SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
การวางแผนกําไร
โดยใช้งบประมาณ
บทที่
งบประมาณ เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ฝ่ายบริหารของทุกองค์กรนําไปใช้กัน
อย่างแพร่หลาย ทั้งในองค์กรภาคธุรกิจ และหน่วยงานภาครัฐ เพราะ
งบประมาณให้ประโยชน์หลายประการในการบริหารงานขององค์กร
สําหรับรายละเอียดงบประมาณที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้เป็นงบประมาณของ
กิจการอุตสาหกรรม หรือกิจการที่ผลิตสินค้าเพื่อขาย การประกอบการของ
กิจการในลักษณะนี้จะมีรายละเอียดที่ซับซ้อนมากกว่าการประกอบการใน
กิจการซื้อมาขายไป หรือกิจการให้การบริการ เนื่องจากมีรายละเอียด
งบประมาณในส่วนที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนการผลิต ไม่ว่าจะเป็นงบประมาณ
วัตถุดิบทางตรง งบประมาณค่าแรงงานทางตรง และงบประมาณค่าใช้จ่าย
การผลิต
จุดประสงค์หลัก ในการเรียนรู้เกี่ยวกับการวางแผนกําไรโดยใช้งบประมาณ
วัตถุประสงค์และประโยชน์ของการวางแผนกําไร
1. เพื่อเป็นแผนการดําเนินการในการบริหารจัดการทรัพยากร
2. เพื่อเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารกันระหว่างหน่วยงานย่อยๆ
ภายในองค์กร
3. เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงเป้าหมายของฝ่ายบริหารและวัตถุประสงค์
ในการดําเนินงาน
4. เพื่อเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลงานตามความรับผิดชอบ
ของผู้บริหารในแต่ละส่วนงาน
งบประมาณหลัก
งบประมาณหลัก เป็นชุดของแผนงบประมาณย่อยๆ ซึ่ง
อาจจะมีความแตกต่างกันไปบ้างระหว่างกิจการซื้อมาขายไป
กิจการให้การบริการ และกิจการอุตสาหกรรม
ภาพที่ 6.1 แสดงงบประมาณหลักของกิจการอุตสาหกรรม
งบประมาณการขาย
(The Sales Budget)
• จัดทําเป็นลําดับแรก เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดทํางบประมาณการ
ดําเนินงานในส่วนอื่นๆ ต่อไป
• นําข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณการขายและยอดขายที่ฝ่ายขายคาดการณ์ว่าจะ
เกิดขึ้นในรอบการดําเนินงานต่อไปมารายงานให้แต่ละส่วนงานย่อย
ได้ทราบต่อไป
ต่อไปนี้เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการจัดทํางบประมาณการขาย
สําหรับไตรมาสที่ 1 ของกิจการ 123 อุตสาหกรรม
1. ปริมาณการขายไตรมาสที่ 1 สําหรับเดือนมกราคม กุมภาพันธ์
และมีนาคม โดยประมาณเท่ากับ 6,000 หน่วย 6,300 หน่วย และ
5,400 หน่วย ตามลําดับ
2. ราคาขายโดยประมาณเท่ากับ 400 บาท
ตัวอย่างที่ 1
แสดงงบประมาณการขายได้ดังนี้
งบประมาณการผลิต
(The Production Budget)
หน่วยขายพยากรณ์จากฝ่ายขายหรือจากการจัดทําเป็น
ข้อมูลพื้นฐานในการจัดทํางบประมาณการผลิต
ตัวอย่างที่ 2
ข้อมูลสําหรับการจัดทํางบประมาณการผลิต มีดังนี้
1. ปริมาณการขายโดยประมาณจากฝ่ายขาย
2. นโยบายสินค้าสําเร็จรูปคงเหลือปลายงวดของเดือนมกราคม
กุมภาพันธ์ และมีนาคม กําหนดไว้เท่ากับ 1,100 หน่วย 1,000 หน่วย
และ 800 ตามลําดับ
3. สินค้าสําเร็จรูปคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม เท่ากับ 1,000
หน่วย มีมูลค่าเท่ากับ 340,000 บาท
แสดงงบประมาณการผลิตได้ดังนี้
งบประมาณการซื้อวัตถุดิบ
(The Raw Materials Purchases Budget)
• จัดทําเพื่อให้แน่ใจได้ว่าจะมีปริมาณวัตถุดิบใช้เพื่อการผลิตอย่างเพียงพอและ
ทันเวลาในแต่ละช่วงเวลาที่ทําการผลิต
• ต้องพิจารณาการควบคุมระดับการสํารองปริมาณวัตถุดิบคงเหลือปลายงวด
ให้เหมาะสม
• ปริมาณการผลิตที่คํานวณได้จากงบประมาณการผลิต เป็นข้อมูลพื้นฐานที่
สําคัญเป็นลําดับแรกในการจัดทํางบประมาณการซื้อวัตถุดิบ
งบประมาณการซื้อวัตถุดิบ มีสูตรการคํานวณดังนี้
ตัวอย่างที่ 3
ข้อมูลสําหรับการจัดทํางบประมาณการซื้อวัตถุดิบ มีดังนี้
1. ปริมาณการผลิตโดยประมาณ
2. ฝ่ายผลิตแจ้งว่าสินค้าสําเร็จรูปแต่ละหน่วยต้องการใช้วัตถุดิบ
จํานวน 4 ฟุต
3. กิจการมีการใช้ระบบการจัดซื้อแบบทันเวลาพอดี และนโยบาย
เกี่ยวกับวัตถุดิบคงเหลือปลายงวดของทุกเดือนกําหนดไว้เท่ากับ
1,500 ฟุต
4. ราคาวัตถุดิบที่ซื้อประมาณการเท่ากับ 50 บาทต่อฟุต
แสดงงบประมาณการการจัดซื้อวัตถุดิบได้ดังนี้
งบประมาณค่าแรงงานทางตรง
(The Direct Labor Purchases Budget)
• ฝ่ายผลิตจะประมาณการจํานวนชั่วโมงแรงงานทางตรงที่ต้องใช้
ในการผลิตสินค้าสําเร็จรูปแต่ละหน่วย เพื่อนํามาจัดทํา
งบประมาณค่าแรงงานทางตรง
• ข้อมูลพื้นฐานของการจัดทํางบประมาณค่าแรงงานทางตรง
ยังคงใช้ปริมาณการผลิตจากงบประมาณการผลิต
งบประมาณค่าแรงงานทางตรง มีสูตรการคํานวณดังนี้
ตัวอย่างที่ 4
ข้อมูลสําหรับการจัดทํางบประมาณค่าแรงงานทางตรง
มีดังนี้
1. ปริมาณการผลิต จากงบประมาณการผลิต
2. เวลาที่ใช้ในการผลิตต่อหน่วยเท่ากับ1.5 ชั่วโมง
3. อัตราค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยเท่ากับ 15 บาทต่อชั่วโมง
งบประมาณค่าแรงงานทางตรง แสดงได้ดังนี้
งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต
(The Factory Overhead Budget)
จะแยกแสดงรายละเอียดอย่างชัดเจนในส่วนที่เป็น
ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปรและค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ เพื่อ
ประโยชน์ในการนําไปบริหารหรือควบคุมค่าใช้จ่ายย่อยแต่ละ
รายการ
ข้อมูลสําหรับการจัดทํางบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต มีดังนี้
1. ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปรมีความเกี่ยวข้องกับชั่วโมงแรงงานทางตรง
2. ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปรต่อชั่วโมง ประกอบด้วย
ตัวอย่างที่ 5
3. ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ต่อเดือน ประกอบด้วย
งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต แสดงได้ดังนี้
งบประมาณค่าใช้จ่ายในการขาย และการบริหารงานทั่วไป
(The Selling General and Administrative Budget)
• เป็นงบประมาณที่ต้องจัดเตรียมเพื่อการดําเนินงานของฝ่ายขาย
และฝ่ายงานบริหาร
• แยกแสดงรายละเอียดอย่างชัดเจนในส่วนที่เป็นค่าใช้จ่ายในการ
ขายและบริหารผันแปร และค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารคงที่
เพื่อประโยชน์ในการนําไปบริหาร หรือควบคุมค่าใช้จ่ายย่อย
แต่ละรายการ
ตัวอย่างที่ 6
ข้อมูลสําหรับการจัดทํางบประมาณค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร มีดังนี้
งบประมาณค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร แสดงได้ดังนี้
งบประมาณการเรียกรับชําระหนี้
(The Cash Collection Budget)
• ถ้ากิจการขายสินค้าเป็ นเงินเชื่อ จะต้องมีการจัดทําแผน
งบประมาณเพื่อให้ทราบว่าจะมีเงินสดรับเข้าจากรายได้หลัก
ของกิจการอย่างไรบ้าง เพื่อประโยชน์ในการจัดทํางบประมาณ
เงินสดต่อไป
• ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทํางบประมาณนี้ คือ นโยบายในการ
เรียกรับชําระหนี้ของกิจการ และยอดขายเชื่อโดยประมาณ
ตัวอย่างที่ 7
ข้อมูลสําหรับการจัดทํางบประมาณการเรียกรับชําระหนี้ มีดังนี้
สําหรับข้อมูลการขาย สามารถใช้ข้อมูลจากงบประมาณการ
ขายที่จัดทําไว้ก่อนหน้านี้ และการขายของกิจการแห่งนี้เป็นการขาย
สินค้าเงินเชื่อทั้งจํานวน
จากข้อมูลข้างต้น นํามาจัดทํางบประมาณการเรียกรับชําระหนี้ได้ดังนี้
จากการเรียกรับชําระหนี้ค่าสินค้าข้างต้น จะทําให้มีลูกหนี้การค้า
ณ วันที่ 31 มีนาคม 25x9 เท่ากับ 432,000 บาท
งบประมาณการจ่ายชําระหนี้
(The Cash Disbursement Budget)
• ถ้ากิจการซื้อวัตถุดิบเป็นเงินเชื่อ จะต้องมีการจัดทําแผน
งบประมาณเพื่อให้ทราบว่าจะต้องเตรียมเงินสดเพื่อการจ่าย
ชําระหนี้ค่าวัตถุดิบในแต่ละช่วงเวลาจํานวนมากน้อยเท่าใด
• ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทํางบประมาณนี้ คือ นโยบายในการ
จ่ายชําระหนี้ของกิจการ และยอดซื้อเชื่อโดยประมาณ
ตัวอย่างที่ 8
ข้อมูลสําหรับการจัดทํางบประมาณการจ่ายชําระหนี้ มีดังนี้
สําหรับข้อมูลการซื้อวัตถุดิบ สามารถใช้ข้อมูลจาก
งบประมาณการซื้อวัตถุดิบที่จัดทําไว้ก่อนหน้านี้ และการซื้อวัตถุดิบ
ทางตรงของกิจการแห่งนี้เป็นการซื้อวัตถุดิบทางตรงเป็นเงินเชื่อ
ทั้งจํานวน
จากข้อมูลข้างต้น นํามาจัดทํางบประมาณการจ่ายชําระหนี้ค่าวัตถุดิบได้ดังนี้
จากข้อมูลข้างต้น ทําให้กิจการจะมียอดเจ้าหนี้ค่าวัตถุดิบคงค้าง ณ
วันที่ 31 มีนาคม 25x9 เท่ากับ 416,000 บาท
งบประมาณการจ่ายลงทุน
(The Capital Expenditures Budget)
ในกรณีที่มีแผนการจัดหาสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนมา
ใช้เพิ่มเติมในรอบงบประมาณใด จะต้องจัดทําแผนการจ่าย
ลงทุนในโครงการดังกล่าวประกอบด้วย เพราะส่วนหนึ่งจะมี
ผลกระทบต่อการจัดหาเงินทุนมาใช้เพื่อการลงทุนใน
โครงการดังกล่าวด้วย
ตัวอย่างที่ 9
กิจการแห่งนี้วางแผนว่าจะมีการจัดซื้อรถขนส่งเพื่อการขนย้าย
วัตถุดิบและงานระหว่างทําต่างๆ ในแต่ละส่วนงานผลิต โดยมีแผนการลงทุน
ในสินทรัพย์ดังกล่าวในเดือนมกราคม และจะมีการจัดซื้อเครื่องใช้สํานักงาน
มาเพิ่มเติมในระหว่างเดือนมีนาคมด้วย ข้อมูลสําหรับจํานวนเงินงบประมาณที่
ต้องการเพื่อการจ่ายลงทุนดังกล่าว มีดังนี้
จากข้อมูลข้างต้น สามารถนํามาใช้เป็นข้อมูลเพื่อการจัดทํา
งบประมาณ การจ่ายลงทุนได้ดังนี้
งบประมาณเงินสด
(Cash Budget)
• แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับเงินสดรับและเงินสดจ่ายที่จะเกิดขึ้น
ในแต่ละช่วงเวลา ทําให้ทราบว่าในช่วงเวลาจะมีเงินสดเกิน
หรือเงินสดขาดจํานวนมากน้อยเท่าใด
• เหตุการณ์เงินสดเกิน หรือเงินสดขาด ล้วนเป็นผลมาจากการ
จัดทําแผนงบประมาณต่างๆ ที่เกิดขึ้นก่อนหน้านี้ทั้งสิ้น
ข้อมูลเพิ่มเติมสําหรับการจัดทํางบประมาณเงินสดของ
กิจการแห่งนี้ มีดังนี้
สําหรับค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิต และค่าใช้จ่าย
ในการขายและบริหาร มีนโยบายจ่ายเป็นเงินสดภายในเดือนที่มี
ค่าใช้จ่ายนั้นๆ เกิดขึ้น
ตัวอย่างที่ 10
จากข้อมูลข้างต้นและข้อมูลจากแผนงบประมาณการดําเนินงาน
ต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อกระแสเงินสดของกิจการ สามารถนํามาจัดทํา
งบประมาณเงินสดได้ดังนี้
งบประมาณต้นทุนสินค้าที่ผลิตเสร็จ
(Cost of Goods Manufactured Budget)
แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับต้นทุนการผลิตทั้งหมด
สําหรับหน่วยสินค้าที่ผลิตเสร็จในรอบงบประมาณนั้นๆ
ไม่ว่าจะเป็นวัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง และ
ค่าใช้จ่ายการผลิต
ตัวอย่างที่ 11
กิจการแห่งนี้ไม่มีงานระหว่างทําต้นงวดและงานระหว่างทําปลายงวด
จากข้อมูลข้างต้น และข้อมูลจากงบประมาณวัตถุดิบทางตรง
แรงงานทางตรง รวมถึงงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต สามารถนํามาจัดทํา
งบประมาณต้นทุนสินค้าที่ผลิตเสร็จ ได้ดังนี้
จากงบประมาณข้างต้น ถ้านําปริมาณการผลิตตามแผน
งบประมาณมาหารต้นทุนสินค้าที่ผลิตเสร็จ จะพบว่าในรอบ
งบประมาณนี้ สินค้าสําเร็จรูปแต่ละหน่วยจะมีต้นทุนการผลิต
ต่อหน่วยเท่ากับ 347 บาทโดยประมาณ แสดงการคํานวณดังนี้
งบกําไรขาดทุนโดยประมาณ
(Income Statement Budget)
• ทําให้ทราบว่ากิจการจะมีผลกําไรขาดทุนจากการดําเนินงาน
เกิดขึ้นโดยประมาณเป็นจํานวนเท่าใด
• ผู้บริหารระดับสูงจะพิจารณาจากผลการดําเนินงานว่าควร
จะต้องมีการปรับปรุงแผนงานในด้านต่างๆ ก่อนที่จะทําเป็น
แผนปฏิบัติงานแจกไปยังส่วนงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป
ตัวอย่างที่ 12
กิจการแห่งนี้มีสินค้าสําเร็จรูปยกมาจากงวดก่อนมูลค่า 340,000 บาท อัตราภาษี
เงินได้20%
จากข้อมูลข้างต้น สามารถนํามาจัดทํางบกําไรขาดทุนโดยประมาณ ได้ดังนี้

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจCherie Pink
 
สมดุลกล
สมดุลกลสมดุลกล
สมดุลกลaoffiz
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนyudohappyday
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพtumetr1
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารYeah Pitloke
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
การขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.pptการขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.pptSuppanut Wannapong
 
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงินบทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงินtumetr1
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นPattapong Promchai
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 

What's hot (20)

03 ma
03 ma03 ma
03 ma
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 
สมดุลกล
สมดุลกลสมดุลกล
สมดุลกล
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
การขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.pptการขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.ppt
 
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงินบทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 

Similar to 06 ma

คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิต
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิตคู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิต
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิตMobile_Clinic
 
การบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdfการบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdfpiyapongauekarn
 
คู่มือการวางแผนธุรกิจ
คู่มือการวางแผนธุรกิจคู่มือการวางแผนธุรกิจ
คู่มือการวางแผนธุรกิจMobile_Clinic
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจthanathip
 
Managerial Accounting
Managerial AccountingManagerial Accounting
Managerial Accountingtltutortutor
 
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจthawiwat dasdsadas
 
Finance for Non-Finance Managers
Finance for Non-Finance ManagersFinance for Non-Finance Managers
Finance for Non-Finance ManagersJoel Farnworth
 
Seminar 8 1 07
Seminar 8 1 07Seminar 8 1 07
Seminar 8 1 07Jajew
 
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการGuide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการUtai Sukviwatsirikul
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 

Similar to 06 ma (20)

คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิต
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิตคู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิต
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิต
 
การบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdfการบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdf
 
Introgecon
IntrogeconIntrogecon
Introgecon
 
e-commerce
e-commercee-commerce
e-commerce
 
คู่มือการวางแผนธุรกิจ
คู่มือการวางแผนธุรกิจคู่มือการวางแผนธุรกิจ
คู่มือการวางแผนธุรกิจ
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
 
Managerial Accounting
Managerial AccountingManagerial Accounting
Managerial Accounting
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
Erp present
Erp presentErp present
Erp present
 
Business model to Business plan
Business model to Business planBusiness model to Business plan
Business model to Business plan
 
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
 
Balancescorecard
BalancescorecardBalancescorecard
Balancescorecard
 
Finance for Non-Finance Managers
Finance for Non-Finance ManagersFinance for Non-Finance Managers
Finance for Non-Finance Managers
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 
Seminar 8 1 07
Seminar 8 1 07Seminar 8 1 07
Seminar 8 1 07
 
Kpi
KpiKpi
Kpi
 
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการGuide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการ
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 

06 ma