SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง
การพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยการทางานเป็นกลุ่ม
ผู้จัดทา
นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงคเพื่อการศึกษาการพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิค ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 4/1 โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม จํานวน 32 คน โดยการทดลองใหนักเรียน ทํางานเปนกลุ่มสามารถพัฒนา
ทักษะการระบายสีอะคริลิค ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ไดดีขึ้นและ มีการประเมินผลการระบายสี
อะคริลิค จากใบงานทั้งหมด 3 ครั้ง และเก็บรวบรวมขอมูลจากคะแนนของ นักเรียนแตละคนมาเปรียบเทียบ
กันทั้ง 3 ครั้ง จะเห็นได้ว่า นักเรียนมีทักษะในการระบายสีอะคริลิค สูงขึ้นตามลําดับ โดยครั้งที่ 1 อยูในระดับ
ดีมากร้อยละ 14.50 ครั้งที่ 2 รอยละ 27.20 และครั้งที่ 3 รอยละ 56.30 ตามลําดับ ผลการวิจัยในชั้นเรียน
ครั้งนี้ส่งผลใหนักเรียนมีความรู้และเกิดการพัฒนาทักษะการระบาย สีอะคริลิค ดีขึ้นและบรรลุวัตถุประสงค
เป็นที่นาพึงพอใจ
นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
คานา
ตามที่หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กําหนดมาตรฐานการเรียนรูช่วงชั้นในกลุมสาระ
การเรียนรู้ศิลปะโดยมวัตถุประสงคให้ผูเรียนรูไดพัฒนาดานสุนทรียภาพรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณและ
สังคม สงเสริมใหผู้เรียน กลาคิด กลาทํา กลาแสดงออก ในเชิง สรางสรรค์สามารถคนพบศักยภาพของตนเอง
อันเปนพื้นฐานในการศึกษาตอหรือประกอบอาชีพที่ สุจริตในอนาคตได้การทําวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้มีวัตถุประ
สงคเพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิค ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โดยการทํางานเปนกลุ่ม ซึ่ง
ถือวาเป็นวิธีการนํามาใชแกปญหาในการจัดการเรียน การสอนวิธีหนึ่ง เพื่อใหผูเรียนไดพัฒนาการเรียนรูด้าน
ทัศนศิลปเกี่ยวกับการระบายสีอะคริลิคให้ดีขึ้น ผู้วิจัยขอขอบพระคุณบุคคลที่ให้การสนับสนุนสงเสริมในการ
วิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้
นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
สารบัญ
บทคัดย่อ หน้า
คํานํา
บทที่ 1 บทนํา
-ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา
-วัตถุประสงค์
-สมมุติฐาน
-นิยามศัพทเฉพาะ
- ประโยชนของการทําวิจัย
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ
เอกสารที่เกี่ยวของในการจัดการเรียนการสอน
เพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิค
บทที่ 3 วิธีการวิจัย
กลุ่มเป้าหมาย
ตัวแปรที่ใชในการวิจัย
วิธีการหรือนวัตกรรมที่ใช
แผนภูมิการจัดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิค
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะหข้อมูลเปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะ
การระบายสีอะคริลิค จากกิจกรรมการทํางานเป็นกลุ่ม ครั้งที่ 1
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะ
การระบายสีอะคริลิคจากกิจกรรมการทํางานเป็นกลุ่ม ครั้งที่ 2
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะ
การระบายสีอะคริลิคจากกิจกรรมการทํางานเป็นกลุ่ม ครั้งที่ 3
สรุปแบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม
บทที่ 5 สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผล
อภิปรายผล
ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ตัวอยางภาพครั้งที่ 1
ตัวอยางภาพครั้งที่ 2
ตัวอยางภาพครั้งที่ 3
ภาพนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 ปฏิบัติงานกลุม
ใบความรูที่ 1
ใบความรูที่ 2
แบบสอบถามความคิดเห็น
ใบงานที่ 1
ใบความรูที่ 2
ใบงานที่ 3
แบบประเมินการทดสอบการระบายสีอะคริลิค ครั้งที่ 1
แบบประเมินการทดสอบการระบายสีอะคริลิค ครั้งที่ 2
แบบประเมินการทดสอบการระบายสีอะคริลิค ครั้งที่ 3
บทที่ 1
บทนา
การวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง การพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โดยทางานเป็นกลุ่ม
1. ความเปนมาและความสาคัญของปญหา
การจัดกระบวนการเรียนการสอนในรายวิชาศิลปะพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
สวนหนึ่งของเนื้อหาในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดกําหนดใหผูเรียนเกิด
การเรียนรูดานทัศนศิลปประเภทจิตรกรรมการวาดภาพระบายสีอะคริลิค โดยเนนเพื่อใหเกิดการเรียนรูทั้ง
ทฤษฎีและการปฏิบัติ จากการประเมินผลการจัดการเรียนการสอนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 ซึ่งมี
นักเรียนทั้งหมดจํานวน 32 คนพบวานักเรียนจํานวน 32 คน ยังขาดทักษะในการระบายสีจะเห็น
ไดจากผลงานที่นักเรียนฝกปฏิบัติ ทั้งนี้เปนเพราะนักเรียนขาดกิจกรรมที่สงเสริมทักษะการระบาย
สี ซึ่งการระบายสีอะคริลิคเปนทักษะที่สําคัญและจําเปนในทางศิลปะ อันเปนทักษะพื้นฐานที่จะนําไปสู
งานศิลปะดานอื่น นอกจากนี้การวาดภาพระบายสีอะคริลิคยังเปนกิจกรรมที่สรางความสนุกสนาน
เพลิดเพลิน ทําใหนักเรียนไดผอนคลายอารมณ ทําใหนักเรียนมีจิตใจออนโยน และถาหาก
นักเรียนขาดทักษะการระบายสี จะสงผลตอการเรียนศิลปะดานอื่น ๆ ทําใหนักเรียนขาดแรงจูงใจ
ที่จะเรียนศิลปะดานอื่น ๆอีกดวย
ดังนั้นหากไดใหนักเรียนฝกระบายสีอะคริลิคเปนกลุมจะทําใหนักเรียนมีทักษะในการระบายสีดีขึ้น
ได ทั้งนี้เนื่องจากกระบวนการในการทํางานเปนกลุมไดชวยสนับสนุนใหนักเรียนเกิดจินตนาการ
และความคิดสรางสรรคมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมกันภายในกลุม และมีการยกยองชมเชย
สรางแรงจูงใจและกําลังใจใหเกิดขึ้นภายในกลุม ซึ่งจะชวยใหนักเรียนมีทักษะในการระบายสีอะคริลิค
ตลอดจนการไดเปนผูพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงคทางดานสุนทรียะ มีความพรอมที่จะเรียน
ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะในระดับชั้นที่สูงขึ้นตอไป
2. วัตถุประสงค
เพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 โดยการทํางานเปนกลุม
3. สมมุติฐาน
การทํางานเปนกลุมสามารถพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 ไดดีขึ้น
4. นิยามศัพทเฉพาะ
1.การทางานเปนกลุม หมายถึง การทํางานรวมกันของนักเรียนโดยแบงเปนกลุม
กลุมละ 3 - 5 คน โดยมีการจัดระบบการทํางานรวมกัน สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีสวนรวมในการ
แสดงความคิดเห็นในการปฏิบัติงานไดเรียนรูการทํางานรวมกับผูอื่น
2.ทักษะการระบายสีอะคริลิค หมายถึง ความสามารถในการระบายสีอะคริลิคของนักเรียนประเมิน
ไดจากการฝกปฏิบัติการระบายสีอะคริลิคใหเกิดความชํานาญตามขั้นตอนของทฤษฎีสีและหลักการ
จัดองคประกอบของศิลปะ เพื่อใหไดภาพระบายสีอะคริลิค ที่มีความสวยงามสามารถนําไปใชสอย
ใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวันไดตามความเหมาะสม
5. ประโยชนของการทาวิจัย
1. นักเรียนไดพัฒนาทักษะดานการระบายสีอะคริลิค
2. นักเรียนไดฝกการทํางานเปนกลุม
3. นักเรียนมีความคิดริเริ่มสรางสรรคสามารถวาดภาพระบายสีอะคริลิคไดสวยงาม
4. นักเรียนมีความภูมิใจในผลงานของตนเองและไดรับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน
ในการทํางาน
5. นักเรียนมีความรักสามัคคีกันในการทํางานเปนกลุ่มและรูจักการเสียสละเพื่อ
ประโยชนของสวนรวม
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวของ
การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ ผู้วิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยเพื่อเปนแนวทางในการ
ดําเนินการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีของนักเรียน โดยศึกษาเอกสาร
ตามลําดับดังนี้
1.โชดก เกงเขตรกิจ, ปญญา ทรงเสรีย , ยศนันท แยมเมือง และเศรษฐศิริ สายกระสุน
( 2548 ) สรุปไดวา สีสันกับโลกสวยงาม เกี่ยวกับกับทัศนธาตุ และองคประกอบศิลปะ คือผูที
สรางสรรคผลงานศิลปะจะใชเปนสื่อความหมายในการแสดงออกโดยองคประกอบพื้นฐานคือ
ทัศนธาตุตางๆ ไดแก จุด เสน น้ําหนัก(แสง - เงา ) ทีวาง ลักษณะผิว และสี เพื่อนํามาจัดรวมเขา
ดวยกันจะเกิดเปนรูปทรงของงานศิลปะขึ้น
แสดงใหเห็นวาการระบายสีเปนองคประกอบศิลปะที่ทําใหผลงานมีความนาสนใจแกผูพบ
เห็นโดยมีความสวยงามเกิดความรูสึกทางอารมณจิตใจไดหลากหลาย สภาพแวดลอมของมนุษย
ลวนแตประกอบดวยสีสันไมวาจะเปนสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น
ถาขาดการตกแตงดวยสีสันยอมไมนาสนใจและจะไมมีความสวยงาม
2.วัชรพงษ หงษสุวรรณ ( 2548 ) สรุปไดวาการเขียนภาพสีอะคริลิค(Liquitex) เปนสีเคมีที่มีส่วนผสมของ
พลาสติกโพลิเมอร์ (Polymer) โดยมีคุณสมบัติพิเศษ ที่แห้งเร็ว ติดทนนาน ถึงขนาดเอาไปเพ้นท์กับวัสดุอื่นๆ
ได้มากมาย ไม่ว่าจะเป็น ผ้าคานวาส จานเซรามิค รองเท้าผ้า โลหะ พลาสติก และไม้ เป็นต้น ซึ่งด้วยลักษณะที่
มีความทึบแสงของอะคริลิคนี่เอง
เขียนในกระดาษ สีอะคริลิคเปนสีทึบแสง (Opaque) ที่ใชผสมกับน้ําได้แลวใชพูกันระบายลงบนกระดาษ
การผสมสีเกิดจากการผสมระหวางสีหนึ่งกับอีกสีหนึ่ง หรือหลายสีผสมกัน เพื่อใหเกิดเปนการสร้างสรรค์
ตามตองการ
3. ประเทือง เอมเจริญ (2546) ไดกลาวถึงสิ่งที่ปรากฏเปนความงามของศิลปความชุม
นุมนวลเต็มพื้นที่ของภาพที่ดูกลมกลืนกัน การไหลอยางอิสระใช้เทคนิคน้ําหนักเส้น ความงามของ
สีที ทาของการขีดเขียนที่ดูเฉียบขาดเรียบงาย คาแตกตางของ สี น้ําหนัก รูปทรงที่ดูมีเอกภาพ
ในตัวเอง พลังกระตุนจินตนาการจากภาพสูผูชมงานที่มีสมาธิในการดู สิ่งที่กอใหเกิดความสําเร็จใน
งานคือสีทุกสีอะคริลิค บวกน้ําใจ
มิติแหงสีอะคริลิค
* แผซานไปทั่วแผนกระดาษเปยกฉ่ําดั่งมวลเมฆบนทองฟาคือ มิติแหงสีอะคริลิค
*เคลื่อนไหวอยางอิสระราเริงเพื่อเขารวมเปนหนึ่งเดียวกับความสงบ คือ มิติแหงสีอะคริลิค
*แทรกซึมสูใตผิวลื่นไหลอยูเบื้องบน มุงผสานความกลมกลืนคือ มิติแหงสีอะคริลิค
* แตกตัวเปนสีทุกสีดั่งดอกไมหลากสีบนพื้นพิภพคือ มิติแหงสีอะคริลิค
* ไมแยกตัวจากความดี หลีกหนีความชั่วคือ มิติแหงสีอะคริลิค
*เปดประตูแหงความไมรู ไปสูความรูแจงอันเบิกบานคือ มิติแหงสีอะคริลิค
แสดงใหเห็นวามิติแหงสีอะคริลิคเปนเอกลักษณเฉพาะตัวมีเสนหไมเหมือนสีอื่น ภาพที่เกิด
จากการระบายสีอะคริลิคดูชุมชื่น มีชีวิตชีวา มีความสวยงามนาสนใจแกผู้พบเห็น
4. การทางานกลุ่ม
การทางานกลุม หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู กิจกรรมในชมรมตาง ๆ เพื่อ
สงเสริมใหผูเรียนไดมีสวนรวมในการวางแผน ความรับผิดชอบและการบริหารเวลา
(http//:www.acp.assumption.ac.th/Homepage/self)
E-book หมายถึง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จากเว็บไซต์ครู www.peterfineart.com
ดังนั้นการทางานเปนกลุม จึงหมายถึง การรวมกันทํางานตั้งแต 3 - 5คนขึ้นไป สมาชิกใน
กลุมมีสวนรวมในการวางแผนทํางานและไดแสดงความคิดเห็นรวมกัน สงผลใหไดชิ้นงานที่สําเร็จ
เปนที่พึงพอใจรวมกัน
ประโยชนของการทางานเปนกลุม
1. นักเรียนไดรูจักการวางแผนการจัดกิจกรรมรวมกัน
2. นักเรียนไดพัฒนาบุคลิกของตนเองใหปรับตัวเขากับผูอื่นได
3. นักเรียนไดรูจักการเสียสละเวลาและทุนทรัพยเพื่อใหเกิดประโยชนต่อสวนรวม
4. นักเรียนมีความรักสามัคคีในหมูคณะและมีความภูมิใจในงานที่ทํารวมกัน
บทที่ 3
วิธีการวิจัย
การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงทดลอง โดยผู้วิจัยไดดําเนินการตามลําดับดังนี้
1. กลุมเปาหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม
จํานวน 32 คน
2. ตัวแปรที่ใชในการวิจัย
2.1 ตัวแปรตน การทํางานเปนกลุม
2.2 ตัวแปรตาม การพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิค
3. วิธีการหรือนวัตกรรมที่ใช
1. แผนการเรียนรู เรื่อง ศิลปสมัยใหม่
2. แผนการจัดกิจกรรมการทํางานเปนกลุ่ม
2.1 นักเรียนแบงกลุมกันทํางานตามอัธยาศัย ใหมีจํานวนกลุมละ 3 - 4 คน เสร็จแลว
ใหประชุมสมาชิกกลุม แบงงานกันรับผิดชอบ โดยแตละกลุมนัดหมาย เรื่องการเตรียมอุปกรณ
สําหรับวาดภาพระบายสีอะคริลิค มาใหพรอมในชั่วโมงเรียน
2.2 ใหนักเรียนทดลองวาดภาพระบายสีอะคริลิค ครั้งที่ 1 ภาพนามธรรม(แอบสแตรค)
2.3 ครูจัดทําใบความรูที่ 1 เรื่อง ทฤษฎีสี และ ใบความรูที่ 2 เรื่อง การเขียนภาพสีอะคริลิค
ใหนักเรียนศึกษาใบความรู้
2.4 นักเรียนแตละกลุมทุกคนทดลองวาดภาพระบายสีอะคริลิค ครั้งที่ 2 ภาพนามธรรม(แอบสแตรค)
2.5 เพื่อนในกลุมและครูรวมกันประเมินผลการทํางานครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2
2.6 หลังการประเมินผลงานนักเรียนบางคนไดคะแนนไมผานเกณฑเพื่อนในกลุม
และครูชวยกันแนะนําเพิ่มเติมโดยการสาธิต
2.7 หลังประเมินผลงานนักเรียนครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ที่ไดคะแนนผานเกณฑใหทําใบ
งานที่ 3
2.8 นักเรียนแตละกลุ่มทุกคนทดลองวาดภาพระบายสีอะคริลิค ครั้งที่ 3 ภาพนามธรรม(แอบสแตรค)
2.9 สรุปผลการประเมินการทํางานจากใบงานทั้ง 3 ครั้ง ใหนักเรียนทุกกลุมทราบ
แผนภูมิการจัดกิจกรรมการเรียนรูพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิค
ของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที่ 4/1 โดยการทางานเปนกลุม
นักเรียนแบงกลุมทํางานตามอัธยาศัย กลุมละ 3-4
นักเรียนทําใบงานที่ 1
นักเรียนศึกษาใบความรู
นักเรียนทําใบงานที่ 2
นักเรียนและครูร่วมกันประเมินผลงานครั้งที่ 1และครั้งที่2 ไม่ผานเกณฑ เพื่อนในกลุมและครู
ผ่านเกณฑ์
นักเรียนทําใบงานที่ 3
สรุปการประเมินผลการทํางานจากใบงานทั้ง 3 ครั้ง
4. วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล
ผู้วิจัยเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง ตามขั้นตอนดังนี้
1. ใหนักเรียนทํางานเปนกลุ่มทั้งหมด 3 ครั้ง เริ่มตั้งแตการประเมินผลกอนเรียน
โดยวาดภาพระบายสีอะคริลิคลัทธิแอบสแตรค
2. นักเรียนปฏิบัติงาน ตามใบงานที่ 1 , ใบงานที่ 2 , ใบงานที่ 3
3. ครูแจกแบบการประเมินผลการใหคะแนนทั้ง 3 ครั้ง
4. ครูกําหนดเวลาใหนักเรียนสงผลงานที่ทําเสร็จแลวใหครูตรวจประเมินผล
5. ครูสรุปผลการตรวจผลงาน ครั้งที่ 1 และดําเนินการตอดังนี้
5.1 ครูแจกใบงาน นักเรียนปฏิบัติตามใบงานครั้งที่ 2 วาดภาพระบายสีอะคริลิคเรื่องลัทธิแอบส
แตรค
และสงผลงานใหครูตรวจ ประเมินผล
5.2 ครูแจงผลคะแนนครั้งที่ 2
6. ครูแจกใบงานครั้งที่ 3 และดําเนินการตอดังนี้
6.1 นักเรียนปฏิบัติตามใบงานครั้งที่ 3 วาดภาพระบายสีอะคริลิค เรื่องลัทธิแอบสแตรค
สงผลงานที่เสร็จแลวใหครูตรวจประเมินผล
6.2 ครูแจงผลคะแนน จากการทํางานครั้งที่ 3 และแจงผลการประเมินทั้ง
3 ครั้งใหนักเรียนทราบ
7. วิธีการวิเคราะหขอมูล
7.1 เปรียบเทียบผลคะแนนกอนเรียนและหลังเรียน โดยใชคารอยละ
7.2 รวบรวมขอมูลจากแบบประเมินผลการใหคะแนนทั้ง 3 ครั้ง
5. วิธีการวิเคราะห์ขอมูล
- ผูทําวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ ใชวิธีการวิเคราะห์ขอมูลโดยวิธีหาคาเฉลี่ยรอยละ
บทที่ 4
ผลการวิเคราะหขอมูล
ผลการวิเคราะหขอมูล ปรากฏดังตารางที่ 1 , 2 และ 3 ดังนี้
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะการระบายสีอะคริลิค จากกิจกรรมการทํางานเปนกลุม
จํานวนนักเรียน
มัธยมศึกษาปีที่ 4/1
เกณฑการประเมิน ผล
การพัฒนาทักษะการ
ระบายสีอะคริลิค
ผลการประเมินรอยละ หมายเหตุ
32 ดีมาก
พอใช
ปรับปรุง
9.52
50
40.48
นร. 2 คน
นร. 15 คน
นร. 15 คน
ตารางที่ 2 เปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะการระบายสีอะคริลิค จากกิจกรรมการทํางานเปนกลุม ครั้งที่
2
จํานวนนักเรียน
มัธยมศึกษาปีที่ 4/1
เกณฑการประเมิน ผล
การพัฒนาทักษะการ
ระบายสีอะคริลิค
ผลการประเมินรอยละ หมายเหตุ
32 ดีมาก
พอใช
ปรับปรุง
38.10
52.38
9.52
นร. 12 คน
นร. 18 คน
นร. 2 คน
ตารางที่ 3 เปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะการระบายสีอะคริลิค จากกิจกรรมการทํางานเปนกลุม
ครั้งที่ 3
จํานวนนักเรียน
มัธยมศึกษาปีที่ 4/1
เกณฑการประเมิน ผล
การพัฒนาทักษะการ
ระบายสีอะคริลิค
ผลการประเมินรอยละ หมายเหตุ
จากการเปรียบเทียบคะแนนทั้ง 3 ตาราง จะเห็นได้ว่านักเรียนมีทักษะในการระบายสีอะคริลิค สูงขึ้น
ตามลําดับ โดยครั้งที่ 1 อยูในระดับดีมาก รอยละ 64.28 ครั้งที่ 2 รอยละ 33.34 และ ครั้งที่ 3 รอย
ละ 2.38 ตามลําดับ และนักเรียนที่มีทักษะการระบายสีอะคริลิคอยูในระดับปรับปรุง
ตารางที่ 4 สรุปแบบสังเกตพฤติกรรมกลุม
จากการทําวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ พฤติกรรมกลุมที่สังเกตโดยเพื่อนในกลุม มี 4 ขอ คือ
1. ความรับผิดชอบตอหนาที่
2. การใหความรวมมือ
3. ความสนใจตอกิจกรรมกลุม
4. การแสดงความคิดเห็น
กลุมที่
คะแนนเฉลี่ย คาระดับคะแนน
ดาน 1 ด้าน 2 ด้าน 3 ด้าน 4
กลุมที่ 1 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
กลุมที่ 2 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
กลุมที่ 3 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
กลุมที่ 4 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
กลุมที่ 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
กลุมที่ 6 3 3 3 3 พอใช้
กลุมที่ 7 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
กลุมที่ 8 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
กลุมที่ 9 3 3 3 3 พอใช้
กลุมที่ 10 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
กลุมที่ 11 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี
32 ดีมาก
พอใช
ปรับปรุง
64.28
33.34
2.38
นร. 29 คน
นร. 2 คน
นร. 1 คน
บทที่ 5
สรุปอภิปรายผล และขอเสนอแนะ
การวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 โดยการ
ทํางานเปนกลุม ในครั้งนี้ คือ
1. สรุปผล
- จากตารางเปรียบเทียบคะแนนการทํางาน เรื่อง การพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิค
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 โดยการทํางานเปนกลุม จํานวน 3 ครั้ง พบวา จากการทํางาน
ครั้งที่ 1 มีนักเรียนจํานวน 2 คน ที่มีความสามารถในการระบายสีอะคริลิคไดถูกตองตามหลักการ อยูใน
ขั้นเกณฑดีมาก และมีนักเรียนจํานวน 15 คน ที่มีความสามารถในการระบายสีอะคริลิค อยูในเกณฑระดับ
พอใช นักเรียนจํานวน 15 คน มีความสามารถในการระบายสีอะคริลิค อยู่ในระดับปรับปรุง
- คะแนนการทํางานครั้งที่ 2 พบวา นักเรียนสวนใหญทํางานอยูในระดับดีมากจํานวน
12 คน และอยู่ในระดับพอใช 18 คน มีนักเรียนจํานวน 2 คน ที่อยูในระดับปรับปรุง
- คะแนนการทํางานครั้งที่ 3 พบวา นักเรียนจํานวน 1 คน ที่อยูในระดับปรับปรุง
ดังนั้นการพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิคของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4/1
โดยวิธีทํางานเปนกลุม ทําใหเกิดผลการเรียนรูที่ดีขึ้น และบรรลุวัตถุประสงคการทําวิจัยในชั้นเรียน
ครั้งนี้
2. อภิปรายผล
- จากการทําวิจัยในชั้นเรียนในครั้งนี้สงผลใหนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ไดพัฒนาทักษะการระบาย
สีอะคริลิคโดยการทํางานเปนกลุม คือ กระบวนการที่ทําใหการทํางานแตละครั้งของนักเรียนเกิดผลสําเร็จ
และไดผลงานเปนที่นาพึงพอใจเปนอยางยิ่ง ซึ่งผูทําวิจัยไดตรวจ ผลงานและประเมินผลการใหคะแนนตาม
ประเด็นและหลักเกณฑตามที่กําหนดไว ทําเปนขอมูล หลักฐานยืนยันได้ว่า การทํางานในครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2
และครั้งที่ 3 ทําให้นักเรียนมีการพัฒนาทักษะ การระบายสีอะคริลิค จากทํางานอยูในขั้นเกณฑปรับปรุง
พัฒนาเปนพอใชและดีมาก ขึ้นมาตามลําดับ และนักเรียนที่มีความสามารถทํางานจากครั้งที่ 1 ดีมาก ก็ได
รักษาระดับความสามารถของตนเองไว ตลอดทั้ง 3 ครั้ง
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิคของนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปที่
4/1 โดยวิธีการทํางานเปนกลุมซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากการจัดการเรียนการสอนใน วิชาศิลปะพื้นฐาน
พบวา นักเรียนขาดทักษะในการระบายสีอะคริลิค ผูวิจัยจึงใชวิธีการทํางานเปนกลุ่ม
สรุปไดวา การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ สงผลใหนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/1 เกิดการพัฒนาการ
เรียนรูและประสบการณที่ใหมๆ ฝกใหนักเรียนเปนคนคิดริเริ่มสรางสรรค สามารถนําความรูที่ไดรับไปใชแก้
ปญหาใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวันไดเหมาะสม การวิจัย ในชั้นเรียนเปนกระบวนการทํางานโดยมีวีธีการ
วางแผนจนเกิดผลสําเร็จที่ดีในการทํางาน เพื่อ สนองตอบนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ตามพระราชบัญญัติ
การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542
ขอเสนอแนะ
ในการทําวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ ผูวิจัยมีขอเสนอแนะแนวทางสําหรับผูสนใจ จะนําไป พัฒนาการเรียน
การสอนหรือ ศึกษาการวิจัยในชั้นเรียนในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ และกลุมสาระการเรียนรูอื่น ๆ ไดดังนี้
1. ผูทําวิจัยในชั้นเรียนควรศึกษาสภาพปญหาในหองเรียน ที่สมควรให้มีการแกไข และปรับปรุงเพื่อใหการ
เรียนการสอนดีขึ้น
2. นักเรียนตอบแบบสอบถาม ขอดี – ขอเสีย โดยการทํางานเปนกลุม มีความพึงพอใจมาก นอยอยางไร ครู
เก็บรวบรวมขอมูลและได้ขอสรุป คือ รอยละ 95 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 เห็นดวยกับวิธีการเรียน
โดยการทํางานเปนกลุม
3. นักเรียนควรไดนําความรูและประสบการณที่ไดรับ ไปใชใหเกิดประโยชนทั้งตอตนเอง และครอบครัว
ตลอดจนในสังคมใหดีขึ้นตอไปในอนาคต
4. การจัดกระบวนการสอน โดยใหนักเรียนทํางานเปนกลุม ๆ ละ 3-5 คน เปนลักษณะ กลุมที่เหมาะสม
เพราะการแสดงความคิดเห็นรวมกันในกลุม หรือการนัดหมายแบงงานรับผิดชอบ แกสมาชิกในกลุมจะมีความ
คลองตัวง่าย สะดวกตอการประสานงานกัน
บรรณานุกรม
โชดก เกงเขตรกิจ, ปญญา ทรงเสรี, ยศนันท แยมเมือง, เศรษฐศิริ สายกระสุน.(2548) ทัศนศิลป ชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 4 บริษัทโรงพิมพไทยวัฒนาพาณิชย จํากัด. กรุงเทพมหานคร. วัชรพงศ หงสสุวรรณ.(2548) สี
อะคริลิคภาคปฏิบัติ บริษัทวาดศิลป จํากัด. กรุงเทพมาหานคร. ประเทือง เอมเจริญ.(2546) มิติแหงสีอะคริลิค
2003 บริษัทอัมรินทรพริ้นติ้ง แอนดพัลลิชชิ่งจํากัด. (มหาชน)
www.peterfineart.com E – book ทัศนศิลป์
www.acp.assumpton.ac.th/Homepasge/self การทํางานกลุม
ภาคผนวก
ตัวอยางภาพครั้งที่ 1
ผลงานนักเรียน ม.4/1
ตัวอยางภาพครั้งที่ 2
ตัวอยางภาพครั้งที่ 3

More Related Content

Similar to research 65.pdf

ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003Thidarat Termphon
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศYatphirun Phuangsuwan
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4peter dontoom
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2Yatphirun Phuangsuwan
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0Preeyaporn Chamnan
 
5.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.6)
5.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.6)5.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.6)
5.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.6)teerachon
 
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2พัน พัน
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557peter dontoom
 
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-newติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-newKittipun Udomseth
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะSiwadolChaimano
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0just2miwz
 
775. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
775. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0775. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
775. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0sincerecin
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0neenpd11
 

Similar to research 65.pdf (20)

ทช31003
ทช31003ทช31003
ทช31003
 
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
Graphics Design
Graphics DesignGraphics Design
Graphics Design
 
กำหนดการสอน
กำหนดการสอนกำหนดการสอน
กำหนดการสอน
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
5.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.6)
5.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.6)5.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.6)
5.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.6)
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-newติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
 
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ
 
ข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะ
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
775. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
775. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0775. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
775. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 

More from peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 
4.2.pdf
4.2.pdf4.2.pdf
4.2.pdf
 
3.4.pdf
3.4.pdf3.4.pdf
3.4.pdf
 

research 65.pdf

  • 1. เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยการทางานเป็นกลุ่ม ผู้จัดทา นายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
  • 2. บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงคเพื่อการศึกษาการพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิค ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม จํานวน 32 คน โดยการทดลองใหนักเรียน ทํางานเปนกลุ่มสามารถพัฒนา ทักษะการระบายสีอะคริลิค ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ไดดีขึ้นและ มีการประเมินผลการระบายสี อะคริลิค จากใบงานทั้งหมด 3 ครั้ง และเก็บรวบรวมขอมูลจากคะแนนของ นักเรียนแตละคนมาเปรียบเทียบ กันทั้ง 3 ครั้ง จะเห็นได้ว่า นักเรียนมีทักษะในการระบายสีอะคริลิค สูงขึ้นตามลําดับ โดยครั้งที่ 1 อยูในระดับ ดีมากร้อยละ 14.50 ครั้งที่ 2 รอยละ 27.20 และครั้งที่ 3 รอยละ 56.30 ตามลําดับ ผลการวิจัยในชั้นเรียน ครั้งนี้ส่งผลใหนักเรียนมีความรู้และเกิดการพัฒนาทักษะการระบาย สีอะคริลิค ดีขึ้นและบรรลุวัตถุประสงค เป็นที่นาพึงพอใจ นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
  • 3. คานา ตามที่หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กําหนดมาตรฐานการเรียนรูช่วงชั้นในกลุมสาระ การเรียนรู้ศิลปะโดยมวัตถุประสงคให้ผูเรียนรูไดพัฒนาดานสุนทรียภาพรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณและ สังคม สงเสริมใหผู้เรียน กลาคิด กลาทํา กลาแสดงออก ในเชิง สรางสรรค์สามารถคนพบศักยภาพของตนเอง อันเปนพื้นฐานในการศึกษาตอหรือประกอบอาชีพที่ สุจริตในอนาคตได้การทําวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้มีวัตถุประ สงคเพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิค ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โดยการทํางานเปนกลุ่ม ซึ่ง ถือวาเป็นวิธีการนํามาใชแกปญหาในการจัดการเรียน การสอนวิธีหนึ่ง เพื่อใหผูเรียนไดพัฒนาการเรียนรูด้าน ทัศนศิลปเกี่ยวกับการระบายสีอะคริลิคให้ดีขึ้น ผู้วิจัยขอขอบพระคุณบุคคลที่ให้การสนับสนุนสงเสริมในการ วิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
  • 4. สารบัญ บทคัดย่อ หน้า คํานํา บทที่ 1 บทนํา -ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์ -สมมุติฐาน -นิยามศัพทเฉพาะ - ประโยชนของการทําวิจัย บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ เอกสารที่เกี่ยวของในการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิค บทที่ 3 วิธีการวิจัย กลุ่มเป้าหมาย ตัวแปรที่ใชในการวิจัย วิธีการหรือนวัตกรรมที่ใช แผนภูมิการจัดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิค วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะหข้อมูลเปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะ การระบายสีอะคริลิค จากกิจกรรมการทํางานเป็นกลุ่ม ครั้งที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะ
  • 5. การระบายสีอะคริลิคจากกิจกรรมการทํางานเป็นกลุ่ม ครั้งที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะ การระบายสีอะคริลิคจากกิจกรรมการทํางานเป็นกลุ่ม ครั้งที่ 3 สรุปแบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม บทที่ 5 สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ สรุปผล อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ตัวอยางภาพครั้งที่ 1 ตัวอยางภาพครั้งที่ 2 ตัวอยางภาพครั้งที่ 3 ภาพนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 ปฏิบัติงานกลุม ใบความรูที่ 1 ใบความรูที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็น ใบงานที่ 1 ใบความรูที่ 2 ใบงานที่ 3 แบบประเมินการทดสอบการระบายสีอะคริลิค ครั้งที่ 1 แบบประเมินการทดสอบการระบายสีอะคริลิค ครั้งที่ 2 แบบประเมินการทดสอบการระบายสีอะคริลิค ครั้งที่ 3
  • 6. บทที่ 1 บทนา การวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โดยทางานเป็นกลุ่ม 1. ความเปนมาและความสาคัญของปญหา การจัดกระบวนการเรียนการสอนในรายวิชาศิลปะพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 สวนหนึ่งของเนื้อหาในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดกําหนดใหผูเรียนเกิด การเรียนรูดานทัศนศิลปประเภทจิตรกรรมการวาดภาพระบายสีอะคริลิค โดยเนนเพื่อใหเกิดการเรียนรูทั้ง ทฤษฎีและการปฏิบัติ จากการประเมินผลการจัดการเรียนการสอนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 ซึ่งมี นักเรียนทั้งหมดจํานวน 32 คนพบวานักเรียนจํานวน 32 คน ยังขาดทักษะในการระบายสีจะเห็น ไดจากผลงานที่นักเรียนฝกปฏิบัติ ทั้งนี้เปนเพราะนักเรียนขาดกิจกรรมที่สงเสริมทักษะการระบาย สี ซึ่งการระบายสีอะคริลิคเปนทักษะที่สําคัญและจําเปนในทางศิลปะ อันเปนทักษะพื้นฐานที่จะนําไปสู งานศิลปะดานอื่น นอกจากนี้การวาดภาพระบายสีอะคริลิคยังเปนกิจกรรมที่สรางความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ทําใหนักเรียนไดผอนคลายอารมณ ทําใหนักเรียนมีจิตใจออนโยน และถาหาก นักเรียนขาดทักษะการระบายสี จะสงผลตอการเรียนศิลปะดานอื่น ๆ ทําใหนักเรียนขาดแรงจูงใจ ที่จะเรียนศิลปะดานอื่น ๆอีกดวย ดังนั้นหากไดใหนักเรียนฝกระบายสีอะคริลิคเปนกลุมจะทําใหนักเรียนมีทักษะในการระบายสีดีขึ้น ได ทั้งนี้เนื่องจากกระบวนการในการทํางานเปนกลุมไดชวยสนับสนุนใหนักเรียนเกิดจินตนาการ และความคิดสรางสรรคมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมกันภายในกลุม และมีการยกยองชมเชย
  • 7. สรางแรงจูงใจและกําลังใจใหเกิดขึ้นภายในกลุม ซึ่งจะชวยใหนักเรียนมีทักษะในการระบายสีอะคริลิค ตลอดจนการไดเปนผูพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงคทางดานสุนทรียะ มีความพรอมที่จะเรียน ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะในระดับชั้นที่สูงขึ้นตอไป 2. วัตถุประสงค เพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 โดยการทํางานเปนกลุม 3. สมมุติฐาน การทํางานเปนกลุมสามารถพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 ไดดีขึ้น 4. นิยามศัพทเฉพาะ 1.การทางานเปนกลุม หมายถึง การทํางานรวมกันของนักเรียนโดยแบงเปนกลุม กลุมละ 3 - 5 คน โดยมีการจัดระบบการทํางานรวมกัน สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีสวนรวมในการ แสดงความคิดเห็นในการปฏิบัติงานไดเรียนรูการทํางานรวมกับผูอื่น 2.ทักษะการระบายสีอะคริลิค หมายถึง ความสามารถในการระบายสีอะคริลิคของนักเรียนประเมิน ไดจากการฝกปฏิบัติการระบายสีอะคริลิคใหเกิดความชํานาญตามขั้นตอนของทฤษฎีสีและหลักการ จัดองคประกอบของศิลปะ เพื่อใหไดภาพระบายสีอะคริลิค ที่มีความสวยงามสามารถนําไปใชสอย ใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวันไดตามความเหมาะสม 5. ประโยชนของการทาวิจัย 1. นักเรียนไดพัฒนาทักษะดานการระบายสีอะคริลิค 2. นักเรียนไดฝกการทํางานเปนกลุม 3. นักเรียนมีความคิดริเริ่มสรางสรรคสามารถวาดภาพระบายสีอะคริลิคไดสวยงาม 4. นักเรียนมีความภูมิใจในผลงานของตนเองและไดรับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ในการทํางาน 5. นักเรียนมีความรักสามัคคีกันในการทํางานเปนกลุ่มและรูจักการเสียสละเพื่อ ประโยชนของสวนรวม
  • 8. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ ผู้วิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยเพื่อเปนแนวทางในการ ดําเนินการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีของนักเรียน โดยศึกษาเอกสาร ตามลําดับดังนี้ 1.โชดก เกงเขตรกิจ, ปญญา ทรงเสรีย , ยศนันท แยมเมือง และเศรษฐศิริ สายกระสุน ( 2548 ) สรุปไดวา สีสันกับโลกสวยงาม เกี่ยวกับกับทัศนธาตุ และองคประกอบศิลปะ คือผูที สรางสรรคผลงานศิลปะจะใชเปนสื่อความหมายในการแสดงออกโดยองคประกอบพื้นฐานคือ ทัศนธาตุตางๆ ไดแก จุด เสน น้ําหนัก(แสง - เงา ) ทีวาง ลักษณะผิว และสี เพื่อนํามาจัดรวมเขา ดวยกันจะเกิดเปนรูปทรงของงานศิลปะขึ้น แสดงใหเห็นวาการระบายสีเปนองคประกอบศิลปะที่ทําใหผลงานมีความนาสนใจแกผูพบ เห็นโดยมีความสวยงามเกิดความรูสึกทางอารมณจิตใจไดหลากหลาย สภาพแวดลอมของมนุษย ลวนแตประกอบดวยสีสันไมวาจะเปนสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น ถาขาดการตกแตงดวยสีสันยอมไมนาสนใจและจะไมมีความสวยงาม 2.วัชรพงษ หงษสุวรรณ ( 2548 ) สรุปไดวาการเขียนภาพสีอะคริลิค(Liquitex) เปนสีเคมีที่มีส่วนผสมของ พลาสติกโพลิเมอร์ (Polymer) โดยมีคุณสมบัติพิเศษ ที่แห้งเร็ว ติดทนนาน ถึงขนาดเอาไปเพ้นท์กับวัสดุอื่นๆ ได้มากมาย ไม่ว่าจะเป็น ผ้าคานวาส จานเซรามิค รองเท้าผ้า โลหะ พลาสติก และไม้ เป็นต้น ซึ่งด้วยลักษณะที่ มีความทึบแสงของอะคริลิคนี่เอง เขียนในกระดาษ สีอะคริลิคเปนสีทึบแสง (Opaque) ที่ใชผสมกับน้ําได้แลวใชพูกันระบายลงบนกระดาษ การผสมสีเกิดจากการผสมระหวางสีหนึ่งกับอีกสีหนึ่ง หรือหลายสีผสมกัน เพื่อใหเกิดเปนการสร้างสรรค์ ตามตองการ 3. ประเทือง เอมเจริญ (2546) ไดกลาวถึงสิ่งที่ปรากฏเปนความงามของศิลปความชุม
  • 9. นุมนวลเต็มพื้นที่ของภาพที่ดูกลมกลืนกัน การไหลอยางอิสระใช้เทคนิคน้ําหนักเส้น ความงามของ สีที ทาของการขีดเขียนที่ดูเฉียบขาดเรียบงาย คาแตกตางของ สี น้ําหนัก รูปทรงที่ดูมีเอกภาพ ในตัวเอง พลังกระตุนจินตนาการจากภาพสูผูชมงานที่มีสมาธิในการดู สิ่งที่กอใหเกิดความสําเร็จใน งานคือสีทุกสีอะคริลิค บวกน้ําใจ มิติแหงสีอะคริลิค * แผซานไปทั่วแผนกระดาษเปยกฉ่ําดั่งมวลเมฆบนทองฟาคือ มิติแหงสีอะคริลิค *เคลื่อนไหวอยางอิสระราเริงเพื่อเขารวมเปนหนึ่งเดียวกับความสงบ คือ มิติแหงสีอะคริลิค *แทรกซึมสูใตผิวลื่นไหลอยูเบื้องบน มุงผสานความกลมกลืนคือ มิติแหงสีอะคริลิค * แตกตัวเปนสีทุกสีดั่งดอกไมหลากสีบนพื้นพิภพคือ มิติแหงสีอะคริลิค * ไมแยกตัวจากความดี หลีกหนีความชั่วคือ มิติแหงสีอะคริลิค *เปดประตูแหงความไมรู ไปสูความรูแจงอันเบิกบานคือ มิติแหงสีอะคริลิค แสดงใหเห็นวามิติแหงสีอะคริลิคเปนเอกลักษณเฉพาะตัวมีเสนหไมเหมือนสีอื่น ภาพที่เกิด จากการระบายสีอะคริลิคดูชุมชื่น มีชีวิตชีวา มีความสวยงามนาสนใจแกผู้พบเห็น 4. การทางานกลุ่ม การทางานกลุม หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู กิจกรรมในชมรมตาง ๆ เพื่อ สงเสริมใหผูเรียนไดมีสวนรวมในการวางแผน ความรับผิดชอบและการบริหารเวลา (http//:www.acp.assumption.ac.th/Homepage/self) E-book หมายถึง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จากเว็บไซต์ครู www.peterfineart.com ดังนั้นการทางานเปนกลุม จึงหมายถึง การรวมกันทํางานตั้งแต 3 - 5คนขึ้นไป สมาชิกใน กลุมมีสวนรวมในการวางแผนทํางานและไดแสดงความคิดเห็นรวมกัน สงผลใหไดชิ้นงานที่สําเร็จ เปนที่พึงพอใจรวมกัน
  • 10. ประโยชนของการทางานเปนกลุม 1. นักเรียนไดรูจักการวางแผนการจัดกิจกรรมรวมกัน 2. นักเรียนไดพัฒนาบุคลิกของตนเองใหปรับตัวเขากับผูอื่นได 3. นักเรียนไดรูจักการเสียสละเวลาและทุนทรัพยเพื่อใหเกิดประโยชนต่อสวนรวม 4. นักเรียนมีความรักสามัคคีในหมูคณะและมีความภูมิใจในงานที่ทํารวมกัน บทที่ 3 วิธีการวิจัย การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงทดลอง โดยผู้วิจัยไดดําเนินการตามลําดับดังนี้ 1. กลุมเปาหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม จํานวน 32 คน 2. ตัวแปรที่ใชในการวิจัย 2.1 ตัวแปรตน การทํางานเปนกลุม 2.2 ตัวแปรตาม การพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิค 3. วิธีการหรือนวัตกรรมที่ใช 1. แผนการเรียนรู เรื่อง ศิลปสมัยใหม่ 2. แผนการจัดกิจกรรมการทํางานเปนกลุ่ม 2.1 นักเรียนแบงกลุมกันทํางานตามอัธยาศัย ใหมีจํานวนกลุมละ 3 - 4 คน เสร็จแลว ใหประชุมสมาชิกกลุม แบงงานกันรับผิดชอบ โดยแตละกลุมนัดหมาย เรื่องการเตรียมอุปกรณ
  • 11. สําหรับวาดภาพระบายสีอะคริลิค มาใหพรอมในชั่วโมงเรียน 2.2 ใหนักเรียนทดลองวาดภาพระบายสีอะคริลิค ครั้งที่ 1 ภาพนามธรรม(แอบสแตรค) 2.3 ครูจัดทําใบความรูที่ 1 เรื่อง ทฤษฎีสี และ ใบความรูที่ 2 เรื่อง การเขียนภาพสีอะคริลิค ใหนักเรียนศึกษาใบความรู้ 2.4 นักเรียนแตละกลุมทุกคนทดลองวาดภาพระบายสีอะคริลิค ครั้งที่ 2 ภาพนามธรรม(แอบสแตรค) 2.5 เพื่อนในกลุมและครูรวมกันประเมินผลการทํางานครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 2.6 หลังการประเมินผลงานนักเรียนบางคนไดคะแนนไมผานเกณฑเพื่อนในกลุม และครูชวยกันแนะนําเพิ่มเติมโดยการสาธิต 2.7 หลังประเมินผลงานนักเรียนครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ที่ไดคะแนนผานเกณฑใหทําใบ งานที่ 3 2.8 นักเรียนแตละกลุ่มทุกคนทดลองวาดภาพระบายสีอะคริลิค ครั้งที่ 3 ภาพนามธรรม(แอบสแตรค) 2.9 สรุปผลการประเมินการทํางานจากใบงานทั้ง 3 ครั้ง ใหนักเรียนทุกกลุมทราบ
  • 12. แผนภูมิการจัดกิจกรรมการเรียนรูพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิค ของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที่ 4/1 โดยการทางานเปนกลุม นักเรียนแบงกลุมทํางานตามอัธยาศัย กลุมละ 3-4 นักเรียนทําใบงานที่ 1 นักเรียนศึกษาใบความรู นักเรียนทําใบงานที่ 2 นักเรียนและครูร่วมกันประเมินผลงานครั้งที่ 1และครั้งที่2 ไม่ผานเกณฑ เพื่อนในกลุมและครู ผ่านเกณฑ์ นักเรียนทําใบงานที่ 3 สรุปการประเมินผลการทํางานจากใบงานทั้ง 3 ครั้ง 4. วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล ผู้วิจัยเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง ตามขั้นตอนดังนี้ 1. ใหนักเรียนทํางานเปนกลุ่มทั้งหมด 3 ครั้ง เริ่มตั้งแตการประเมินผลกอนเรียน โดยวาดภาพระบายสีอะคริลิคลัทธิแอบสแตรค 2. นักเรียนปฏิบัติงาน ตามใบงานที่ 1 , ใบงานที่ 2 , ใบงานที่ 3 3. ครูแจกแบบการประเมินผลการใหคะแนนทั้ง 3 ครั้ง
  • 13. 4. ครูกําหนดเวลาใหนักเรียนสงผลงานที่ทําเสร็จแลวใหครูตรวจประเมินผล 5. ครูสรุปผลการตรวจผลงาน ครั้งที่ 1 และดําเนินการตอดังนี้ 5.1 ครูแจกใบงาน นักเรียนปฏิบัติตามใบงานครั้งที่ 2 วาดภาพระบายสีอะคริลิคเรื่องลัทธิแอบส แตรค และสงผลงานใหครูตรวจ ประเมินผล 5.2 ครูแจงผลคะแนนครั้งที่ 2 6. ครูแจกใบงานครั้งที่ 3 และดําเนินการตอดังนี้ 6.1 นักเรียนปฏิบัติตามใบงานครั้งที่ 3 วาดภาพระบายสีอะคริลิค เรื่องลัทธิแอบสแตรค สงผลงานที่เสร็จแลวใหครูตรวจประเมินผล 6.2 ครูแจงผลคะแนน จากการทํางานครั้งที่ 3 และแจงผลการประเมินทั้ง 3 ครั้งใหนักเรียนทราบ 7. วิธีการวิเคราะหขอมูล 7.1 เปรียบเทียบผลคะแนนกอนเรียนและหลังเรียน โดยใชคารอยละ 7.2 รวบรวมขอมูลจากแบบประเมินผลการใหคะแนนทั้ง 3 ครั้ง 5. วิธีการวิเคราะห์ขอมูล - ผูทําวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ ใชวิธีการวิเคราะห์ขอมูลโดยวิธีหาคาเฉลี่ยรอยละ
  • 14. บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล ผลการวิเคราะหขอมูล ปรากฏดังตารางที่ 1 , 2 และ 3 ดังนี้ ตารางที่ 1 เปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะการระบายสีอะคริลิค จากกิจกรรมการทํางานเปนกลุม จํานวนนักเรียน มัธยมศึกษาปีที่ 4/1 เกณฑการประเมิน ผล การพัฒนาทักษะการ ระบายสีอะคริลิค ผลการประเมินรอยละ หมายเหตุ 32 ดีมาก พอใช ปรับปรุง 9.52 50 40.48 นร. 2 คน นร. 15 คน นร. 15 คน ตารางที่ 2 เปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะการระบายสีอะคริลิค จากกิจกรรมการทํางานเปนกลุม ครั้งที่ 2 จํานวนนักเรียน มัธยมศึกษาปีที่ 4/1 เกณฑการประเมิน ผล การพัฒนาทักษะการ ระบายสีอะคริลิค ผลการประเมินรอยละ หมายเหตุ 32 ดีมาก พอใช ปรับปรุง 38.10 52.38 9.52 นร. 12 คน นร. 18 คน นร. 2 คน ตารางที่ 3 เปรียบเทียบแสดงผลคะแนนทักษะการระบายสีอะคริลิค จากกิจกรรมการทํางานเปนกลุม ครั้งที่ 3 จํานวนนักเรียน มัธยมศึกษาปีที่ 4/1 เกณฑการประเมิน ผล การพัฒนาทักษะการ ระบายสีอะคริลิค ผลการประเมินรอยละ หมายเหตุ
  • 15. จากการเปรียบเทียบคะแนนทั้ง 3 ตาราง จะเห็นได้ว่านักเรียนมีทักษะในการระบายสีอะคริลิค สูงขึ้น ตามลําดับ โดยครั้งที่ 1 อยูในระดับดีมาก รอยละ 64.28 ครั้งที่ 2 รอยละ 33.34 และ ครั้งที่ 3 รอย ละ 2.38 ตามลําดับ และนักเรียนที่มีทักษะการระบายสีอะคริลิคอยูในระดับปรับปรุง ตารางที่ 4 สรุปแบบสังเกตพฤติกรรมกลุม จากการทําวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ พฤติกรรมกลุมที่สังเกตโดยเพื่อนในกลุม มี 4 ขอ คือ 1. ความรับผิดชอบตอหนาที่ 2. การใหความรวมมือ 3. ความสนใจตอกิจกรรมกลุม 4. การแสดงความคิดเห็น กลุมที่ คะแนนเฉลี่ย คาระดับคะแนน ดาน 1 ด้าน 2 ด้าน 3 ด้าน 4 กลุมที่ 1 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี กลุมที่ 2 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี กลุมที่ 3 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี กลุมที่ 4 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี กลุมที่ 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี กลุมที่ 6 3 3 3 3 พอใช้ กลุมที่ 7 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี กลุมที่ 8 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี กลุมที่ 9 3 3 3 3 พอใช้ กลุมที่ 10 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี กลุมที่ 11 4 - 5 4 - 5 4 - 5 4 - 5 ดี 32 ดีมาก พอใช ปรับปรุง 64.28 33.34 2.38 นร. 29 คน นร. 2 คน นร. 1 คน
  • 16. บทที่ 5 สรุปอภิปรายผล และขอเสนอแนะ การวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 โดยการ ทํางานเปนกลุม ในครั้งนี้ คือ 1. สรุปผล - จากตารางเปรียบเทียบคะแนนการทํางาน เรื่อง การพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิค ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 โดยการทํางานเปนกลุม จํานวน 3 ครั้ง พบวา จากการทํางาน ครั้งที่ 1 มีนักเรียนจํานวน 2 คน ที่มีความสามารถในการระบายสีอะคริลิคไดถูกตองตามหลักการ อยูใน ขั้นเกณฑดีมาก และมีนักเรียนจํานวน 15 คน ที่มีความสามารถในการระบายสีอะคริลิค อยูในเกณฑระดับ พอใช นักเรียนจํานวน 15 คน มีความสามารถในการระบายสีอะคริลิค อยู่ในระดับปรับปรุง - คะแนนการทํางานครั้งที่ 2 พบวา นักเรียนสวนใหญทํางานอยูในระดับดีมากจํานวน 12 คน และอยู่ในระดับพอใช 18 คน มีนักเรียนจํานวน 2 คน ที่อยูในระดับปรับปรุง - คะแนนการทํางานครั้งที่ 3 พบวา นักเรียนจํานวน 1 คน ที่อยูในระดับปรับปรุง ดังนั้นการพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิคของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4/1 โดยวิธีทํางานเปนกลุม ทําใหเกิดผลการเรียนรูที่ดีขึ้น และบรรลุวัตถุประสงคการทําวิจัยในชั้นเรียน ครั้งนี้ 2. อภิปรายผล - จากการทําวิจัยในชั้นเรียนในครั้งนี้สงผลใหนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ไดพัฒนาทักษะการระบาย สีอะคริลิคโดยการทํางานเปนกลุม คือ กระบวนการที่ทําใหการทํางานแตละครั้งของนักเรียนเกิดผลสําเร็จ และไดผลงานเปนที่นาพึงพอใจเปนอยางยิ่ง ซึ่งผูทําวิจัยไดตรวจ ผลงานและประเมินผลการใหคะแนนตาม ประเด็นและหลักเกณฑตามที่กําหนดไว ทําเปนขอมูล หลักฐานยืนยันได้ว่า การทํางานในครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 ทําให้นักเรียนมีการพัฒนาทักษะ การระบายสีอะคริลิค จากทํางานอยูในขั้นเกณฑปรับปรุง
  • 17. พัฒนาเปนพอใชและดีมาก ขึ้นมาตามลําดับ และนักเรียนที่มีความสามารถทํางานจากครั้งที่ 1 ดีมาก ก็ได รักษาระดับความสามารถของตนเองไว ตลอดทั้ง 3 ครั้ง การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาทักษะการระบายสีอะคริลิคของนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4/1 โดยวิธีการทํางานเปนกลุมซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากการจัดการเรียนการสอนใน วิชาศิลปะพื้นฐาน พบวา นักเรียนขาดทักษะในการระบายสีอะคริลิค ผูวิจัยจึงใชวิธีการทํางานเปนกลุ่ม สรุปไดวา การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ สงผลใหนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/1 เกิดการพัฒนาการ เรียนรูและประสบการณที่ใหมๆ ฝกใหนักเรียนเปนคนคิดริเริ่มสรางสรรค สามารถนําความรูที่ไดรับไปใชแก้ ปญหาใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวันไดเหมาะสม การวิจัย ในชั้นเรียนเปนกระบวนการทํางานโดยมีวีธีการ วางแผนจนเกิดผลสําเร็จที่ดีในการทํางาน เพื่อ สนองตอบนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ขอเสนอแนะ ในการทําวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ ผูวิจัยมีขอเสนอแนะแนวทางสําหรับผูสนใจ จะนําไป พัฒนาการเรียน การสอนหรือ ศึกษาการวิจัยในชั้นเรียนในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ และกลุมสาระการเรียนรูอื่น ๆ ไดดังนี้ 1. ผูทําวิจัยในชั้นเรียนควรศึกษาสภาพปญหาในหองเรียน ที่สมควรให้มีการแกไข และปรับปรุงเพื่อใหการ เรียนการสอนดีขึ้น 2. นักเรียนตอบแบบสอบถาม ขอดี – ขอเสีย โดยการทํางานเปนกลุม มีความพึงพอใจมาก นอยอยางไร ครู เก็บรวบรวมขอมูลและได้ขอสรุป คือ รอยละ 95 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 เห็นดวยกับวิธีการเรียน โดยการทํางานเปนกลุม 3. นักเรียนควรไดนําความรูและประสบการณที่ไดรับ ไปใชใหเกิดประโยชนทั้งตอตนเอง และครอบครัว ตลอดจนในสังคมใหดีขึ้นตอไปในอนาคต 4. การจัดกระบวนการสอน โดยใหนักเรียนทํางานเปนกลุม ๆ ละ 3-5 คน เปนลักษณะ กลุมที่เหมาะสม เพราะการแสดงความคิดเห็นรวมกันในกลุม หรือการนัดหมายแบงงานรับผิดชอบ แกสมาชิกในกลุมจะมีความ คลองตัวง่าย สะดวกตอการประสานงานกัน
  • 18. บรรณานุกรม โชดก เกงเขตรกิจ, ปญญา ทรงเสรี, ยศนันท แยมเมือง, เศรษฐศิริ สายกระสุน.(2548) ทัศนศิลป ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 บริษัทโรงพิมพไทยวัฒนาพาณิชย จํากัด. กรุงเทพมหานคร. วัชรพงศ หงสสุวรรณ.(2548) สี อะคริลิคภาคปฏิบัติ บริษัทวาดศิลป จํากัด. กรุงเทพมาหานคร. ประเทือง เอมเจริญ.(2546) มิติแหงสีอะคริลิค 2003 บริษัทอัมรินทรพริ้นติ้ง แอนดพัลลิชชิ่งจํากัด. (มหาชน) www.peterfineart.com E – book ทัศนศิลป์ www.acp.assumpton.ac.th/Homepasge/self การทํางานกลุม