าไรนักซึ่งองค์ประกอบ หลักของศิลปะ คือรูปทรงกับเนื้อหา (ชลูด นิ่มเสมอ) องค์ประกอบศิลป์ เป็นเสมือนหัวใจดวงหนึ่งของการทางานศิลปะ เพราะในงาน องค์ประกอบศิลป์หนึ่งชิ้น จะประกอบไปด้วย การร่างภาพ การจัดวางให้เกิดความงาม และการใช้สี ซึ่งแต่ละอย่างจะต้องเรียนรู้สู่รายละเอียดลึกลงไปอีก องค์ประก อบศิลป์จึงเป็นพื้นฐานสาคัญ จึงต้องเรียนรู้ก่อนที่จะศึกษาในเรื่องอื่น ๆ (อนันต์ ประภาโส) องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบและการใช้สี เป็นหลักการที่สาคัญ ในการสร้างสรรค์ให้งานศิลปะ เกิดความงาม ไม่ว่าจะเป็นจิตรกรรม วาดเขียน ประติมากรรม สถาปัตยกรรมและการพิมพ์ภาพ หากปราศจากความรู้ ความเข้าใจเสียแล้วผลงานนั้นๆก็จะไม่มีค่า หรือความหมายใด ๆ เลย (สวนศรี ศรีแพงพงษ์) องค์ประกอบศิลป์ จัดเป็นวิชาที่มีความสาคัญสาหรับผู้ศึกษางานศิลปะ หากว่าขาดความรู้ ความเข้าใจในวิชานี้แล้ว ผลงานที่สร้างขึ้นมาก็ยากที่ประสบความสาเร็จ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง งานศิลปะสมัยใหม่ที่มีการแสดงเฉพาะ เส้น สี แสง เงา น้าหนัก พื้นผิว จังหวะ และบริเวณที่ว่าง มีความจาเป็นอย่างยิ่งต้องนาหลักการองค์ประกอบศิลป์มาใช้ หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์มีความสาคั ญและเกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์โดยตรง ทั้งวิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์ การจัดภาพหรือออกแบบสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ให้เกิดคุณค่า ความงามนั้น การจัดองค์ประกอบศิลป์จะมีบทบาทสาคัญมากที่สุด (จีรพันธ์ สมประสงค์: 15)
  • 3. 3 จากทรรศนะต่าง ๆ สรุปได้ว่า องค์ประกอบศิลป์เป็นหัวใจสาคัญของงานศิลปะ ทุกสาขา เพราะงานศิลปะใดหากขาดการนาองค์ประกอบศิลป์ไปใช้ จะทาให้งานนั้นดูไม่มีคุณค่า ทั้งด้านทางกายและทางจิตใจของผู้ดูหรือพบเห็นขณะเดียวกัน ก็จะบ่งบอกถึงภูมิความรู้ ความสามารถของผู้สร้างสรรค์ผลงานนั้นด้วย การที่จะเข้าถึงศิลปะ(Appreciation) นั้น จะต้องผ่านการฝึกฝนและหาทางดู เพื่อให้เกิด ความเข้าใจ ทั้งจะต้องมีรสนิยมที่ดีพอสมควร การฝึกฝน การทาซ้า ๆ อย่างสนใจ เมื่อนานเข้า ก็จะเกิดความเข้าใจ ทาด้วยความคุ้นเคยกับสิ่งเหล่านั้น จึงจะเข้าใจ รู้เห็นในคุณค่าของศิลปะนั้ น ๆ ได้ดี องค์ประกอบพื้นฐานด้านนามธรรมของศิลปะ องค์ประกอบพื้นฐานด้านนามธรรมของศิลปะ เป็นแนวคิด หรือจุดกาเนิดแรกที่ศิลปิน ใช้เป็นสิ่งกาหนดทิศทาง ในการสร้างสรรค์ ก่อนที่จะมีการสร้างผลงานศิลปะ ประกอบด้วย เนื้อหา กับเรื่องราว 1. เนื้อหาในท างศิลปะ คือ ความคิดที่เป็นนามธรรมที่แสดงให้เห็นได้ โดยผ่าน กระบวนการทางศิลปะ เช่น ศิลปินต้องการเขียนภาพที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับชนบท ก็จะแสดงออก โดยการเขียนภาพทิวทัศน์ของชนบท หรือภาพวิถีชีวิตของคนในชนบท เป็นต้น 2. เรื่องราวในทางศิลปะ คือส่วนที่แสดงความคิดทั้งหมดของศิลปินออกมาเป็นรูปธรรม ด้วยกระบวนการทางศิลปะ เช่น ศิลปินเขียนภาพชื่อชาวเขา ก็มักแสดงรูปเกี่ยวกับวิถีชีวิต หรือกิจกรรมส่วนหนึ่งของชาวเขา นั่นคือเรื่องราว ที่ปรากฏออกมาให้เห็น ประเภทของความสัมพันธ์ของเนื้อหากับเรื่องร าวในงานทัศนศิลป์นั้น เนื้อหา กับเรื่องราวจะมีความสัมพันธ์กัน น้อยหรือมาก หรืออาจไม่สัมพันธ์กันเลย หรืออาจไม่มีเรื่องเลย ก็เป็นไปได้ทั้งนั้น โดยขึ้นกับลักษณะของงาน และเจตนา ในการแสดงออกของศิลปิน ซึ่งเราสามารถแยกได้ดังต่อไปนี้ คือ 1. การเน้นเนื้อหาด้วยเรื่อง ได้แก่ การใช้เรื่องที่ตรงกับเนื้อหา และเป็นตัวแสดงเนื้อหา ของงานโดยตรง ตัวอย่างเช่น เมื่อศิลปินต้องการให้ความงามทางด้านดอกไม้ เป็นเนื้อหาของงาน ก็จะหาดอกไม้ที่สวยงามมาเป็นเรื่องสีสันและความอ่อนช้อยของกลีบดอกจะช่วยให้ เกิดความงาม ขึ้นในภาพ 2. เนื้อหาที่เป็นผลจากการผสมผสานระหว่างศิลปินกับเรื่อง ในส่วนนี้ศิลปินจะเสนอ ความเห็นส่วนตัว หรือผสมความรู้สึกส่วนตัวเข้าไปในเรื่อง เป็นการผสมกันระหว่างรูปลักษณะ ของเรื่องกับจินตนาการของศิลปิน เช่น เรื่องความงามของดอกไม้ โดยศิลปินผสม ความรู้สึกนึกคิด ของตนเองลงไปในเรื่องด้วย เขาจะดัดแปลง เพิ่มเติมรูปร่างของดอกไม้ ให้งามไปตามทัศนะ และใช้องค์ประกอบทางศิลปะเป็นองค์ประกอบทางรูปทรงให้สอดคล้องกับความงามของเรื่อง
  • 4. 4 3. เนื้อหาที่เป็นอิสระจากเรื่อง เมื่อศิลปินผสมจินตนาการของตนเองเข้าไป ในงานมากขึ้น ความสาคัญของเรื่อง จะลดลง ดอกไม้ที่สวยที่เป็นแบบอาจถูกศิลปินตัดทอนขัดเกลา หรือเปลี่ยนแปลงมากที่สุด จนเรื่องดอกไม้ นั้นหมดความสาคัญไปอย่างสิ้นเชิง เหลือแต่เนื้อหา ที่เป็นอิสระ การทางานแบบนี้ศิลปินอาศัยเพียงเรื่อง เป็นจุดเริ่ มต้นแล้ว เดินทางห่างออกจากเรื่อง จนหายลับไป เหลือแต่รูปทรงและตัวศิลปินเองที่เป็นเนื้อหาของงาน กรณีนี้เนื้อหาภายใน ซึ่ง หมายถึงเนื้อหาที่ที่เกิดขึ้นจากการประสานกันของรูปทรงจะมีบทบาทมากกว่าเนื้อหาภายนอก หรือบางครั้งจะไม่แสดงเนื้อหาภายนอกออกมาเลย 4. เนื้อหาไม่มีเรื่อง ศิลปินบางประเภท ไม่มีความจาเป็นต้องใช้เรื่องเป็นจุดเริ่มต้นงาน ไม่มีเรื่อง มีแต่รูปทรงกับเนื้อหา โดยรูปทรงเป็นเนื้อหาเสียเองโดยตรง เป็นเนื้อหาภายในล้วน ๆ เป็นการแสดงความคิด อารมณ์ และบุคลิกภาพของศิลปินแท้ ๆ ลงไปในรูปทรงที่บริสุ ทธิ์ งานประเภทนี้จะเห็นได้ชัดในดนตรีและงานทัศนศิลป์ที่เป็นนามธรรม และแบบนอนออบเจคตีฟ องค์ประกอบพื้นฐานด้านรูปธรรมของศิลปะองค์ประกอบพื้นฐานด้านรูปธรรม ของศิลปะ คือสิ่งที่แสดงแนวคิดเกี่ยวกับเนื้อหาและเรื่องราวของศิลปินใ ห้เห็นหรือรับรู้ผ่านผลงาน ศิลปะ ประกอบด้วย เอกภาพ ดุลยภาพ และจุดเด่น 1. เอกภาพ หมายถึงการนาองค์ประกอบของศิลปะมาจัดเข้าด้วยกันให้แต่ละหน่วย มีความสัมพันธ์ เกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน ประสานกลมกลืนเกิดเป็นผลรวมที่แบ่งแยกไม่ได้ โดยถ่ายทอดเป็นผลงานศิลปะด้วยกระบวนการศิลปะ 2. ดุลยภาพ คือการนาองค์ประกอบของศิลปะมาจัดเข้าด้วยกันให้เกิดความเท่ากัน หรือสมดุล โดยมีเส้นแกนสมมุติ 2 เส้น เป็นตัวกาหนดดุลยภาพเส้นแกนสมมุติจะทาหน้าที่แบ่งภาพ ออกเป็นด้านซ้ายและด้านขวา หรือด้านบนและด้านล่าง เพื่อให้ผล งานศิลปะที่ปรากฏ เกิดความสมดุลในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เช่นแบบซ้ายขวาเหมือนกันและแบบซ้าย ขวา ไม่เหมือนกัน 3. จุดเด่น คือ ส่วนที่สาคัญในภาพ มีความชัดเจนสะดุดตาเป็นแห่งแรก รับรู้ได้ ด้วยการมองผลงานที่สาเร็จแล้ว จุดเด่นจะมีลักษณะการมีอานาจ ตระหง่าน ชัดเจนกว่าส่วนอื่น ทั้งหมด โดยเกิดจากการเน้นให้เด่นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เช่น จุดเด่นที่มีความเด่นชัด หรือจุดเด่นที่แยกตัวออกไปให้เด่น เส้น (Line) เกิดจากจุดที่เรียงต่อกัน หรือเกิดจากการลากเส้นไปยังทิศทางต่าง ๆ มีหลายลักษณะ เช่น ตั้ง นอน เฉียง โค้ง ฯลฯ เส้น เกิดจากเคลื่อนที่ของจุด หรือถ้านาจุดมาวางเรียงต่อ ๆ กันก็จะเกิด เป็นเส้นขึ้น เส้นมีมิติเดียว คือ ความยาว ไม่มีความกว้าง ทาหน้าที่เป็นขอบเขตของที่ว่าง รูปร่าง รูปทรง สี น้าหนัก รวมทั้งเป็นแกนหลักโครงสร้างของรูปร่างรูปทรงต่าง ๆ
  • 5. 5 เส้น คือ ร่องรอยที่เกิดจากเคลื่อนที่ของจุด หรือถ้าเรานาจุดมาวางเรียงต่อ ๆ กันไป ก็จะเกิดเป็นเส้นขึ้น เส้นมีมิติเดียว คือ ความยาว ไม่มีความกว้าง ทาหน้าที่เป็นขอบเขต ของที่ว่าง รูปร่าง รูปทรง น้าหนัก สี ตลอดจนกลุ่มรูปทรงต่าง ๆ รวมทั้ งเป็นแกนหรือ โครงสร้างของรูปร่าง รูปทรง เส้นเป็นพื้นฐานที่สาคัญของงานศิลปะทุกชนิด เส้นสามารถให้ความหมาย แสดงความรู้สึกและอารมณ์ด้วย การสร้างเป็นรูปทรงต่างๆ ขึ้น เส้นมี 2 ลักษณะคือ เส้นตรง (Straight Line) และ เส้นโค้ง (Curve Line) เส้นทั้งสองชนิดนี้เมื่อนามาจัดวางในลักษณะต่าง ๆ กัน และให้ความหมาย ความรู้สึก ที่แตกต่างกันออกไปด้วย รูปที่ 1.1 : ลักษณะของเส้น ลักษณะของเส้น เส้นมีจุดเด่นที่นามาใช้ได้หลากหลายรูปแบบ ทาให้เกิดรูปร่างรูปทรงต่าง ๆ มากมาย เพื่อต้องการสื่อให้เกิดความรู้สึกทางด้านอารมณ์ จากการสร้างสรรค์ของงาน 1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง 2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย 3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง 4. เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว อย่างเป็น จังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง 5. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล 6. เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทาง ที่หมุนวน ถ้ามองเข้าไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไม่สิ้นสุด
  • 6. 6 7. เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยน ทิศทางที่รวดเร็ว ไม่หยุดนิ่ง 8. เส้นประ ให้ความรู้สึกที่ไม่ต่อเนื่อง ขาด หาย ไม่ชัดเจน ทาให้เกิดความเครียด ความสาคัญของเส้น 1. ใช้ในการแบ่งที่ว่างออกเป็นส่วน ๆ 2. กาหนดขอบเขตของที่ว่าง หมายถึง ทาให้เกิดเป็นรูปร่าง (Shape) ขึ้นมา 3. กาหนดเส้นรอบนอกของรูปทรง ทาให้มองเห็นรูปทรง (Form) ชัดขึ้น 4. ทาหน้าที่เป็นน้าหนักอ่อนแก่ ของแสดงและเงา หมายถึง การแรเงาด้วยเส้น 5. ให้ความรู้สึกด้วยการเป็นแกนหรือโครงสร้างของรูป และโครงสร้างของภาพ รูปร่างและรูปทรง ( Shape and Form) รูปร่าง คือ พื้นที่ ๆ ล้อมรอบด้วยเส้นที่แสดงความกว้าง และความยาว รูปร่างจึงมี สองมิติรูปทรง คือ ภาพสามมิติที่ต่อเนื่องจากรูปร่าง โดยมีความหนา หรือความลึก ทาให้ภาพที่เห็น มีความชัดเจน และสมบูรณ์ รูปร่างและรูปทรงแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะใหญ่ คือ 1. รูปเรขาคณิต (Geometric Form) มีรูปร่างรูปทรงที่แน่นอน มาตรฐาน สามารถ วัดหรือคานวณได้ มีกฎเกณฑ์ เช่น รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงรี ห้าเหลี่ยม หกเหลี่ยม พีระมิด เป็นต้น รูปเรขาคณิตเป็นโครงสร้างพื้นฐานของรูปทรงต่าง ๆ ดังนั้น การสร้างสรรค์รู ปอื่น ๆ ควรศึกษารูปเรขาคณิตให้เข้าใจถ่องแท้เสียก่อน 2. รูปทรงธรรมชาติ (Nature Form) เป็นการเลียนแบบธรรมชาติ นารูปทรงที่มีอยู่ ตามธรรมชาติรอบตัวเรา เช่น ดอกไม้ , ใบไม้, สัตว์ต่าง ๆ , สัตว์น้า แมลง, มนุษย์ เป็นต้น มาใช้เป็น แม่แบบในการออกแบบและสร้างสรรค์ โดยยังคงให้ความรู้สึกและรูปทรงที่เป็นธรรมชาติอยู่ ส่วนผลงานบางชิ้น ที่ล้อเลียนธรรมชาติ โดยใช้รูปทรงเช่น ตุ๊กตาหมี , การ์ตูน, อวัยวะของร่างกาย เรา เป็นต้น ยังคงเป็นรูปทรงตามธรรมชาติ ให้เห็นอยู่ บางครั้งได้มีการนาวัสดุที่มีอยู่ ตามธรรมชาติ เช่น เปลือกหอย, กิ่งไม้, ขนนก ฯลฯ นามาออกแบบ ดัดแปลง สร้างสรรค์ผลงาน รูปทรงก็ไม่ได้ เปลี่ยนแปลงมากนัก 3. รูปทรงอิสระ (Free Form) เป็นรูปแบบโครงสร้างที่ไม่แน่นอน ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว เลื่อนไหล ให้ความอิสระ และได้อารมณ์ ความเคลื่อนไหวเป็นอย่างดี รูปอิสระอาจเกิด จากรูปเรขาคณิต หรือรูปธรรมชาติ ที่ถูกกระทาจนมีรูปลักษณะเปลี่ยนไปจากเดิมจนไม่เหลือสภาพ เดิม
  • 7. 7
  • 8. 8 รูปที่ 1.2 : ลักษณะของเส้น
  • 9. 9 แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบองค์ประกอบของศิลปะ คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องและเหมาะสมที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วกาเครื่องหมาย X ลงในช่องว่างให้ตรงกับอักษรกากับข้อคาตอบในกระดาษคาตอบ 1. ข้อความใดที่มีความหมายตรงกับองค์ประกอบศิลป์ ก. ศิลปะเกิดจากมนุษย์สร้างขึ้นเพื่อแสดงออกทางอารมณ์ ข. การนาศิลปะมาจัดเข้าด้วยกันให้แต่ละหน่วยมีความสัมพันธ์ ค. การนาศิลปะมาจัดเข้าด้วยกันให้เกิดความเท่ากัน ง. การนาความรู้สึกส่วนตัวเข้าไปผสมกันกับรูปลักษณะ 2. พื้นฐานด้านรูปธรรมของศิลปะ องค์ประกอบที่สาคัญหมายถึงข้อใด ก. เอกภาพ ข. ดุลภาพ ค. จุดเด่น ง. ถูกทุกข้อ 3. เส้นแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ข้อความใดถูกต้องมากที่สุด ก. เส้นตรง เส้นหยัก ข. เส้นตรง เส้นโค้ง ค. เส้นตรง เส้นเฉียง ง. เส้นตั้ง เส้นนอน 4. ดอกไม้ ใบไม้ สัตว์ต่าง ๆ และมนุษย์ มีรูปร่างรูปทรงตรงกับข้อใด ก. รูปทรงเรขาคณิต ข. รูปทรงธรรมชาติ ค. รูปทรงอิสระ ง. รูปทรงลูกบาศก์ 5. ความหมายของเส้นตั้ง (Vertical Line) คือข้อใด ก. แสดงความสง่า ความเกลี้ยง ความรู้สึกแข็งแรง ข. แสดงถึงความสูง ความแข็งแรง มีระเบียบให้ทิศทาง ค. แสดงถึงความกว้าง ความสงบ ความนิ่งเฉย ราบเรียบ ง. แสดงถึงความไม่อยู่นิ่ง เปลี่ยนแปลง ว่องไว เคลื่อนไหว
  • 10. 10 6. เส้นที่สร้างความนุ่มนวลและกลมกลืน ห้องที่มีเส้นตั้งและเส้นนอนมาก ๆ จะให้ความรู้สึกกระด้าง แต่สามารถลดความกระด้างลงได้ด้วยการใช้เส้นชนิดใด ก. เส้นทแยงหรือเส้นเฉียง ข. เส้นหยัก ค. เส้นโค้ง ง. เส้นขาดหรือเส้นประ 7. ข้อใดมองแล้วให้ความรู้สึกสูง ก. ข. ค. ง. 8. ข้อใดดูแล้วสวยงามในด้านจัดองค์ประกอบ ก. ข. ค. ง. 9. จัตุรัสภายในซึ่งมีขนาดเท่ากัน ปูลายด้วยเส้นทแยง เส้นตั้ง เส้นนอน และลายวงกลม จัตุรัสภายในข้อใดดูเล็กลง ก. ข. ค. ง.
  • 12. 12 เฉลย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบองค์ประกอบของศิลปะ 1. ก 2. ง 3. ข 4. ข 5. ข 6. ค 7. ก 8. ง 9. ง 10. ค .......................................................................................................
  • 13. 13 ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของศิลปะ ........................................................................................................................... องค์ประกอบของศิลปะ เป็นองค์ประกอบที่ถูกกาหนดขึ้นโดยธรรมชาติ เป็นองค์ประกอบมูลฐานของความงาม ในการออกแบบ จาเป็นต้องเข้าใจคุณค่าและมูลฐาน ที่สาคัญของความงาม สามารถนาไปใช้ให้เกิด ความกลมกลืน องค์ประกอบของศิลปะประกอบด้วย จุด (Point) เส้น (line) สี (color) รูปร่างรูปทรง (shape and form) ลักษณะผิว (texture) ลวดลาย (pattern) และช่องว่าง (space or volume) จุดมุ่งหมายขององค์ประกอบศิลปะ 1. เพื่อดึงดูดความสนใจ การสร้างงานศิลปะ ศิลปินต้องมีจุดมุ่งหมายเพื่อความพอใจ ของตนเองและผู้อื่น จึงต้องพยายามที่จะสร้างผลงานให้ออกมาน่าสนใจ โดยนาองค์ประกอบต่าง ๆ มาจัดเข้าด้วยกัน และใช้การเน้นหรือความโดดเด่นเป็นสาคัญ (Center of interest) 2. เพื่อแสดงความมุ่งหมาย การนาองค์ประกอบมาจัดอย่างเหมาะสมเพื่อสื่อเรื่องราว โดยผู้สื่อจะต้องสามารถทาให้ผู้มองมีความตั้งใจและใช้เวลามากพอที่จะพิจารณาผลงาน ได้ตรงตามความมุ่งหมายของผู้สร้างงาน รูปที่ 2.1 : ภาพส่วนประกอบขององค์ประกอบศิลปะ การแบ่งองค์ประกอบศิลปะ องค์ประกอบบางเรื่องเป็นส่วนหนึ่งขององค์ประกอบอีกเรื่องหนึ่ง เช่น เส้นเป็นส่วน หนึ่งของรูปร่างรูปทรง องค์ประกอบบางเรื่องเป็นผลมาจากองค์ประกอบอื่น ๆ เช่น ค่าความอ่อน ความแก่ทาให้เกิดแสงเ งา แสงเงาทาให้เกิดรูปร่างมองเห็นเป็นรูปทรง รูปทรงที่ถูกขนาดสมจริง ทาให้เกิดสัดส่วน ความแตกต่างกันของเส้น รูปทรง สี ลักษณะผิว ทาให้เกิดการตัดกัน
  • 14. 14 ความคล้ายคลึงของเส้น สี ลักษณะผิวหรือรูปร่าง รูปทรง ทาให้เกิดความกลมกลืน หรือการซ้า เป็นจังหวะเหมือนกันทาให้เกิดลวดลาย เป็นต้น จะสังเกตเห็นว่าองค์ประกอบแต่ละเรื่อง มีความสัมพันธ์กัน จึงมีการแบ่งองค์ประกอบออกเป็น 2 แบบ ตามหน้าที่และความจาเป็น ดังนี้ องค์ประกอบที่เป็นพื้นฐานในการสร้างงานศิลปะ 1. จุด (point) เป็นส่วนประกอบที่เล็กที่ สุด ที่จะเริ่มต้นไปสู่ส่วนอื่น ๆ จึงเป็นจุดที่มีมวล (mass) และมีปริมาตร ได้ด้วย จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ก็ได้ การใช้จุด ก็เพื่อบอกถึงความต่อเนื่อง เชื่อมโยง การเน้นนาสายตา หรือจะใช้เน้น ให้เกิดความเด่น ขององค์ประกอบอื่น ๆ ก็ได้ จุดจะกาหนดตาแหน่งในที่ว่าง โดยความรู้สึกของเราแล้ว จุดไม่มีความยาว ความกว้าง และความลึก ฉะนั้นจุดจึงอยู่นิ่ง ไม่มีการเคลื่อนไหว (static) ไม่มีทิศทาง และเป็นศูนย์รวม (centralized) รูปที่ 2.2 : การแสดงภาพส่วนประกอบของจุด 2. เส้น (line) เส้นในทางเรขาคณิตหรือในทางการเขียนแบบ หมายถึงจุดที่เรียงต่อ ๆ กัน ส่วนใหญ่ใช้เครื่องมือเขียนแบบกาหนดขนาดและทิศทางแต่เส้นในการออกแบบจะมีอิสระ ทั้งขนาด ทิศทาง ระยะ มีสภาพเป็น ตัวแบ่งพื้นที่ หรือกาหนดบริเวณว่าง (space) และสร้างรูปทรง ขององค์ประกอบต่า ง ๆ เส้นในการออกแบบจะให้ความรู้สึกต่อการมองด้วย ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว ความต่อเนื่องสัมพันธ์ และการนาสายตา ลักษณะของเส้นในการออกแบบ มีลักษณะ ต่าง ๆ เช่น 2.1 เส้นตั้งตรง ให้ความรู้สึกมั่นคง แข็งแกร่ง แน่นอน ตรง สง่า แสดงถึงความสูง เส้นตั้ง ที่ปรากฏในสวน เช่น ต้นไม้ เสาโคมไฟ กาแพง รั้ว 2.2 เส้นนอนหรือเส้นระดับ ให้ความรู้สึกราบเรียบ สงบ พักผ่อน เช่น เส้นที่ขอบฟ้าไกล ตัดกับทะเลยามเย็น ในทางการจัดสวนเส้นนอนจะสร้างพื้นที่ในทางราบ เช่น สนามหญ้า ผิวน้า ทางเดิน เส้นที่เกิดจากการตัดแต่งต้นไม้ เช่น แนวของเข็มญี่ปุ่น แสยก อิทธิพลของเส้นนอนในสวน จะช่วยลด ความสูงโดดของเส้นตั้ง ถือเป็นมิติ ลวงตา
  • 15. 15 2.3 เส้นโค้ง ให้ความรู้สึกนุ่มนวล อ่อนไหว สบาย และความเป็นอิสระ การเคลื่อนที่ จะเห็นได้ว่าในการออกแบบสวน จะใช้เส้นโค้งมาก เช่น เส้นที่ไหลคดเคี้ยว ของสน ามหญ้า ทางเดินเท้า ถนน สระน้า 2.4 เส้นทแยง เส้นขวาง เส้นซิกแซก เส้นเหล่านี้ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว รวดเร็ว ตื่นเต้น แข็งกร้าว อิทธิพลของเส้นลักษณะนี้ คือ ความมีแบบแผน น่าเกรงขาม จึงเป็นเส้นที่มักใช้ ตกแต่ง สวนประดิษฐ์ รูปที่ 2.3 : การแสดงภาพส่วนประกอบของเส้น 3. รูปร่างและรูปทรง (form and shape) เมื่อเรามองเห็นต้นไม้ เส้นรอบนอกของทรงพุ่มที่มีลักษณะ คดโค้ง หรือเส้นตั้ง ของลาต้น ซึ่งเป็นเส้นรอบรูปที่ตัดกับบริเวณว่าง สิ่งนั้นคือ รูปร่าง (Form) มี 2 มิติ (กว้างกับยาว) ส่วนเนื้อที่ภายในของทรงพุ่มหรือทรงกระบอก ของลาต้นนั้น เป็นรูปทรง (shape) มี 3 มิติ ให้ความรู้สึกเป็นกลุ่มก้อน มีน้าหนัก มีเนื้อที่ภายใน (กว้าง ยาว และลึก) 3.1 รูปร่าง รูปทรงธรรมชาติ เป็นรูปร่างที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ 3.2 รูปร่าง รูปทรงเรขาคณิต เป็นรูปร่างที่ประกอบด้วยเส้นตรงและเส้นโค้ง เช่น รูปครึ่งวงกลม รูปวงกลม รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปห้าเหลี่ยม เป็นต้น 3.3 รูปร่าง รูปทรงอิสระ เป็นรูปร่าง รูปทรงต่าง ๆ ที่นอกเหนือจากรูปร่าง ธรรมชาติ และรูปร่างเรขาคณิต
  • 16. 16 รูปที่ 2.4: การแสดงภาพรูปร่างและรูปทรงธรรมชาติ รูปที่ 2.5 : การแสดงภาพรูปร่างและรูปทรงเรขาคณิต รูปที่ 2.6 : การแสดงภาพรูปร่างและรูปทรงอิสระ
  • 17. 17 4. มวลและปริมาตร (Mass and volume) มวล หมายถึง เนื้อทั้งหมดของสาร ถ้าเป็นพุ่มไม้ ก็คือ พื้นที่ภายในทรงพุ่มทั้งหมด มวลของหิน คือ เนื้อที่แข็งแกร่งของหิน ปริมาตร (Volume) คือ พื้นที่กินระวางในอากาศหรือบริเวณว่าง (space) ของวัตถุต่าง ๆ กาหนดเป็นรูปทรงที่แสดงเป็น 3 มิติ การกาหนดมวลและปริมาตร มักจะถูกเรียกกลืนไปกับ เรื่องของเนื้อที่และปริมาณ เช่น ใช้พันธุ์ไม้ในปริมาณที่มาก ๆ มาปลูกรวมกัน เพื่อสร้างเนื้อที่ ดังนั้น ในการจัดวางองค์ประกอบต่าง ๆ ลงในพื้นที่ ต้องคานึงถึงปริมาณของวัตถุและการใช้เนื้อที่ รูปที่ 2.7 : การแสดงภาพมวลและปริมาตร การจัดองค์ประกอบทางศิลปะ การจัดองค์ประกอบทางศิลปะ เป็นหลักสาคัญสาหรับผู้สร้างสรรค์ ผู้ศึกษา งานศิลปะ มีคุณค่าอยู่ 2 ประการ คือ คุณค่าทางด้านรูปทรงรูปทรงเกิดจากการนาเอาองค์ประกอบ ต่างๆ ของศิลปะได้แก่ เส้น สี แสงและเงา รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว ฯลฯ มาจัดเข้าด้วยกันเพื่อให้เกิด ความงาม ซึ่งแนวทางในการนาองค์ประกอบต่าง ๆ มาจัดรวมกันนั้นเรียกว่า การจัดองค์ ประกอบ ศิลป์ (Art Composition) และอีกคุณค่าหนึ่งของงานศิลปะ คือ คุณค่าทางด้านเนื้อหา เป็นเรื่องราว หรือสาระของผลงานที่ศิลปินผู้สร้างสรรค์ ต้องกา รที่จะแสดงออกมา ให้ผู้ชมได้สัมผัส รับรู้ โดยอาศัยรูปลักษณะที่เกิดจากการจัดองค์ประกอบศิลป์ มีหลักที่ควรคานึงอยู่ 5 ประการ คือ 1. สัดส่วน หมายถึง ความสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสมระหว่างขนาดขององค์ประกอบ ที่แตกต่างกัน ทั้งขนาดที่อยู่ในรูปทรงเดียวกันหรือระหว่างรูปทรง และรวมถึงความสัมพันธ์ กลมกลืนระหว่างองค์ประกอบทั้งหลายด้วย ซึ่งเป็นความพอเหมาะพอดี ไม่มากไม่น้อย ขององค์ประกอบทั้งหลายที่นามาจัดรวมกัน พิจารณาจากคุณลักษณะดังต่อไปนี้
  • 18. 18 1.1 สัดส่วนที่เป็นมาตรฐาน จากรูปลักษณะตามธรรมชาติของ คน สัตว์ พืช จะมี ความงามที่เหมาะสมที่สุด หรือจากรูปลักษณะที่เป็นการสร้างสรรค์ของมนุษย์ ทาให้สิ่งต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นมีสัดส่วนที่สัมพันธ์กับทุกสิ่งอย่างลงตัว รูปที่ 2.8 : สัดส่วนที่เป็นมาตรฐานตามธรรมชาติ 1.2 สัดส่วนจากความรู้สึก โดยที่ศิลปะนั้นไม่ได้สร้างขึ้นเพื่อความงามของรูปทรง เพียงอย่างเดียว แต่ยังสร้างขึ้นเพื่อแสดงออกถึงเนื้อหา เรื่องราว ความรู้สึกด้วยสัดส่วนจะช่วยเน้น อารมณ์ ความรู้สึกให้เป็นไปตามเจตนารมณ์และเรื่องราวที่ศิลปินต้องการลักษณะ ทาให้งานศิลปะ ของชนชาติต่าง ๆ มีลักษณะแตกต่างกัน เนื่องจากมีเรื่องราว อารมณ์ ความรู้สึกที่ต้องการแสดงออก ต่าง ๆ กันไป รูปที่ 2.9 : การแสดงภาพมวลและปริมาตร 2. ความสมดุล หรือ ดุลยภาพ หมายถึง น้าหนักที่เท่ากันขององค์ประกอบไม่เอนเอียง ไปข้างใดข้างหนึ่ง ยังรวมถึงความประสานกลมกลืน ความพอเหมาะพอดีของส่วนต่าง ๆ ในรูปทรง ของการจัดวางองค์ประกอบต่าง ๆ ลงในงานศิลปกรรม งานสถาปัตยกรรม
  • 19. 19 3. จังหวะลีลา หมายถึง การเคลื่อนไหวที่เกิดจาการซ้ากันขององค์ประกอบเป็นการซ้า ที่เป็นระเบียบ จากระเบียบธรรมดาที่มีช่วงห่างเท่า ๆ กัน มาเป็นระเบียบที่สูงขึ้น ซับซ้อนขึ้น จนถึงขั้นเกิดเป็นรูปลักษณะของศิลปะ โดยเกิดจาก การซ้าของหน่วย หรือการสลับกันของหน่วย กับช่องไฟ หรือเกิดจากการเลื่อนไหลต่อเนื่องกันของเส้น สี รูปทรง หรือ น้าหนัก รูปที่ 2.10 : การแสดงภาพจังหวะและลีลา 4. การเน้น การกระทาให้เด่นเป็นพิเศษ จะต้องมีส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือจุดใดจุดหนึ่ง ที่มีความสาคัญกว่าส่วนอื่น ๆ เป็นประธานอยู่ แต่ถ้าถูกส่วนอื่นๆ ที่มีความสาคัญน้อยกว่าบดบัง หรือแย่งความสาคัญ ความน่าสนใจไปเสีย งานที่ไม่มีจุดสนใจ จะทาให้ดูน่าเบื่อ เหมือนกับลวดลาย ที่ถูกจัดวางซ้ากันโดยปราศจากความหมาย หรือเรื่องราวที่น่าสนใจ ดังนั้น ส่วนนั้นจึงต้องถูกเน้น ให้เห็นเด่นชัดขึ้นมาเป็นพิเศษกว่าส่วนอื่น ๆ ซึ่งจะทาให้ผลงานมีความงาม สมบูรณ์ ลงตัว และน่าสนใจมากขึ้น รูปที่ 2.11 : การแสดงภาพที่เน้นจุดเด่น
  • 20. 20 5. เอกภาพ หมายถึง ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันขององค์ประกอบศิลป์ทั้งด้านรูปลักษณะ และด้านเนื้อหาเรื่องราว เป็นการประสานหรือจัดระเบียบของส่วนต่าง ๆ ให้เกิดความเป็นหนึ่งเดียว เพื่อผลรวมอันไม่อาจแบ่งแยกส่วนใดส่วนหนึ่งออกไป การสร้างงานศิลปะ คือ การสร้างเอกภาพ ขึ้นจากความสับสน ความยุ่งเหยิง เป็นการจัดระเบียบและดุลยภาพให้แก่สิ่งที่ขัดแย้งกันเพื่อให้ รวมตัวกันได้ โดยการเชื่อมโยงส่วนต่าง ๆให้สัมพันธ์กัน รูปที่ 2.12 : การแสดงภาพที่เป็นเอกภาพ
  • 21. 21 แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของศิลปะ คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องและเหมาะสมที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วกาเครื่องหมาย X ลงในช่องว่างให้ตรงกับอักษรกากับข้อคาตอบในกระดาษคาตอบ 1. องค์ประกอบของศิลปะ ถูกกาหนดมูลฐานความงามข้อใด ก. รูปร่าง รูปทรง สัดส่วน ข. จุด เส้น สี ช่องว่าง ค. ลักษณะผิว ลวดลาย การเน้น ง. เอกภาพ ดุลยภาพ จังหวะลีลา 2. ข้อใดไม่ใช่หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ ก. เอกภาพ ข. จังหวะ ค. ระยะทาง ง. ความสมดุล 3. ข้อใดไม่ใช่ความงามของศิลปะ ก. ความสวยงามของน้าตก ข. การสร้างรูปเพื่อเคารพ ค. การวาดภาพเหมือน ง. การออกแบบรถยนต์รุ่นใหม่ 4. การจัดองค์ประกอบศิลป์ มีหลักที่ควรคานึงอยู่กี่ประการ ก. 3 ประการ ข. 4 ประการ ค. 5 ประการ ง. 6 ประการ 5. ข้อใดคือความหมายของเอกภาพ (Unity) ในงานศิลปะ ก. ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ข. ความเท่ากันเสมอกัน ค. ส่วนประธานของงานศิลปะ ง. ความไม่ลงรอยกัน
  • 22. 22 6. ข้อใดคือความหมายของความสมดุล (Balance) ในงานศิลปะ ก. ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ข. ความเท่ากันเสมอกัน ค. ส่วนประธานของงานศิลปะ ง. ความไม่ลงรอยกัน 7. ข้อใดเป็นการให้ชิ้นงานเด่นเป็นพิเศษกว่าส่วนเป็นประธานศิลปะ ก. สัดส่วน ข. จังหวะลีลา ค. เอกภาพ ง. การเน้น 8. จากรูป เป็นข้อใดของพื้นฐานองค์ประกอบศิลป์ ก. รูปร่าง ข. เส้น ค. ปริมาตร ง. จุด 9. จากรูป เป็นข้อใดของพื้นฐานองค์ประกอบศิลป์ ก. รูปร่าง ข. เส้น ค. ปริมาตร ง. จุด 10. การออกแบบเครื่องแต่งกาย จัดว่าเป็นงานออกแบบประเภทใด ก. ออกแบบตกแต่ง ข. ออกแบบผลิตภัณฑ์ ค. ออกแบบพาณิชย์ศิลป์ ง. ออกแบบสัญลักษณ์สื่อความหมาย ……………………………………………………………….
  • 23. 23 เฉลย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของศิลปะ …………………………………………………………………………………. 1. ข 2. ค 3. ก 4. ค 5. ก 6. ข 7. ง 8. ง 9. ก 10. ข .......................................................................................................