SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน
การศึกษาสารสกัดจากธรรมชาติที่สามารถยับยั้งเชื้อราที่ปนเปื้อนในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอย่างง่าย
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวปรียานุช เปรมสมาน ชั้น ม6/8 เลขที่ 24
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวปรียานุช เปรมสมาน เลขที่ 24
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การศึกษาสารสกัดจากธรรมชาติที่สามารถยับยั้งเชื้อราที่ปนเปื้อนในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอย่างง่าย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Study of natural extracts that can inhibit fungal contamination in simple plant tissue culture
ประเภทโครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวปรียานุช เปรมสมาน
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม –
ระยะเวลาดาเนินงานภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชให้สาเร็จ อยู่ที่องค์ประกอบของสารอาหารและเทคนิคการปลอดเชื้อ
เนื้อเยื่อพืชจึงจะเจริญเติบโตได้ดีและปลอดโรค ปัจจุบันมีเทคนิคการทาให้ปลอดเชื้อโดยใช้ไฮเตอร์เป็นสารฆ่าเชื้อ
ในอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชแทนการฆ่าเชื้อโดยใช้หม้อนึ่งความดันไอน้า121 องศาเซลเซียส 15 ปอนด์ 15 นาที
ด้วย Autoclave การฆ่าเชื้อโดยไฮเตอร์ดังกล่าวสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้แต่ยังพบปัญหาการปนเปื้อนจากเชื้อรา
จึงควรคัดเลือกสารกลุ่มอื่นมาช่วยในการฆ่าเชื้อราและด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชที่มีขั้นตอนยุ่งยาก ยากต่อการที่
3
เกษตรกรจาได้สาเร็จจึงควรเลือกใช้สารที่มีราคาถูกและหาได้ง่ายในท้องถิ่นเป็นส่วนผสมและยังต้องไม่มีฤทธิ์เป็น
พิษต่อเซลล์พืช ผู้ทาวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาสารสกัดจากธรรมชาติมาเป็นองค์ประกอบของอาหารเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
หรือใช้ในขั้นตอนการฆ่าเชื้อจากเนื้อเยื่อพืชร่วมกับไฮเตอร์เพื่อฆ่าเชื้อราที่ปนเปื้อนในกระบวนการเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อพืช
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อคัดแยกเชื้อราที่ปนเปื้อนในกระบวนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอย่างง่าย
2. เพื่อหาสารสกัดจากธรรมชาติที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราที่ปนเปื้อนในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอย่าง
ง่าย
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาสารสกัดจากธรรมชาติแต่ละชนิดที่สามารถยับยั้งเชื้อราในอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชสูตรกิตติศักดิ์ 2556
โดยวิธีการ well diffusion
หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
1.การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture)
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช คือ การนาเอาส่วนใดส่วนหนึ่งของพืช ไม่ว่าจะเป็นส่วนอวัยวะหรือส่วนเนื้อเยื่อมาเลี้ยงใน
อาหารวิทยาศาสตร์ที่ประกอบด้วย แร่ธาตุ น้าตาล วิตามิน และสารควบคุมความเจริญเติบโต ภายใต้สภาพปลอด
เชื้อจุลินทรีย์และอยู่ในสภาวะควบคุมอุณหภูมิ แสง ความชื้น โดยส่วนของพืชที่นามาเลี้ยงนี้จะสามารถเติบโต
พัฒนาได้หลายรูปแบบ เช่น พัฒนาเป็นส่วนอวัยวะ เกิดเป็นกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า แคลลัส หรือ คัพภะ (ต้นอ่อนขนาด
เล็ก) ที่เรียกว่า เอ็มบริโอ และยังสามารถบังคับให้ส่วนต่างๆ เหล่านี้เกิดเป็นต้นใหม่ที่มีรากที่สมบูรณ์สาหรับการ
นาไปปลูกลงดินต่อไปได้(สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2542)
พืชที่เกิดขึ้นมาจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจะมีลักษณะเหมือนกับพืชต้นพันธุ์ที่นามาใช้เพาะเลี้ยงทุกประการ
จึงเป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถนามาใช้ในการขยายพันธุ์พืช และการเก็บรักษาและอนุรักษ์เชื้อพันธุ์พืชต่างๆ โดยอาศัย
การเก็บกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า แคลลัสของพืชไว้ที่อุณหภูมิเย็นจัดถึง -196 °Cภายใต้ไนโตรเจนเหลว ซึ่งวิธีนี้จะ
สามารถเก็บพืชได้เป็นเวลานานโดยไม่มีการกลายพันธุ์ หรืออาจใช้ใน การเก็บรวบรวมพันธุ์พืชโดยบังคับให้พืช
โตช้าๆ ในขวดแก้วเล็กๆ ซึ่งการอนุรักษ์พันธุ์พืชเช่นนี้จะใช้พื้นที่น้อยกว่าการเก็บพันธุ์พืชที่ผลิตเป็นต้นพืชโดยตรง
(สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2542)
นอกจากนี้การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชยังมีประโยชน์ต่อการแลกเปลี่ยนพันธุ์พืชกับต่างประเทศที่สะดวก
ขึ้นพืชที่อยู่ในขวดสะอาดปราศจากเชื้อจุลินทรีย์และราที่จะทาอันตรายต่อพืชโดยเฉพาะการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
สมุนไพรในรูปแบบเซลล์แขวนลอยยังช่วยในการผลิตสารต่างๆที่ใช้เป็นยารักษาโรคหรือสารที่ใช้เป็นยาฆ่าแมลง
ได้อีกทั้งยังเป็นประโยชน์มหาศาลในการปรับปรุงพันธุ์พืชให้พืชต้านทานโรคและแมลงได้ดีขึ้นหรือให้ผลผลิต
มากขึ้นโดยอาศัยเทคนิคในการเลี้ยงต้นอ่อนขนาดเล็กเทคนิคในการเพาะเลี้ยงอับละอองเกสรและละอองเกสรพืช
4
หรือเทคนิคในการชักนาให้พืชกลายพันธุ์เป็นพันธุ์ใหม่ๆ โดยอาศัยสารเคมีหรือการฉายรังสี เป็นต้น (สานักงาน
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2542)
2.อาหารเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในโครงงานนี้ใช้สูตรอาหารของผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.กิตติศักดิ์ โชติเดชา
ณรงค์ ในการศึกษา ซึ่งมีส่วนประกอบและวิธีการ คือ ชั่งวุ้นปริมาณ 8 กรัม และน้าตาล 30 กรัม ต่อการทาอาหาร 1
ลิตร ละลายน้าตาล 30 g ในน้า 500 ml คนให้ละลาย เติมสูตรอาหารไฮโดรโปนิก สูตร A และ B ปริมาตรอย่างละ
5 ml ปรับ pH ให้เท่ากับ 5.8 ใส่ผงวุ้นตรานางเงือกปริมาณ 7 กรัม นาไปต้มจนเดือด ปรับอุณหภูมิให้เย็นลงเหลือ 60
องศาเซลเซียส เติมน้ายาฆ่าเชื้อไฮเตอร์ปริมาตร 0.5 มิลลิลิตร แล้วเทลงใน plate (กิตติศักดิ์, 2556)
3. Agar diffusion method
มีหลายวิธี ไม่ว่าจะเป็น well diffusion หรือ paper disk diffusion
-well diffusion (well = หลุมหรือบ่อ) สามารถทาได้ง่ายๆ คือเจาะวุ้นให้เป็นหลุมเติมสารละลายที่จะทดสอบลงไป
สารที่ทดสอบจะแพร่ออก (diffusion) ไปในเนื้อวุ้น
-paper disk diffusion ใช้แผ่นกระดาษกลมๆ หยดสารที่จะทดสอบลงในกระดาษ ปล่อยให้แห้ง นาไปวางบนวุ้น
สารจะแพร่ออกจากแผ่นกระดาษ
4.การสกัดสมุนไพร
ในการสกัดสมุนไพรนั้น ทาได้หลายวิธี แต่ที่รู้จักกันโดยทั่วไป คือ การสกัดด้วยตัวทาละลาย โดยเกณฑ์ที่
ใช้ในการเลือกตัวทาละลาย ก็จะต้องดูว่า เราต้องการสารอะไรออกมาจากสมุนไพรนั้น มีขั้ว/ไม่มีขั้ว
(polar/nonpolar) หากต้องการพวกน้ามันซึ่งเป็นพวกที่ไม่มีขั้ว ก็ใช้ตัวทาละลายไม่มีขั้ว ถ้าต้องการพวกที่มีขั้วขึ้นมา
หน่อย ก็ใช้ตัวทาละลายที่มีขั้วสูงขึ้นมา
ตัวทาละลายที่ใช้ในห้องปฏิบัติการเคมีอินทรีย์เช่น เฮกเซน , คลอโรฟอร์ม, เอทิลอะซิเตด, เมทานอล, ฯลฯ
ซึ่งแต่ละตัวก็มีขั้วที่ต่างๆ กัน
ขั้นตอนในการสกัดสมุนไพรด้วยตัวทาละลาย ก็มีดังนี้ (แบบคร่าวๆ) :
นาพืชสมุนไพรมาอบให้แห้งที่อุณหภูมิไม่เกินประมาณ 40 องศาเซลเซียส หรือตากลมให้แห้ง แล้วบดให้ละเอียด
(ที่สุดเท่าที่จะละเอียดได้) นาไปแช่ในตัวทาละลายทิ้งไว้อย่างน้อย 3 วัน แล้วกรองเอาส่วนที่เป็นของเหลวออกมา
(สามารถแช่ซ้าอีกได้โดยเติมตัวทาละลายลงไปอีก) นาสารละลายที่ได้มาระเหยแห้งก็จะได้สารสกัดหยาบออกมา
ซึ่งอาจมีสารที่เราต้องการปนอยู่กับสารชนิดอื่นก็ได้
แนะนาว่า ถ้าต้องการเอาไปใช้กับคน ควรแยกสารให้ได้สารที่บริสุทธิ์ หรือที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพที่เรา
ต้องการจริงๆ ไม่ควรนาสารสกัดหยาบไปใช้ทันที เพราะอาจมีผลข้างเคียงจากสารอื่นๆ ในสารละลายนั้นก็ได้
5
ข้อควรระวังก็คือ ตัวทาละลายอินทรีย์ทุกชนิด ล้วนเป็นอันตรายต่อร่างกายทั้งสิ้น อาจถึงตาย หรือพิการได้
เพราะชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าเป็นตัวทาละลายของสารอินทรีย์และร่างกายเราก็เป็นสารอินทรีย์เหมือนกัน ดังนั้น ใน
การทาสารพวกนี้ ต้องมีการป้องกันตัว โดยการสวมผ้าปิดจมูก แว่นตาแล็บ เสื้อคลุม และถุงมือให้เรียบร้อย เพื่อ
ความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์(สิน)
หรือถ้าใช้วิธีแบบภูมิปัญญาชาวบ้านก็คือ จะใช้เอทานอล หรือแอลกอฮอลล์กินได้หรือ เหล้าขาว มาเป็น
ตัวทาละลาย แต่ไม่ควรนามาทานโดยตรง อาจใช้เป็นยาทาภายนอก (แล้วแต่สรรพคุณ) หรืออาจสกัดด้วยน้ากลั่นก็
ได้แล้วแต่ ว่าต้องการสารอะไร
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
6
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
7
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้Beaubeau Reedus
 
โครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสาโครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสา1234 Payoon
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลพัน พัน
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยNarrongdej3110
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์พัน พัน
 
Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]Assa Bouquet
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2Kiattipong Sriwichai
 
งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้Tayicha Phunpowngam
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kiattipong Sriwichai
 

What's hot (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
 
โครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสาโครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสา
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
 
5 finalprojectcom
5 finalprojectcom5 finalprojectcom
5 finalprojectcom
 
โครงงานกลุ่มที่ 5.doc
โครงงานกลุ่มที่ 5.docโครงงานกลุ่มที่ 5.doc
โครงงานกลุ่มที่ 5.doc
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
โครงงานช้อน
โครงงานช้อนโครงงานช้อน
โครงงานช้อน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
 
M6 144 60_6
M6 144 60_6M6 144 60_6
M6 144 60_6
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
 
Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]
 
M6 144 60_10
M6 144 60_10M6 144 60_10
M6 144 60_10
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2
 
งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to งานคอม

2559 project
2559 project 2559 project
2559 project Swl Sky
 
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วนโครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วนJungle Jam
 
2560 project (1) (1)
2560 project  (1) (1)2560 project  (1) (1)
2560 project (1) (1)charintip0204
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Apaiwong Nalinee
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project Swl Sky
 
แบบโครงงาน Primrata
แบบโครงงาน Primrataแบบโครงงาน Primrata
แบบโครงงาน Primratachayanit kaewjankamol
 
How to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THHow to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THpattharawan putthong
 
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)Bezegrupe
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งpornkanok02
 
ผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกladyingviolet
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapysiradamew
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังNichaphat Sanguthai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Supansa Tomdaeng
 

Similar to งานคอม (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
สบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพรสบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพร
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วนโครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2560 project (1) (1)
2560 project  (1) (1)2560 project  (1) (1)
2560 project (1) (1)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Do you-know-green-tea
Do you-know-green-teaDo you-know-green-tea
Do you-know-green-tea
 
แบบโครงงาน Primrata
แบบโครงงาน Primrataแบบโครงงาน Primrata
แบบโครงงาน Primrata
 
How to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THHow to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. TH
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
ผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิก
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapy
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการัง
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

งานคอม

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน การศึกษาสารสกัดจากธรรมชาติที่สามารถยับยั้งเชื้อราที่ปนเปื้อนในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอย่างง่าย ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวปรียานุช เปรมสมาน ชั้น ม6/8 เลขที่ 24 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวปรียานุช เปรมสมาน เลขที่ 24 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การศึกษาสารสกัดจากธรรมชาติที่สามารถยับยั้งเชื้อราที่ปนเปื้อนในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอย่างง่าย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Study of natural extracts that can inhibit fungal contamination in simple plant tissue culture ประเภทโครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวปรียานุช เปรมสมาน ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม – ระยะเวลาดาเนินงานภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชให้สาเร็จ อยู่ที่องค์ประกอบของสารอาหารและเทคนิคการปลอดเชื้อ เนื้อเยื่อพืชจึงจะเจริญเติบโตได้ดีและปลอดโรค ปัจจุบันมีเทคนิคการทาให้ปลอดเชื้อโดยใช้ไฮเตอร์เป็นสารฆ่าเชื้อ ในอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชแทนการฆ่าเชื้อโดยใช้หม้อนึ่งความดันไอน้า121 องศาเซลเซียส 15 ปอนด์ 15 นาที ด้วย Autoclave การฆ่าเชื้อโดยไฮเตอร์ดังกล่าวสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้แต่ยังพบปัญหาการปนเปื้อนจากเชื้อรา จึงควรคัดเลือกสารกลุ่มอื่นมาช่วยในการฆ่าเชื้อราและด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชที่มีขั้นตอนยุ่งยาก ยากต่อการที่
  • 3. 3 เกษตรกรจาได้สาเร็จจึงควรเลือกใช้สารที่มีราคาถูกและหาได้ง่ายในท้องถิ่นเป็นส่วนผสมและยังต้องไม่มีฤทธิ์เป็น พิษต่อเซลล์พืช ผู้ทาวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาสารสกัดจากธรรมชาติมาเป็นองค์ประกอบของอาหารเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช หรือใช้ในขั้นตอนการฆ่าเชื้อจากเนื้อเยื่อพืชร่วมกับไฮเตอร์เพื่อฆ่าเชื้อราที่ปนเปื้อนในกระบวนการเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อพืช วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อคัดแยกเชื้อราที่ปนเปื้อนในกระบวนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอย่างง่าย 2. เพื่อหาสารสกัดจากธรรมชาติที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราที่ปนเปื้อนในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอย่าง ง่าย ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาสารสกัดจากธรรมชาติแต่ละชนิดที่สามารถยับยั้งเชื้อราในอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชสูตรกิตติศักดิ์ 2556 โดยวิธีการ well diffusion หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 1.การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช คือ การนาเอาส่วนใดส่วนหนึ่งของพืช ไม่ว่าจะเป็นส่วนอวัยวะหรือส่วนเนื้อเยื่อมาเลี้ยงใน อาหารวิทยาศาสตร์ที่ประกอบด้วย แร่ธาตุ น้าตาล วิตามิน และสารควบคุมความเจริญเติบโต ภายใต้สภาพปลอด เชื้อจุลินทรีย์และอยู่ในสภาวะควบคุมอุณหภูมิ แสง ความชื้น โดยส่วนของพืชที่นามาเลี้ยงนี้จะสามารถเติบโต พัฒนาได้หลายรูปแบบ เช่น พัฒนาเป็นส่วนอวัยวะ เกิดเป็นกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า แคลลัส หรือ คัพภะ (ต้นอ่อนขนาด เล็ก) ที่เรียกว่า เอ็มบริโอ และยังสามารถบังคับให้ส่วนต่างๆ เหล่านี้เกิดเป็นต้นใหม่ที่มีรากที่สมบูรณ์สาหรับการ นาไปปลูกลงดินต่อไปได้(สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2542) พืชที่เกิดขึ้นมาจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจะมีลักษณะเหมือนกับพืชต้นพันธุ์ที่นามาใช้เพาะเลี้ยงทุกประการ จึงเป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถนามาใช้ในการขยายพันธุ์พืช และการเก็บรักษาและอนุรักษ์เชื้อพันธุ์พืชต่างๆ โดยอาศัย การเก็บกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า แคลลัสของพืชไว้ที่อุณหภูมิเย็นจัดถึง -196 °Cภายใต้ไนโตรเจนเหลว ซึ่งวิธีนี้จะ สามารถเก็บพืชได้เป็นเวลานานโดยไม่มีการกลายพันธุ์ หรืออาจใช้ใน การเก็บรวบรวมพันธุ์พืชโดยบังคับให้พืช โตช้าๆ ในขวดแก้วเล็กๆ ซึ่งการอนุรักษ์พันธุ์พืชเช่นนี้จะใช้พื้นที่น้อยกว่าการเก็บพันธุ์พืชที่ผลิตเป็นต้นพืชโดยตรง (สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2542) นอกจากนี้การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชยังมีประโยชน์ต่อการแลกเปลี่ยนพันธุ์พืชกับต่างประเทศที่สะดวก ขึ้นพืชที่อยู่ในขวดสะอาดปราศจากเชื้อจุลินทรีย์และราที่จะทาอันตรายต่อพืชโดยเฉพาะการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช สมุนไพรในรูปแบบเซลล์แขวนลอยยังช่วยในการผลิตสารต่างๆที่ใช้เป็นยารักษาโรคหรือสารที่ใช้เป็นยาฆ่าแมลง ได้อีกทั้งยังเป็นประโยชน์มหาศาลในการปรับปรุงพันธุ์พืชให้พืชต้านทานโรคและแมลงได้ดีขึ้นหรือให้ผลผลิต มากขึ้นโดยอาศัยเทคนิคในการเลี้ยงต้นอ่อนขนาดเล็กเทคนิคในการเพาะเลี้ยงอับละอองเกสรและละอองเกสรพืช
  • 4. 4 หรือเทคนิคในการชักนาให้พืชกลายพันธุ์เป็นพันธุ์ใหม่ๆ โดยอาศัยสารเคมีหรือการฉายรังสี เป็นต้น (สานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2542) 2.อาหารเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในโครงงานนี้ใช้สูตรอาหารของผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.กิตติศักดิ์ โชติเดชา ณรงค์ ในการศึกษา ซึ่งมีส่วนประกอบและวิธีการ คือ ชั่งวุ้นปริมาณ 8 กรัม และน้าตาล 30 กรัม ต่อการทาอาหาร 1 ลิตร ละลายน้าตาล 30 g ในน้า 500 ml คนให้ละลาย เติมสูตรอาหารไฮโดรโปนิก สูตร A และ B ปริมาตรอย่างละ 5 ml ปรับ pH ให้เท่ากับ 5.8 ใส่ผงวุ้นตรานางเงือกปริมาณ 7 กรัม นาไปต้มจนเดือด ปรับอุณหภูมิให้เย็นลงเหลือ 60 องศาเซลเซียส เติมน้ายาฆ่าเชื้อไฮเตอร์ปริมาตร 0.5 มิลลิลิตร แล้วเทลงใน plate (กิตติศักดิ์, 2556) 3. Agar diffusion method มีหลายวิธี ไม่ว่าจะเป็น well diffusion หรือ paper disk diffusion -well diffusion (well = หลุมหรือบ่อ) สามารถทาได้ง่ายๆ คือเจาะวุ้นให้เป็นหลุมเติมสารละลายที่จะทดสอบลงไป สารที่ทดสอบจะแพร่ออก (diffusion) ไปในเนื้อวุ้น -paper disk diffusion ใช้แผ่นกระดาษกลมๆ หยดสารที่จะทดสอบลงในกระดาษ ปล่อยให้แห้ง นาไปวางบนวุ้น สารจะแพร่ออกจากแผ่นกระดาษ 4.การสกัดสมุนไพร ในการสกัดสมุนไพรนั้น ทาได้หลายวิธี แต่ที่รู้จักกันโดยทั่วไป คือ การสกัดด้วยตัวทาละลาย โดยเกณฑ์ที่ ใช้ในการเลือกตัวทาละลาย ก็จะต้องดูว่า เราต้องการสารอะไรออกมาจากสมุนไพรนั้น มีขั้ว/ไม่มีขั้ว (polar/nonpolar) หากต้องการพวกน้ามันซึ่งเป็นพวกที่ไม่มีขั้ว ก็ใช้ตัวทาละลายไม่มีขั้ว ถ้าต้องการพวกที่มีขั้วขึ้นมา หน่อย ก็ใช้ตัวทาละลายที่มีขั้วสูงขึ้นมา ตัวทาละลายที่ใช้ในห้องปฏิบัติการเคมีอินทรีย์เช่น เฮกเซน , คลอโรฟอร์ม, เอทิลอะซิเตด, เมทานอล, ฯลฯ ซึ่งแต่ละตัวก็มีขั้วที่ต่างๆ กัน ขั้นตอนในการสกัดสมุนไพรด้วยตัวทาละลาย ก็มีดังนี้ (แบบคร่าวๆ) : นาพืชสมุนไพรมาอบให้แห้งที่อุณหภูมิไม่เกินประมาณ 40 องศาเซลเซียส หรือตากลมให้แห้ง แล้วบดให้ละเอียด (ที่สุดเท่าที่จะละเอียดได้) นาไปแช่ในตัวทาละลายทิ้งไว้อย่างน้อย 3 วัน แล้วกรองเอาส่วนที่เป็นของเหลวออกมา (สามารถแช่ซ้าอีกได้โดยเติมตัวทาละลายลงไปอีก) นาสารละลายที่ได้มาระเหยแห้งก็จะได้สารสกัดหยาบออกมา ซึ่งอาจมีสารที่เราต้องการปนอยู่กับสารชนิดอื่นก็ได้ แนะนาว่า ถ้าต้องการเอาไปใช้กับคน ควรแยกสารให้ได้สารที่บริสุทธิ์ หรือที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพที่เรา ต้องการจริงๆ ไม่ควรนาสารสกัดหยาบไปใช้ทันที เพราะอาจมีผลข้างเคียงจากสารอื่นๆ ในสารละลายนั้นก็ได้
  • 5. 5 ข้อควรระวังก็คือ ตัวทาละลายอินทรีย์ทุกชนิด ล้วนเป็นอันตรายต่อร่างกายทั้งสิ้น อาจถึงตาย หรือพิการได้ เพราะชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าเป็นตัวทาละลายของสารอินทรีย์และร่างกายเราก็เป็นสารอินทรีย์เหมือนกัน ดังนั้น ใน การทาสารพวกนี้ ต้องมีการป้องกันตัว โดยการสวมผ้าปิดจมูก แว่นตาแล็บ เสื้อคลุม และถุงมือให้เรียบร้อย เพื่อ ความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์(สิน) หรือถ้าใช้วิธีแบบภูมิปัญญาชาวบ้านก็คือ จะใช้เอทานอล หรือแอลกอฮอลล์กินได้หรือ เหล้าขาว มาเป็น ตัวทาละลาย แต่ไม่ควรนามาทานโดยตรง อาจใช้เป็นยาทาภายนอก (แล้วแต่สรรพคุณ) หรืออาจสกัดด้วยน้ากลั่นก็ ได้แล้วแต่ ว่าต้องการสารอะไร วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 6. 6 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)