SlideShare a Scribd company logo
1
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.1.1 แนวคิด และทฤษฎีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
2.1.2 หลักการและแนวคิดต่างๆ เกี่ยวกับการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน
หรือ WIL (Work-integrated Leaning)
1) หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน
หรือ WIL (Work-integrated Leaning)
2) รูปแบบการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน หรือ WIL (Work-
integrated Leaning)
2.1.3 ข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันสมาชิกเครือข่ายพัฒนาสหกิจศึกษาภาคใต้ตอนบน
2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.3 กรอบแนวคิดในการวิจัย
2.1แนวคิด และทฤษฎีจากเอกสารและตาราที่เกี่ยวข้อง
2.1.1 แนวคิด และทฤษฎีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
ความหมายการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมายของคาว่า บูรณาการไว้ว่า
เป็นการนาหน่วยที่แยกๆ กัน มารวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525, อ้าง
ถึงใน ฉัตรรุ่ง เงินอ้น, 2553:23)
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ให้ความหมายไว้ว่า บูรณาการ
(integration) ความหมายโดยคาศัพท์หมายถึง การทาให้เต็มหรือสมบูรณ์ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2547:3, อ้างถึงใน ฉัตรรุ่ง เงินอ้น, 2553:23)
กระทรวงศึกษาธิการ (2546:19) อ้างถึงใน พระเทพเวที, 2531:24) ได้ให้ความหมายไว้
ว่า การบูรณาการ หมายถึงการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงศาสตร์สาขาต่างๆ ที่สัมพันธ์เกี่ยวข้องกันมาผสมผสานเข้า
ด้วยกัน เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ที่มีความหมาย มีความหลากหลายและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
สานักงานประสานงานโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (2540:6) ได้ให้ความหมายไว้ว่า
การสอนแบบบูรณาการ หมายถึงการเชื่อมโยงวิชาหนึ่งเข้ากับวิชาอื่นๆ ในการสอน เช่น การเชื่อมโยงวิชา
2
วิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์และภาษาไทย การเชื่อมโยงวิชาวิทยาศาตร์กับสังคมศึกษา การเชื่อมโยงวิชาศิลปะ
กับภาษาไทย เป็นต้น
โศภนา บุณยะกลัมพ (2546:8) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การสอนแบบบูรณาการ
หมายถึงการสอนซึ่งนาเอาสาระการเรียนรู้ต่างๆ เข้ามาผสมผสานกันเพื่อประโยชน์แก่ผู้เรียน โดยใช้สาระการ
เรียนรู้ใดสาระการเรียนรู้หนึ่งเป็นแกนหลักแล้วขยายวงกว้างขวางออกไป เพื่อให้การเรียนรู้ของผู้เรียนเกิดความ
สมบูรณ์ในตัวของเขาเอง
นิรมล ศตวุฒิ (2547:74) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การสอนแบบบูรณาการ หมายถึงการ
จัดให้ผู้เรียนเรียนรู้ในลักษณะองค์รวม (Holistic Way) ระหว่างวิชาต่างๆ อย่างมีความหมายตามสภาพความ
เป็นจริงในชีวิตหรือสภาพปัญหาสังคมที่ซับซ้อน
ชนาธิป พรกุล ได้ให้ความหมายของบูรณาการว่า “ การเชื่อมโยงความรู้และ
ประสบการณ์ทุกชนิด ที่บรรจุอยู่ในแผนของหลักสูตร เป็นการเชื่อมโยงแนวนอนระหว่างหัวข้อและเนื้อหาต่างๆที่
เป็นความรู้ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัย การบูรณาการทาให้ผู้เรียนได้รับความรู้เป็น
อันหนึ่งอันเดียวกัน และรู้ในเรื่องนั้นอย่างลึกซึ้ง การบูรณาการความรู้เป็นสิ่งจาเป็นโดยเฉพาะในยุคที่มีความรู้
ข้อมูลข่าวสารมาก จึงเกิดเป็นหลักสูตรที่เรียกว่า หลักสูตรบูรณาการ (Integrated curricula) ซึ่งพยายาม
สร้างหัวเรื่อง (Themes) ใน โปรแกรมวิชาโดยนาความคิดหลักในวิชามาสัมพันธ์กัน และสัมพันธ์กับวิชาอื่น
ด้วย”
จากที่กล่าวมาพอสรุปความหมาย การสอนแบบบูรณาการได้ว่า เป็นการเชื่อมโยงวิชา
หนึ่งเข้ากับวิชาอื่นๆ ในการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้ที่หลากหลาย และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจาวัน
ความสาคัญของการเรียนรู้แบบบูรณาการ
อนุบาลบางคนที [มปป., Online] ได้กล่าวถึงความสาคัญของการเรียนรูแบบบูรณาการ ไว้
ดังนี้
1) เป็นการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสภาพจริงตามธรรมชาติ เพราะสิ่งต่างๆ ตามธรรมชาติ
ทั้งชีวิตและสิ่งแวดล้อมล้วนเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน หรือเชื่อมโยงอาศัยซึ่งกันและกัน มิได้เป็นไปอย่างโดดเดี่ยวไม่
เกี่ยวข้องกับสิ่งอื่น ดังคากล่าวที่ว่า " เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว "
2) ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ลักษณะรอบรู้ มีความรู้หลายด้านเชื่อมโยงกันเป็นองค์รวม
ความรู้ ประสบการณ์ไม่คับแคบ
3) ความรู้ที่ได้รับมีความหมายต่อชีวิตและสะดวกต่อการนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง
เพราะได้เรียนรู้สิ่งที่สอดคล้องกับสภาพจริง ได้เรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม มีความรอบรู้เรื่องนั้นๆ ซึ่งเมื่อจะใช้หรือ
แก้ปัญหาในชีวิตจริงจะต้องใช้ความรอบรู้ ความรู้ที่ได้เรียนอย่างบูรณาการกับสิ่งที่ต้องการใช้ในชีวิตจริงจึง
สอดคล้องกัน สะดวกต่อการใช้งาน
4) สามารถช่วยลดความซ้าซ้อนของเนื้อหา ประหยัดเวลาการเรียนรู้ และช่วยลดภาระ
การสอนได้
3
5) ส่งเสริมการเรียนรู้ที่หลากหลาย คิดวิเคราะห์เชื่อมโยงได้ และช่วยการพัฒนา
ความคิดสร้างสรรค์
ประเภทของการบูรณาการ
อนุบาลบางคนที [มปป., Online] ได้กล่าวถึงประเภทของการบูรณาการ ไว้ดังนี้
1) แบ่งโดยพิจารณาจากการเชื่อมโยงจุดประสงค์ หรือมาตรฐานการเรียนรู้ หรือสาระการ
เรียนรู้ ดังนี้
1.1) บูรณาการแบบสอดแทรก เป็นลักษณะการสอนปกติทั่วไปที่บางช่วงได้นาเนื้อหา
สาระอื่นมาสอดแทรกเช่นการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม เรื่องความซื่อสัตย์ในขณะสอนเรื่องกติกาการเล่น
ฟุตบอล โดยการเตรียมการสอน ผู้สอนมิได้ดาเนินการละเอียดถึงขั้นวิเคราะห์หลักสูตร แต่พิจารณาว่าเรื่องใดพอใจ
ที่จะแทรกเชื่อมโยงกันได้และนักเรียนจะได้รับประโยชน์มากขึ้นก็จัดสอดแทรก
1.2) บูรณาการภายในวิชาหรือกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน เป็นการนาจุดประสงค์
หรือมาตรฐานการเรียนรู้และหรือสาระการเรียนรู้ หัวเรื่องหรือประเด็นสาระต่างๆ ที่มีในวิชานั้นๆ มาบูรณาการกัน
โดยผู้สอนมีการดาเนินการวิเคราะห์กาหนดรายละเอียดการบูรณาการชัดเจน เช่น ในวิชาวิทยาศาสตร์นาสาระย่อย
เรื่องสสาร แรง พลังงานเซลล์ไฟฟ้า และวงจรไฟฟ้า เป็นต้น มาบูรณาการสอนในหัวเรื่อง " กังหันมหัศจรรย์ " หรือ
วิชาภาษาไทย นาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน มาบูรณาการสอนในหัวเรื่อง " บ้านแสนสุข " เป็นต้น
1.3) บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือสหวิทยาการ เป็นการนาจุดประสงค์
หรือมาตรฐานการเรียนรู้และหรือสาระการเรียนรู้ต่างๆ ตั้งแต่ 2 วิชา หรือกลุ่มสาระ มาบูรณาการกัน โดยผู้สอนมี
การดาเนินการวิเคราะห์ กาหนดรายละเอียดการบูรณาการของแต่ละวิชาอย่างชัดเจน
1.4) บูรณาการกับวิถีชีวิต เป็นการกาหนดหัวเรื่อง เนื้อหาสาระและวิธีการเรียนรู้หรือ
กิจกรรมต่างๆ ที่ยึดหรือให้สอดคล้องกับการดาเนินชีวิตประจาวันเป็นหลักก่อน แล้วจึงวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่
เกิด เทียบโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้หรือผลการเรียนรู้ที่คาดหวังหรือสาระที่หลักสูตรกาหนด ตัวอย่างเช่น ครู
ร่วมกับนักเรียน ร่วมกันกาหนดจุดประสงค์ สาระและกิจกรรมการเรียนรู้หรือกาหนดแผนการเรียนรู้ที่เป็นเรื่องราว
ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน เช่น หัวเรื่อง " คนรุ่นใหม่กับการพัฒนาชุมชน " ซึ่งเป็นเรื่องราวการพัฒนาหรือแก้ไข
ปัญหาในการดารงชีวิตในชุมชน เป็นต้น แล้วดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ที่กาหนดนั้นจนเสร็จสิ้น โดยครูมีบทบาทใน
การวิเคราะห์ผลการเรียนที่เกิดขึ้นนั้นว่าบรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง หรือมาตรฐานการเรียนรู้ใดที่หลักสูตร
กาหนดไว้บ้างเพื่อใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรต่อไป
2) แบ่งโดยพิจารณาจากกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนี้
2.1) บูรณาการลักษณะสอดแทรกกิจกรรมต่างๆ โดยครูสอนวิชาใดวิชาหนึ่งตามปกติ
แล้วสอดแทรกกิจกรรมหรือเชื่อมโยงสาระวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กับการสอนนั้นๆ มาร่วมสอน เช่น ขณะ
สอนห้องเรียนขาดความสงบครูก็ชวนให้นักเรียนนั่งสมาธิ และกล่าวถึงประโยชน์ ของสมาธิพร้อมกันไปด้วย เป็น
ต้น
2.2) บูรณาการโดยใช้กิจกรรมโครงงาน เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่บูรณาการการ
เรียนรู้ โดยใช้กิจกรรมการทาโครงงานเป็นหลัก หรือใช้ประกอบในการเรียนรู้เรื่องนั้นๆ ด้วยการทาโครงงาน โดย
ปกติจะต้องใช้ความรู้และความสามารถลักษณะบูรณาการอยู่แล้วโครงงานจึงสาเร็จได้ การเรียนรู้โดยการทา
โครงงานจึงสะท้อนการเรียนรู้ลักษณะบูรณาการได้เป็นอย่างดี
4
2.3) บูรณาการโดยใช้กิจกรรมแก้ปัญหา เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่บูรณาการ
การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการแก้ปัญหาเป็นหลักในการเรียนรู้ซึ่งจะมีลักษณะคล้ายกิจกรรมการทาโครงงานทั้งนี้
เพราะการเรียนรู้จากกิจกรรมการแก้ปัญหาสามารถสะท้อนการเรียนรู้ลักษณะบูรณาการได้เป็นอย่างดีเพราะ
ธรรมชาติการแก้ปัญหามิได้ใช้ความรู้ความสามารถอย่างเดียวแต่ใช้อย่างบูรณาการ
รูปแบบของการบูรณาการ (Models of Integration)
รูปแบบของการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการมี 4 รูปแบบ คือ (ยาเบ็น เรืองจรูญ
ศรี, มปป.,[Online])
1) การสอนบูรณาการแบบสอดแทรก (Infusion Instruction)
การสอนรูปแบบนี้ครูผู้สอนในวิชาหนึ่งสอดแทรกเนื้อหาของวิชาอื่น ๆ เข้าไปในการ
สอนของตน เป็นการวางแผนการสอนและสอนโดยครูเพียงคนเดียว
2) การสอนบูรณาการแบบขนาน (Parallel Instruction)
การสอนตามรูปแบบนี้ ครูตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปสอนต่างวิชากัน ต่างคนต่างสอนแต่ต้อง
วางแผนการสอนร่วมกันโดยมุ่งสอนหัวเรื่อง/ความคิดรวบยอด/ปัญหาเดียวกัน (Theme / concept / problem)
ระบุสิ่งที่ร่วมกันและตัดสินในร่วมกันว่าจะสอนหัวเรื่อง/ความคิดรวบยอด/ปัญหานั้นๆ อย่างไรในวิชาของแต่ละคน
งานหรือการบ้านที่มอบหมายให้นักเรียนทาจะแตกต่างกันไปในแต่ละวิชา แต่ทั้งหมดจะต้องมีหัวเรื่อง/ความคิด
รวบยอด/ปัญหาร่วมกัน
3) การสอนบูรณาการแบบสหวิทยาการ (Multidisciplinary Instruction)
การสอนตามรูปแบบนี้คล้าย ๆ กับการสอนบูรณาการแบบขนาน (Parallel
Instruction) กล่าวคือครูตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปสอนต่างวิชากัน มุ่งสอนหัวเรื่อง ความคิดรวบยอด/ปัญหาเดียวกัน
ต่างคนต่างแยกกันสอนเป็นส่วนใหญ่ แต่มีการมอบหมายงาน หรือโครงการ (Project) ร่วมกัน ซึ่งจะช่วย
เชื่อมโยงสาขาวิชาต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ครูทุกคนจะต้องวางแผนร่วมกันเพื่อที่จะระบุว่าจะสอนหัวเรื่อง/ความคิด
รวบยอด/ปัญหานั้น ๆ ในแต่ละวิชาอย่างไร และวางแผนสร้างโครงการร่วมกัน(หรือกาหนดงานจะมอบหมายให้
นักเรียนทาร่วมกัน) และกาหนดว่าจะแบ่งโครงการนั้นออกเป็นโครงการย่อย ๆ ให้นักเรียนปฏิบัติแต่ละรายวิชา
อย่างไร
อนึ่ง พึงเข้าใจว่าคาว่า “โครงการ” นี้มีความหมายเดียวกันกับคาว่า “โครงงาน”
มาจากภาษาอังกฤษคาเดียวกันคือ “Project” หลายท่านอาจคุ้นกับคาว่า โครงงาน มากกว่า เช่น “โครงงาน
วิทยาศาสตร์” ซึ่งก็อาจเรียกว่า “โครงการวิทยาศาสตร์” ได้เช่นเดียวกัน
4) การสอนบูรณาการแบบข้ามวิชาหรือเป็นคณะ (Transdisciplinary Instrction)
การสอนตามรูปแบบนี้ครูที่สอนวิชาต่าง ๆ จะร่วมกันสอนเป็นคณะหรือเป็นทีม
ร่วมกันวางแผน ปรึกษาหารือ และกาหนดหัวเรื่อง/ความคิดรวบยอด/ปัญหาร่วมกัน แล้วร่วมกันดาเนินการสอน
นักเรียนกลุ่มเดียวกัน
5
2.1.2 หลักการและแนวคิดต่างๆ เกี่ยวกับการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน หรือ
WIL (Work-integrated Leaning)
1) หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน หรือ
WIL (Work-integrated Leaning)
หลักการแนวคิด/ปรัชญาของ WiL ในประเทศไทย เป็นการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการ
กับการทางาน หรือ WIL เป็นกรณีหนึ่งของการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ ที่ช่วยให้นักศึกษามีโอกาสในการประยุกต์
ความรู้ ทักษะการทางาน และทักษะเฉพาะที่สัมพันธ์กับวิชาชีพ ได้รู้จักชีวิตการทางานที่แท้จริงก่อนสาเร็จ
การศึกษาปลาย (ปานเพชร ชินินทร และคนอื่นๆ, 2552, บทคัดย่อ)
การศึกษาเชิงบูรณาการกับการทางาน หรือ WiL เป็นการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ที่ช่วย
ให้นักศึกษามีโอกาสในการประยุกต์ความรู้ทักษะการทางาน และทักษะเฉพาะที่สัมพันธ์กับวิชาชีพ ได้รู้จักชีวิตการ
ทางานที่แท้จริงก่อนสาเร็จการศึกษา จุดมุ่งหมายการพัฒนาด้วยการเรียนการสอนแบบ WiL ก็คือ
สถาบันการศึกษาได้มีการเชื่อมโยงโลกการศึกษากับภาคธุรกิจอุตสาหกรรมเข้าด้วยกัน ทาให้ประเทศมีทรัพยากร
มนุษย์ที่มีสมรรถนะสูงสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติได้ จุดมุ่งหมายการพัฒนาคือสถาบันการศึกษาได้มีการ
เชื่อมโยงโลกการศึกษากับภาคธุรกิจอุตสาหกรรมเขนาด้วยกัน ทาให้ประเทศมีทรัพยากรมนุษย์ที่มีสมรรถนะสูง
สามารถแข่งขันในระดับนานาชาติได้ ซึ่งโครงสร้างความร่วมมือ ประกอบด้วย สถานศึกษา สถานประกอบการ
องค์กรวิชาชีพ นอกจากนี้ สถานประกอบการและสถาบันอุดมศึกษายังได้รับประโยชน์ในเชิงความร่วมมือและการ
พัฒนาปรับปรุงงานและหลักสูตร (ปานเพชร ชินินทร และวิเชษฐ์ พลายมาศ, 2552)
WiL เป็นการจัดการศึกษาที่เน้นการฝึกปฏิบัติเพื่อให้ประกอบอาชีพได้จริง ดังนั้น ต้อง
หาความต้องการความจาเป็นในหลักสูตรรายวิชาที่จะมีการเรียนรู้ร่วมกับการทางาน ในการจัดการศึกษา 9
รูปแบบ โดยต้องมีการบูรณาการวิชาต่างๆ ในลักษณะของการเข้าไปทางานจริงในสถาน ประกอบการให้ตรงตาม
สาขาอาชีพที่เรียน (มหาวิทยาลัยธัญบุรี และคนอื่นๆ, 2553:3)
แนวคิดเกี่ยวกับ WiL ในประเทศสหรัฐเมริกานั้น กล่าวได้ว่าเป็นการสร้างมาตรฐาน
ทักษะและมาตรฐานอาชีพระดับชาติสู่ระดับสากล เพื่อให้แรงงานของชาติได้มาตรฐาน ถือเป็นยุทธศาสตร์ที่สร้าง
ความสาเร็จแก่การพัฒนาการศึกษาอย่างยิ่ง (ปานเพชร ชินินทร และคนอื่นๆ, 2552, บทคัดย่อ)
สานักเลขาธิการสภาการศึกษา (2553:14) อธิบายไว้ว่า WiL เป็นระบบการศึกษาที่
เน้นการบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน โดยการร่วมมือกันทั้ง 3 ฝ่าย คือ สถานศึกษา สถานประกอบการ และ
สมาคมวิชาชีพ เพื่อให้บัณฑิตที่ขบสามารถประกอบอาชีพจริงได้ และก่อให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจกับประเทศ
สาธารณรัฐฟินแลนด์ มีแนวคิดเกี่ยวกับ WiL ไว้ว่า WiL มีหลักการและแนวคิดคือเพื่อ
เพิ่มความรู้ทักษะ และความเชี่ยวชาญสาหรับผู้ศึกษาในระดับปริญญา รวมถึงการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
ของการเรียนวิชาชีพภายหลังที่สาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ปานเพชร ชินินทร และคนอื่นๆ,
2552, บทคัดย่อ)
สมาพันธรัฐสวิส มีแนวคิดเกี่ยวกับ WiL ว่าเป็นการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการทางานการ
เพิ่มทักษะและความรู้ที่จาเป็นต่อการทางาน เช่น การเรียนรู้การสื่อสารภาษา เทคโนโลยีและ การศึกษาการฝึก
ทักษะอาชีพใหม่ ๆ ความรู้ใหม่ที่สัมพันธ์กับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการศึกษาที่เกี่ยวกับด้านอุดมศึกษา
เพื่อให้ได้คุณวุฒิในสาขาที่ศึกษา (ปานเพชร ชินินทร และคนอื่นๆ, 2552, บทคัดย่อ)
6
สาธารณรัฐเกาหลี มีแนวคิดและหลักการเกี่ยวกับ WiL ว่าเป็นการศึกษาตลอดชีวิตและ
ลักษณะการจัดการศึกษาต่อเนื่องการจัดการศึกษาตั้งแต่อนุบาลถึงระดับอุดมศึกษาในระบบปิดทั้งยังจัดการศึกษา
ตอบสนองความต้องการผู้ที่ทางานแล้วแต่ต้องการเรียนเสริมความรู้หรือเรียนรู้เพื่อเปลี่ยนอาชีพให้มีโอกาสการ
เรียนเท่าเทียมระบบโรงเรียนโดยทั่วไป (ปานเพชร ชินินทร และคนอื่นๆ, 2552, บทคัดย่อ)
Penelop Engel-Hills and other (พีนโลพ แองเจิล ฮิล และคนอื่นๆ, 2010:1) ได้
อธิบายว่า WiL เป็นการจัดการเรียนการสอนเพื่อการประกอบอาชีพที่รวมถึงการเรียนรู้ทฤษฎีและเทคนิคที่
เหมาะสมเพื่อการประกอบอาชีพ การเรียนรู้ที่จะเป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพ การเรียนรู้เพื่อสามารถแก้ไขปัญหา
(Problem-Based Learning : PBL) การศึกษาเรียนรู้โครงการอย่างลึกซึ้งในชั้นเรียนและมีการประเมิน
ความสามารถจากการศึกษาที่ได้ (Project Based Learning : PLBL) ทั้งนี้ไม่รวมถึงการเรียนรู้จากประสบการณ์
เพื่อสามารถแก้ไขปัญหา และการเรียนรู้และปฏิบัติจริงในสถานประกอบการ (Workplace Learning : WPL)
Queensland University of Technology [Online] ได้อธิบายว่า WiL เป็นหลักสูตร
การเรียนการสอนแก่นักศึกษาโดยที่เข้าไปมีส่วนร่วมกับภาคอุตสาหกรรม และชุมชนต่างๆ โดยผ่านการทากิจกรรม
และประสบการณ์จริง ตามแผนที่ถูกกาหนดไว้แล้ว และรวมถึงการประเมินผล ทั้งนี้การทากิจกรรมต่างของ
นักศึกษาจะสร้างโอกาสต่างๆ ดังนี้
1. เพื่อพัฒนาและบูรณาการความรู้ ทักษะ การสามารถในการจัดการ ปัญหาในชีวิต
จริง
2. เพื่อสร้างประสบการณ์ตรง และวัฒนธรรมองค์กร และการปฏิบัติต่างๆ ในสาย
อาชีพ และของหน่วยงาน
3. เพื่อสร้างทางเลือกด้านอาชีพ และแสดงให้เห็นถึงลักษณะความเป็นมืออาชีพผ่าน
กระบวนการฝึก
Griffith University [Online] ได้อธิบายว่า WiL เป็นรูปแบบระบบการจัดการเรียน
การสอน ซึ่งเป็นระดับปริญญาตรีเป็นส่วนใหญ่และมีบางโปรแกรมสาหรับบัณฑิตวิทยาลัย ทั้งนี้การจัดการศึกษา
ลักษณะ WiL จะ การศึกษาเน้นในทางปฏิบัติ สร้างประสบการณ์จากสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตการทางาน มิติ
การศึกษาที่เน้นในทางปฏิบัติ เป็นหัวใจสาคัญที่จะเพิ่มทักษะที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้ผ่านการเรียนการสอน ในเรื่อง
ขององค์ความรู้เพื่อการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการโดยอาจารย์ผู้ชานาญ
คณะทางานด้าน WiL ประเทศไทย (2552:4) ได้อธิบายว่า การสอนแบบ WiL ก็คือ
สถาบันการศึกษาได้มีการเชื่อมโยงโลกการศึกษากับภาคธุรกิจอุตสาหกรรมเข้าด้วยกันทาให้ประเทศมีทรัพยากร
มนุษย์ที่มีสมรรถนะสูงสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติได้จุดมุ่งหมายการพัฒนาคือสถาบันการศึกษาได้มีการ
เชื่อมโยงโลกการศึกษากับภาคธุรกิจอุตสาหกรรมเข้าด้วยกันทาให้ประเทศมีทรัพยากรมนุษย์ที่มีสมรรถนะสูง
สามารถแข่งขันในระดับนานาชาติได้ ซึ่งโครงสร้างความร่วมมือ ประกอบด้วย สถานศึกษา สถานประกอบการ
องค์กรวิชาชีพ นอกจากนี้ สถานประกอบการและสถาบันอุดมศึกษายังได้รับประโยชน์ในเชิงความร่วมมือและการ
พัฒนาปรับปรุงงานและหลักสูตร
7
2) รูปแบบการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน หรือ WIL (Work-
integrated Leaning)
จากการศึกษาของคณะทางานด้าน WiL ประเทศไทย (2552:4) จากทั่วโลก พบว่ามี
9 รูปแบบ ดังต่อไปนี้ ปรากฏตามตารางที่ 2.1
ตารางที่ 2.1 รูปแบบการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน หรือ WIL (Work-integrated Leaning)
รูปแบบ ลักษณะเฉพาะ ตัวอย่าง
1. การกาหนดประสบการณ์ก่อน
การศึกษา (Pre-course
Experience)
หมายถึง การกาหนดประสบการณ์ใน
การทางานเป็นคุณสมบัติเฉพาะของ
นักศึกษาก่อนเข้ารับการศึกษา (Pre-
requisite)
การกาหนดประสบการณ์ทางานใน
ฟาร์มก่อนเข้าศึกษาเกษตรศาสตร์
2. การเรียนสลับกับการทางาน
(Sandwich Course)
กาหนดระยะเวลาทางานในระหว่างปี
ที่ศึกษา โดยทั่วไปอาจกาหนดให้
ทางาน 4 เดือน หรือทางาน 3 เดือน
สลับกับการเรียนในสถาบัน
อุดมศึกษา จนกว่าจะสาเร็จการศึกษา
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ของ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม
เกล้าพระนครเหนือ
3. สหกิจศึกษา (Cooperative
Education)
กาหนดระยะเวลาทางานไว้ชัดเจนใน
หลักสูตร เน้นการบูรณาการทฤษฏี
และการปฏิบัติเพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถในการจ้างงานของ
บัณฑิต
หลักสูตรต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีสุรนารี และ
มหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั้งภาครัฐและ
ภาคเอกชน
4. การฝึกงานที่เน้นการเรียนรู้หรือ
การติดตามพฤติกรรมการทางาน
(Cognitive Apprenticeship or
Job Shadowing)
มุ่งเน้นการสังเกตพฤติกรรมและการ
ซึม-ซับวัฒนธรรมองค์กรขององค์กร
ผู้ใช้บัณฑิต
หลักสูตรต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีสุรนารี และ
มหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั้งภาครัฐและ
ภาคเอกชน
5. หลักสูตรร่วมมหาวิทยาลัยและ
อุตสาหกรรม (Joint Industry
University Course)
หลักสูตรที่ร่วมพัฒนาและ อุดหนุน
งบประมาณโดยองค์กรผู้ใช้บัณฑิต
รวมทั้งการใช้บุคลากร และอุปกรณ์
ขององค์กรผู้ใช้บัณฑิต
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์
บริหารธุรกิจ และอื่น ๆ
8
ตารางที่ 2.1 (ต่อ)
รูปแบบ ลักษณะเฉพาะ ตัวอย่าง
6. พนักงานฝึกหัดใหม่หรือพนักงาน
ฝึกงาน (New Traineeship or
Apprenticeship)
การฝึกงานที่มีการจัดระบบการ
เตรียมการและการฝึกงานในสถานที่
หรือนอกสถานที่ ที่มีโครงสร้างการ
ดาเนินงานชัดเจน
สัตวแพทยศาสตร์ เกษตรศาสตร์
7. การบรรจุให้ทางาน หรือการฝึก
เฉพาะตาแหน่ง (Placement or
Practicum)
การพัฒนาทักษะหรือประสบการณ์ที่
จาเป็นในอนาคต โดยจัดเวลาการฝึก
ปฏิบัติงานเพิ่มเติมในสถานการณ์จริง
แพทย์ พยาบาล ครู
8. ปฏิบัติงานภาคสนาม
(Fieldwork)
การสารวจหรือการสังเกตการทางาน
ในสถานที่จริงในระยะสั้น
สังคมสงเคราะห์ วิทยาศาสตร์
ภูมิศาสตร์
9. การฝึกปฏิบัติจริงภายหลังสาเร็จ
การเรียนทฤษฎี (Post-course
Internship)
การเสริมสร้างประสบการณ์ในการ
ปฏิบัติงานภายหลังสาเร็จการศึกษา
ภาคทฤษฎี
แพทย์ ทนายความ
รูปแบบ WiL ในประเทศไทย
สานักเลขาธิการสภาการศึกษา (2553:108-115), ปานเพชร ชินินทร และคนอื่นๆ
(2552:17) ได้อธิบายเกี่ยวกับรูปแบบ WiL ในประเทศไทยประกอบไปด้วย 4 ระบบ ได้แก่ ระบบทวิภาคี (DVT)
ระบบการฝึกงาน (Apprentice) ระบบสหกิจศึกษา (Cooperative) และระบบการฝึกหัด (Internship) โดยมี
รายละเอียดดังต่อไปนี้
ระบบทวิภาคี (Dual Vocational Training : DVT)
1. หลักการแนวคิด
การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นภาคทฤษฎีในสถานศึกษาและการฝึกอบรม
ภาคปฏิบัติในสถานประกอบการ ผู้เรียนจะได้รับความรู้ควบคู่ไปกับประสบการณ์การทางาน จนเกิดความ
เชี่ยวชาญทางวิชาชีพเฉพาะด้านในระดับที่กาหนด
2. จุดมุ่งหมาย
2.1 เพื่อจัดเตรียมกาลังคนทางด้านอาชีวศึกษาเข้าสู่ตลาดแรงงาน
2.2 เพื่อผลิตช่างฝีมือผู้มีความชานาญงานเพียงพอทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
2.3 เพื่อผลิตกาลังคนที่ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ
2.4 เพื่อจัดการสร้างระบบการจัดการศึกษาวิชาชีพระบบนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นการให้
โอกาสในการศึกษาวิชาชีพแก่เยาวชนที่สาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
2.5 เพื่อเปิดโอกาสให้บุคคลในวัยเรียนและวัยทางานพัฒนาตนเองทางด้าน
วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
9
2.6 เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมสาหรับสถานศึกษาในการเข้าสู่ระบบการ
ปฏิรูปทางการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542
2.7 เพื่อเป็นการลดปัญหาในเรื่องงบประมาณในการจัดการศึกษาทางด้าน
อาชีวศึกษา
2.8 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้การปฏิบัติโดยแท้จริงและมีเนื้อหาที่ทันต่อ
เทคโนโลยี
2.9 เพื่อส่งเสริมให้มีการประกอบอาชีพ การจ้างงาน และอาชีพอิสระ
3. ระบบการจัดการ
การจัดการศึกษาระบบทวิภาคี มี 2 หลักสูตร คือ ในระดับประกาศนียบัตร
(ปวช.) ใช้เวลาเรียน 3 ปี หลักจากจบในระดับมัธยมต้น และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ใช้เวลา
เรียน 2 ปี หลักจากจบในระดับ ปวช. หรือมัธยมศึกษาตอนปลาย
4. รูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทางาน
4.1 สถานศึกษาสอนวิชาพื้นฐาน วิชาชีพพื้นฐาน วิชาเลือกเสรี สัปดาห์ละ 1-2
วัน ตลอดหลักสูตร และสถานประกอบการการสอนวิชาชีพเฉพาะ วิชาชีพเลือก กิจกรรมและโครงงานหรือ
โครงการวิชาชีพ สัปดาห์ละ 3-4 วัน ตลอดหลักสูตร หรือในรูปแบบที่เหมาะสมที่สถานประกอบการต้องการ
4.2 รายวิชาใดหากสถานประกอบการไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตาม
หลักสูตรให้สถานศึกษาจัดสอนเพิ่มเติมให้จนครบหลักสูตร
5. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สถาบันอาชีวศึกษาเอกชน และสถาบัน
การเรียนการสอนในรูปแบบอาชีวศึกษาที่จัดในระดับอุดมศึกษา
6. ปัจจัยและเงื่อนไขของความสาเร็จ
6.1 มีงบประมาณอุดหนุนเนื่องจากเป็นนโยบายของรัฐ และมีความชัดเจน
6.2 สถานประกอบการสามารถลดหย่อนภาษีได้
6.3 สถานประกอบการสามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและประหยัดเวลาในการ
ฝึกอบรมพนักงานใหม่
6.4 การจัดการอาชีวะศึกษาระบบทวิภาคีก่อให้เกิดการรับรู้ของครูใน
สถานศึกษา เพื่อตอบรับกับเทคโนโลยีใหม่ๆ และความต้องการของตลาดแรงงาน ในขณะเดียวกันก็กระตุ้นให้
สถานประกอบการพัฒนาครูฝึกประจาสถานประกอบการของตน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ และสิ่งอานวยความ
สะดวกต่างๆ
ระบบสหกิจศึกษา (Cooperative Education)
1. หลักการแนวคิด
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการอย่างมีระบบ โดย
จัดให้มีการให้ความรู้และทักษะที่จาเป็นขณะข้าปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ นักศึกษามีสถานะเปรียบเสมือน
พนักงานชั่วคราว ที่จะต้องลงมือปฏิบัติงานจริงในสาขาที่ตนเรียนมา โดยมีการประเมินอย่างเป็นระบบ รวมถึงการ
นาเสนอรายงานจากประสบการณ์จริง
10
2. จุดมุ่งหมาย
2.1 เพื่อพัฒนาบัณฑิตทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศาสตร์ และ
มนุษยศาสตร์ ให้มีคุณลักษณะและสมรรถนะที่ตรงตามความต้องการขององค์กรผู้ใช้บัณฑิต
2.2 เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาซึ่งเป็นภาคผู้ผลิตบัณฑิต ได้เชื่อมโยงสัมพันธ์กับ
องค์กรผู้ใช้บัณฑิตและเกิดการบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การวิจัย และการ
สร้างองค์ความรู้ใหม่
2.3 เพื่อให้องค์กรผู้ใช้บัณฑิตได้รับประโยชน์จากโครงงานหรืองานที่นักศึกษา
ปฏิบัติ อีกทั้งใช้ประโยชน์จากสหกิจศึกษาเป็นแนวทางหนึ่งในการสรรหา และพัฒนาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ
2.4 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
3. ระบบการจัดการ
หลักสูตรในระดับปริญญาที่เสริมสร้างประสบการณ์อาชีพให้กับนักศึกษา โดยให้
นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานจริงเต็มเวลา ณ สถานประกอบการเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา หรือไม่ต่า
กว่า 4 เดือน โดยงานที่ปฏิบัติจะต้องเป็นประโยชน์กับสถานประกอบการ
4. รูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทางาน
มหาวิทยาลัยได้จัดระบบการศึกษา โดยภาคเรียนสหกิจศึกามีระยะเท่ากับ 1 ภาค
เรียน คือ 16 สัปดาห์ หลักสูตรสหกิจศึกษามีลักษณะดังนี้ คือ
4.1) เป็นหลักสูตรโดยเป็นไปตามการเลือกแผนการเรียนของนักศึกษา
4.2) การจัดภาคเรียนสหกิจศึกาจะจัดไว้ในภาคปลายของปีที่ 3 และหรือภาคต้น
และภาคปลายของปีที่ 4
4.3) ภาคเรียนสหกิจศึกษามีค่าอย่างน้อย 6 หน่วยกิต โดยแตกต่างกันไปในแต่ละ
สาขาวิชา
4.4 กาหนดให้นักศึกษาสหกิจศึกษาจะต้องไปปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 ภาคเรียน
โดยจะต้องมีระยะเวลาการปฏิบัติงาน ไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์
5. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
มหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชนที่สังกัดสานักงานคณะกรรมการ
อุดมศึกษา
6. ปัจจัยและเงื่อนไขของความสาเร็จ
6.1 การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสหกิจศึกษา ได้แก่ การเผยแพร่
ความรู้ในสงกว้างแก่ภาคสังคมทั่วไป การอบรมเชิงปฏิบัติการสหกิจศึกษาแก่สถาบันอุดมศึกษา การส่งเสริมการ
วิจัยที่เกี่ยวข้องกับสหกิจศึกษา และการส่งเสริมแนวปฏิบัติสหกิจศึกษาที่ดี (Good Practices) ให้กว้างขึ้น
6.2 การกาหนดมาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกาไทย ทั้งในส่วนของ
สถาบันอุดมศึกษาและองค์ผู้ใช้บัณฑิต
6.3 การส่งเสริมและสนับสนุนสหกิจศึกษาไทย โดยใช้มาตรการต่างๆ เช่น การ
แต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมพัฒนาสหกิจศึกษา มาตรการจูงใจในด้านภาษี การส่งเสริมการลงทุน ประกาศเกียรติ
คุณและการกาหนดเป็นตัวชี้วัดของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาเป็นต้น
11
6.4 การส่งเสิรมและสนับสนุนสหกิจศึกษาในสาขาเฉพาะด้าน ระดับนานาชาติ
เพื่อยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของสหกิจศึกษาไทย
6.5 การติดตามประเมินผล จัดให้มีการติดตามประเมินผลการดาเนินงานสหกิจ
ศึกษาขององค์การต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบ
ระบบฝึกงาน (Apprentice)
1. หลักการแนวคิด
การเตรียมความพร้อมเข้าสู่อาชีพ เพื่อการเตรียมความพร้อมในการทางาน โดยที่
ผู้เรียนเข้าไปฝึกงานในสถานประกอบการในระยะเวลาสั้น
2. จุดมุ่งหมาย
2.1 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ เพิ่มทักษะ ประสบการณ์การทางาน การบริหาร
จัดการ พัฒนาวิชาชีพตามสภาพการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ
2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบถึงสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในการปฏิบัติงาน
ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.3 เพื่อให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีระเบียบวินัยสามารถทางาน
ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.4 เพื่อให้นักศึกษามีเจตคติที่ดีต่อการทางาน มีความภาคภูมิใจในวิชาชีพ เกิด
แรงจูงใจในการประกอบอาชีพต่อไปเมื่อสาเร็จการศึกษา
3. ระบบการจัดการ
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงและหลักสูตรระดับปริญญา นักศึกษาทุก
คนจะต้องฝึกงานในสถานประกอบการหรือแหล่งวิทยาการ และสามารถฝึกในสถานประกอบการ 1 แห่ง หรือ
หลายแหล่งตามความเหมาะสม
4. รูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทางาน
4.1 การฝึกงานในสถานประกอบการ ให้สถานศึกษาพิจารณาร่วมกับสถาน
ประกอบการ โดยการฝึกปฏิบัติงานต้องเป็นไปตามข้อกาหนดของหลักสูตร
4.2 การกาหนดภาคเรยีนสาหรับการฝึกงาน ควรจัดให้นักศึกษาได้ศึกษาอยู่ใน
สถานศึกษาในภาคเรียนที 1 เพื่อเรียนรู้ในวิชาสามัญและวิชาพื้นฐานวิชาชีพที่จาเป็นก่อนเข้าฝึกงานในสถาน
ประกอบการ และอยู่ในสถานศึกษาภาคเรียนสุดท้ายเพื่อเป็นการบูรณาการศาสตร์ที่เรียนรู้ทั้งหมดเข้าด้วยกันมา
ปฏิบัติในวิชาโครงการและเรียนวิชาอื่นๆ ให้ครบตามโครงสร้างของหลักสูตร เพื่อเตรียมความพร้อมในการ
ประกอบอาชีพ
5. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และวิทยาลัยชุมชน ฯลฯ
6. ปัจจัยและเงื่อนไขของความสาเร็จ
6.1 นักศึกษาได้เรียนรู้ประสบการณ์ตรงจากการฝึกงานจริง ทาให้มีความเข้าใจ
ในลักษณะงานของสายอาชีพได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
12
6.2 การหาสถานประกอบการง่าย เนื่องจากสถานประกอบการเข้าใจลักษณะ
การฝึกงาน
6.3 การฝึกงานในสถานประกอบการเน้นเฉพาะด้าน จึงทาให้นักศึกษาไม่เกิด
ความสับสนในการฝึกปฏิบัติงาน
6.4 สถานประกอบการลดค่าใช้จ่ายในการจ้างแรงงาน จึงทาให้เปิดโอกาสให้
นักศึกษาเข้ารับการฝึกงานมากขึ้น
ระบบการฝึกหัด (Internship)
1. หลักการแนวคิด
การเตรียมความพร้อมในการผลิตบัณฑิต และเป็นกลไกสาคัญที่จะช่วยให้ผู้สาเร็จ
การศึกษาได้รับการฝึกฝนเป็นระบบอย่างมีประสิทธิภาพภายใต้การดูแลจากผู้ที่รับผิดชอบจนมีความสามารถที่จะ
ปฏิบัติงานได้จริง
2. จุดมุ่งหมาย
2.1 เพื่อผลิตบุคลากรในสาขาที่ขาดแคลนและจาเป็นต่อวิชาชีพเฉพาะด้าน
เช่น แพทย์ ครู พยาบาล ตารวจ ทหาร นักบิน เป็นต้น
2.2 เพื่อให้บุคลากรที่มีความรู้ทางวิชาการเชี่ยวชาญทางวิชาชีพด้วยหลักสูตร
และกระบวนการที่เน้นการปฏิบัติและการฝึกอบรมที่เข้มข้น
3. ระบบการจัดการ
หลักสูตรในระดับปริญญา เน้นวิชาชีพเฉพาะทาง มีความเชี่ยวชาญในสาขาเฉพาะ
ด้าน ระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 5 ปี
4. รูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทางาน
4.1 เน้นความสามารถในวิชาชีพ (Capability-Based Learning) คือ มีความรู้
ทางวิชาการเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และมีอุดมการณ์ในวิชาชีพ
4.2 เน้นการปฏิบัติจริง (Practical-Based Learning) ในสถานทางานที่จริง
4.3 จัดกระบวนการเรียนรู้โดยการแก้ปัญหาและกระบวนการวิจัย (Problem-
Based Learning and Research-Based Learning) ได้แก่การฝึกแก้ปัญหาที่ดารงอยู่ในเรื่องการเรียนรู้ การ
บริหารจัดการ และใช้กระบวนการวิจัย)
5. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา และองค์กรวิชาชีพเฉพาะทาง
6. ปัจจัยและเงื่อนไขของความสาเร็จ
6.1 มีระบบการจัดการที่มีมาตรฐาน
6.2 ระบบนิเทศและติดตามผลมีเกณฑ์มาตรฐาน
6.3 มีองค์กรวิชาชีพสนับสนุน
6.4 นักศึกษามีใบประกอบวิชาชีพเมื่อสาเร็จการศึกษา
6.5 นักศึกษามีโอกาสทางานตามสาขาวิชาชีพที่เรียน
13
6.6 นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานในสถานที่ทางานจริงทาให้เรียนรู้ปัญหาและแก้ไข
ปัญหาได้จริง
ปรากฏตามแผนภาพที่ 2.1
ระบบ ปัจจัยนาเข้า กระบวนการ ผลที่ได้รับ
1. ได้ทักษะเฉาพะด้าน
2. ได้ฝึกปฏิบัติตาม
สมรรถนะรายวิชา
1. ได้ทักษะการทางาน
กับผู้อื่น
2. ได้เรียนรู้ชีวิตการ
ทางาน
3. การฝึกปฏิบัติเพื่อ
เปลี่ยนอาชีพ
1. ได้เรียนรู้ชีวิตการทางาน
2. ได้ฝึกปฏิบัติงานตาม
ความรู้ในสาขาที่ตนเรียน
3. บูรณาความรู้สู่สถาน
ประกอบการโดยการทา
โครงการและการแก้ปัญหา
งาน
4. มีรายงานหลังจากฝึก
ปฏิบัติ
1. ได้ทางานจริงในวิชาชีพที่
เรียนการโดยตรง
2. บูรณาการความรู้โดยการ
ฝึกปฏิบัติจริง
3. ได้กรณีศึกษาจากการ
ทางานจริง
4. มีองค์กรวิชาชีพรับรอง
5. ได้สมรรถนะตามอาชีพ
ฟ
1. เรียนทฤษฎีควบคู่กับ
การฝึกปฏิบัติตามความ
เหมาะสม โดย
สถานศึกษาและสถาน
ประกอบการต้องตกลง
ร่วมกัน
2. การประเมินผลการ
ฝึกปฏิบัติร่วมกัน
ระหว่างสถานศึกษากับ
สถานประกอบการ
1. การฝึกปฏิบัติงานใน
สถานประกอบการ
เป็นไปตามข้อกาหนด
ของหลักสูตร
2. การประเมินผลการ
ฝึกปฏิบัติร่วมกัน
ระหว่างสถานศึกษากับ
สถานประกอบการ
1. เรียนทฤษฎีก่อนและฝึก
ปฏิบัติงานตามหลักสูตรที่
กาหนด
2. ระยะการฝึกปฏิบัติงาน
เป็นไปตามข้อกาหนดของ
หลักสูตร
3. การประเมนผลการฝึก
ปฏิบัติร่วมกันระหว่าง
สถานศึกษากับสถาน
ประกอบการ
1. เรียนทฤษฎีควบคู่กับการ
ฝึ ก ป ฏิ บั ติ ต า ม ค ว า ม
เหมาะสม
2. เรียนทฤษฎีจนจบก่อนจึง
จะเรียนเริ่มปฏิบัติงาน
3. องค์กรวิชาชีพมีส่วนร่วม
จัดการเรียนการสอนและ
ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร
ปฏิบัติงาน
1. หลักสูตรระดับ ปว.ส
2. การเรียนการสอน
แบบ Problem Based
และ Cooperative
Learning
3. กาหนดคุณสมบัติ
ผู้เรียน
4. การเตรียมสถาน
ประกอบการ
5. การฝึกอบรมอาจารย์
คูฝึก และพี่เลี้ยง
1. หลักสูตรระดับ ปว.
ส และระดับปริญญาตรี
2. การเรียนการสอน
แบบ Problem Based
และ Cooperative
Learning
3. กาหนดคุณสมบัติ
ผู้เรียน
4. การเตรียมสถาน
ประกอบการ
5. การฝึกอบรมอาจารย์
คูฝึก และพี่เลี้ยง
1. หลักสูตรระดับปริญญาตรี
และระดับบัณฑิตศึกษา
2. การเรียนการสอนแบบ
Problem Based และ
Cooperative Learning
3. กาหนดคุณสมบัติผู้เรียน
4. การเตรียมสถาน
ประกอบการ
5. การฝึกอบรมอาจารย์ คู
ฝึก และพี่เลี้ยง
1. หลักสูตรระดับปริญญาตรี
2. การเรียนการสอนแบบ
Problem Based และ
Cooperative Learning
3. กาหนดคุณสมบัติผู้เรียน
4. การเตรียมสถาน
ประกอบการ
5. การฝึกอบรมอาจารย์ คู
ฝึก และพี่เลี้ยง
ระบบทวิภาคี (DVT)
ระบบการฝึกงาน
(Apprentice)
ระบบสหกิจศึกษา
(Cooperative)
ระบบการฝึกหัด
(Internship)
ผลที่ได้รับ
กระบวนการ
ปัจจัยนาเข้า
สถาน
ประกอบการ
สถานศึกษา
แผนภาพที่ 2.1 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทางาน (วิเคราะห์จากเอกสาร )
ที่มา : ปานเพชร ชินินทร และคนอื่นๆ (2552:17)
14
กล่าวโดยสรุปแล้ว การจัดการศึกษาแบบ WiL ในประเทศไทย มีการจัดการเรียนการ
สอนแบบ WiL ที่เด่นชัดอยู่ 4 รูปแบบได้แก่ ทวิภาคี (DVT) สหกิจศึกษา (Cooperative) การฝึกงาน
(Apprentice) และ การฝึกหัด (Internship) ทั้งนี้ สานักเลขาธิการสถานศึกษา (2553:38) ได้สรุป ประเด็นต่างๆ
ในด้านหลักการแนวคิด/ปรัชญา จุดมุ่งหมายการพัฒนา โครงสร้างองกรระบบการบริหารรูปแบบ WiL และปัจจัย
เงื่อนไขของความสาเร็จ ดังตารางที่ 2.2
ตารางที่ 2.2 สรุปประเด็นสาคัญของการจัดการศึกษารูปแบบ WiL 4 รูปแบบในประเทศไทย
หัวข้อเรื่อง WIL ประเทศไทย
1. หลักการแนวคิด/ปรัชญา การจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทางานหรือ WIL เป็นกรณีหนึ่ง
ของการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ ที่ช่วยให้นักศึกษามีโอกาสในการ
ประยุกต์ความรู้ ทักษะการทางาน และทักษะเฉพาะที่สัมพันธ์กับ
วิชาชีพ ได้รู้จักชีวิตการทางานที่แท้จริงก่อนสาเร็จการศึกษา
2. จุดมุ่งหมายการพัฒนา สถาบันการศึกษาได้มีการเชื่อมโยงโลกการศึกษากับภาคธุรกิจ
อุตสาหกรรมเข้าด้วยกันทาให้ประเทศมีทรัพยากรมนุษย์ที่มีสมรรถนะ
สูงสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติได้
3. โครงสร้างองค์กรระบบการบริหาร  วิทยาลัยอาชีวศึกษารัฐ )วิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัยอาชีวศึกษา
วิทยาลัยสารพัดช่าง และวิทยาลัยเกษตรกรม)
 วิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน
 มหาวิทยาลัยรัฐ (สังกัดทบวงฯ เดิม)
 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
 มหาวิทยาลัยราชภัฎ
 มหาวิทยาลัยเอกชน
 มหาวิทยาลัยชุมชน
4. รูปแบบของWIL 1. ระบบทวิภาคี(DVT)
2. ระบบสหกิจศึกษา(Cooperative)
3. ระบบฝึกงาน (Apprentice)
4. ระบบการฝึกหัด (Internship)
15
ตารางที่ 1.2 (ต่อ)
หัวข้อเรื่อง WIL ประเทศไทย
5. ปัจจัยเงื่อนไขของความสาเร็จ  สถาบันการศึกษาและสถานประกอบมีนโยบายที่ชัดเจนใน
การสนับสนุนสหกิจศึกษา
 มีผู้รับผิดชอบระดับต่างๆ ที่ชัดเจน
 มีการสร้างความเข้าใจให้แก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
 มีกระบวนการในการเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษาที่จะ
เข้าร่วมโครงการ
 มีการกาหนดให้ทารายงานสารนิเทศเมื่อเสร็จสิ้นการ
ปฏิบัติงาน
 ภาครัฐให้สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี
 เพื่อเป็นแรงจูงใจให้กับสถานประกอบการที่เข้าร่วม
รูปแบบและลักษณะของ WiL ในต่างประเทศ
สานักเลขาธิการสภาการศึกษา (2553:53-99) ได้อธิบายเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ
สอนที่บูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน ( WiL) ของต่างประเทศ ในทวีปอเมริกาและยุโรป 3 ประเทศ ได้แก่
ประเทศสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐฟินแลนด์ และสมาพันธรัฐสวิส และในทวีปเอเซีย 3 ประเทศ ได้แก่ สาธารณรัฐ
เกาหลี ญี่ปุ่น และ อินเดียโดยศึกษา 5 ประเด็นสาคัญ ได้แก่ หลักการคิด/ปรัชญา จุดมุ่งหมายการพัฒนา
โครงสร้างความร่วมมือ รูปแบบของ WIL และปัจจัยเงื่อนไขของความสาเร็จ ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
ทวีปอเมริกาและยุโรป
1. ประเทศสหรัฐอเมริกา
1.1 แนวคิดและปรัชญา
การสร้างมาตรฐานทักษะและ มาตรฐานอาชีพระดับชาติสู่ระดับสากล เพื่อให้
แรงงานของชาติได้มาตรฐาน ถือเป็นยุทธศาสตร์ที่สร้างความสาเร็จแก่การพัฒนาการศึกษาอย่างยิ่ง
1.2 จุดมุ่งหมายและความจาเป็นในการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการการเรียนรู้กับการทางานเพื่อเป็นการ
กระตุ้นและช่วยอุตสาหกรรมในการพัฒนาและปรับปรุงระดับบุคลากรให้มีความสามรถแข่งขันได้ในเศรษฐกิจสากล
1.3 โครงสร้างขององค์กร
1) Institute of Technology
2) Community College
3) Junior College
4) College
5) University
1.4 การบริหารจัดการ
16
การจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการการเรียนรู้กับการทางานในเทศ
สหรัฐอเมริกามีระบบ Cooperative Education .นมหาวิทยาลัยและ Apprenticeship ในวิทยาลัยชุมชน และ
สถานบันเทคโนโลยี
1.5 รูปแบบการจัดการเรียนการสอน
1) การฝึกหัด (Internship)
2) สหกิจศึกษา (Cooperative Education)
3) การฝึกงาน (Apprenticeship)
1.6 ปัจจัยเงื่อนไขของความสาเร็จ
ยุทธศาสตร์แห่งความสาเร็จในการจัดการศึกษาอาชีพและการฝึกอบรมอาชีพ
ของสหรัฐอเมริกาเกิดจากการใช้นโยบายการปฏิรูปการศึกษานาในการพัฒนาชาติสถาบันการศึกษาอาชีพในฐานะ
เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มีสมรรถนะและศักยภาพสูงในการชี้นาสามารถแก้ปัญหาด้านอาชีพแก่ชุมชนและสังคมได้
เพราะเป็นสถาบันนิติบุคคล มีอิสระและอานาจทั้งด้านการบริหารจัดการวิชาการ การให้บริการวิชาอาชีพ
หลากหลายแก่กลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่าเพราะทาหน้าที่เป็นสถานศึกษา ศูนย์
ฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาอาชีพ ศูนย์วิจัยอาชีพของชุมชน ซึ่งล้วนเป็นยุทธศาสตร์ที่สร้างประสิทธิภาพแก่องค์กร
2. สาธารณรัฐฟินแลนด์
2.1 แนวคิดและปรัชญา
เพื่อเพิ่มความรู้ทักษะ และความเชี่ยวชาญสาหรับผู้ศึกษาในระดับปริญญา
รวมถึงการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของการเรียนวิชาชีพภายหลังที่สาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย
2.2 จุดมุ่งหมายและความจาเป็นในการจัดการเรียนการสอน
ให้ความรู้และทักษะที่จาเป็นต่อการปฏิบัติงานในด้านวิชาชีพตามความต้องการ
แรงงานและพัฒนาระดับโลก ทาการวิจัย และพัฒนาให้บริการสังคมในการพัฒนาท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถาน
ประกอบการขนาดเล็กและขนาดกลาง
2.3 โครงสร้างขององค์กร
มหาวิทยาลัยในสาธารณรัฐฟินแลนด์มีจานวน 20 แห่ง โดยมีมหาวิทยาลัย
จานวน 10 แห่ง เปิดวิชาสอนในหลายสาขา ส่วนอีก 10 แห่ง เปิดวิชาสอนแบบเฉพาะทาง จาแนกเป็น ด้าน
เศรษฐศาสตร์และธุรกิจ จานวน 3 แห่ง ด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม จานวน 3 แห่ง และด้านศิลปะและการ
ละคร จานวน 4 แห่ง
สถาบันโปลีเทคนิคในปัจจุบันมีจานวน 29 แห่ง ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
ในจานวน 20 แห่ง ทีเปิดหลักสูตรหลังปริญญาตรีซึ่งจัดการศึกษาผู้ใหญ่ โดยจะเรียนเพิ่มเติมประมาณ 40-60
หน่วยกิต
17
2.4 การบริหารจัดการ
1) การรับนักศึกษา
1.1) นักศึกษาที่ต้องการเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยจะต้องสอบผ่าน
Matriculation Examination, International Baccalaureate IB. European Baccalaureate: EB จึงมีสิทธิ
เข้าเรียนในมหาวิทยาลัย
1.2) นักศึกษาที่ได้ปริญญาจากสถาบันโปลีเทคนิคที่มีคุณสมบัติด้าน
อาชีวศึกษา ในระดับหลังมัธยมศึกษาตอนปลายหรืออาชีวศึกษาหลักสูตร 3 ปี เป็นอย่างน้อยจึงจะมีสิทธิเข้าเรียน
ในมหาวิทยาลัยได้ (การศึกษาแบบต่อเนื่อง)
2) การศึกษา
มหาวิทยาลัยและสถาบันโปลีเทคนิคจะเริ่มเรียนต้นเดือนสิงหาคมและ
สิ้นสุดเดือนกรกฎาคมของทุกปี การเรียนการสอนแบ่งออกเป็น 2 ภาคเรียน
3) หลักสูตร
3.1) มาหาวิทยาลัย ระดับปริญญาตรีเรียน 180 ECTS (European
Credit Transfer and Accumulation System) ใช้เวลาเรียน 3 ปี สาหรับระดับปริญญาโทเรียน 300 ECTS ใช้
เวลาเรียน 5 ปี และระดับปริญญาเอกต้องเรียนเพิ่มขึ้นอีก 4 ปี ส่วนสาขาแพทยศาสตร์ ทันตแพทย์ศาสตร์ และ
สัตวแพทยศาสตร์ เรียน 300-360 ECTS ใช้เวลาเรียน 5-6 ปี
3.2) สถาบันโปลีเทคนิค หลักสูตรประกอบด้วย วิชาพื้น,น วิชาชีพ วิชา
เลือก และการฝึกปฏิบัติจานวน 130-160 หน่วยกิต ส่วนสาขาพยาบาล ดนตรี ครู วิศวกรนาวี และกัปตันเรือ ต้อง
เรียนจานวน 180 หน่วยกิต และหลักสูตรหลังปริญญาตรี ซึ่งจะจัดการศึกษาผู้ใหญ่ โดยจะเรียนเพิ่มเติมประมาณ
40-60 หน่วยกิต หรือในอนาคตจะต้องเรียน 60-90 ECTS
2.5 รูปแบบการจัดการเรียนการสอน
การสอนมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มการเรียนและการวางแผนการเรียนด้วยตนเอง
วิธีการเรียนการสอนได้แก่ การทาโครงงาน การทางานเป็นทีมการฝึกอบรมแบบลูกมือฝึกงาน(Apprenticeship
Training) และการศึกษาในสถานประกอบการโดยการฝึกงานจะคิดหน่วยกิต 30 ECTS
2.5 ปัจจัยและเงื่อนไขของความสาเร็จ
1) มีนโยบายการจัดการศึกษาที่ชัดเจน และมีระบบการศึกษาทุกระดับ
ตั้งแต่ การศึกษาภาคบังคับ การศึกษาขั้นพื้นฐานภาคบังคับ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและอาชีวศึกษา
และการศึกษาระดับอุดมศึกษา รวมถึงการศึกษาผู้ใหญ่เน้นให้โอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชน
2) การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยมีระบบการประเมินผล
สถาบันการศึกษาและระบบการศึกษาเพื่อให้หน่วยงานทางการศึกษามองเห็นภาพรวมของตนเอง และเผยแพร่
กิจกรรมของสถาบันให้เป็นที่รับรู้แก่คนภายนอก รวมทั้งการประเมินตนเองจะทาให้สถาบันทราบว่าการปฏิบัติงาน
นั้นเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่ และสาสมารถกาหนดแผนงานเพื่อรักษาระดับคุณภาพและทราบถึงผลการ
ปฏิบัติงานของตนเองโดยการประเมินมี 3 ระดับ คือ ระดับสถาบันการศึกษา ระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น
ระดับประเทศ
18
3) มีการส่งเสริมการวิจัยอย่างเป็นระบบ โดยทุกมหาวิทยาลัยต้องทาการ
วิจัยด้านการศึกษา โดยมีสถาบันวิจัยที่มีชื่อเสียงด้านการศึกษา 2 แห่ง ได้แก่ The Institute of Educational
Research และ University of Turku นอกจานกี้ คณะศึกษาศาสตร์ในทุกมหาวิทยาลัยได้รวมกันตั้งเป็น
สถาบันวิจัย โดยทางานวิจัยในด้านต่างๆ เช่น The Research Center for Vocational โดยต้องอยู่ที University
of Tempers เป็นต้น
4) มีการพัฒนาวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยการฝึกอบรมครู
ประจาการและบุคลากรทางการศึกษาปีละ 3 - 5 วันเป็นประจาทุกปี และมีรายได้ที่สูงซึ่งเป็นข้อตกลงร่วมระหว่าง
สหภาพครูรัฐ และเทศบาล ซึ่งกระทากันทุกๆ 1-3 ปี รายได้ของครูจะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ เงินเดิน และเงิน
เพิ่มเติม
3. สมาพันธรัฐสวิส
3.1 แนวคิดและปรัชญา
การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการทางานการเพิ่มทักษะและความรู้ที่จาเป็นต่อการ
ทางาน เช่น การเรียนรู้การสื่อสาร ภาษา เทคโนโลยีและ การศึกษา การฝึกทักษะอาชีพใหม่ ๆ ความรู้ใหม่ที่
สัมพันธ์กับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการศึกษาที่เกี่ยวกับด้านอุดมศึกษา เพื่อให้ได้คุณวุฒิในสาขาที่ศึกษา
3.2 จุดมุ่งหมายและความจาเป็นในการจัดการเรียนการสอน
เน้นการปฏิบัติในสาขาวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ การเรียนการสอนมุ่งเน้น
การฝึกอบรม และการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติโดยได้รับการสนับสนุนจากสมาคมวิชาชีพที่เกี่ยวข้องตาม
ระเบียบของรัฐบาลกลาง โดยมุ่งเน้นงานด้านการฝึกหัดครู การศึกษาต่อเนื่อง การวิจัยและพัฒนาประยุกต์การ
ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีและการบริการ
3.3 โครงสร้างขององค์กร
1) มหาวิทยาลัยและสถาบันเทคโนโลยี โดยทั่วไปการศึกษาในระดับ
Lizentiate ใช้เวลาเรียน 8 ภาคเรียน และการทาวิทยานิพนธ์อีก 1 ภาคเรียน ส่วนเขตภาษาเยอรมันจะใช้เวลา
เรียนนานกว่าในเขตอื่นๆ
2) มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์ โดยทั่วไปหลักสูตรปกติจะใช้เวลาเรียน
3 ปี ถ้าหารทางานด้วยจะใช้เวลา 4 ชั่วโมง การสอนอยู่ระหว่าง 3,000 – 4,000 ชั่วโมง โดยสอนปีละ 1,000-
2,000 ชั่วโมง การเรียนการสอนทาเป็นโมดูล และทาการเปิดสอนหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องต่อการระดับ
ประกาศนียบัตรสาหรับผู้มีงานทาแล้ว โดยการฝึกอบรมใช้เวลาตั้งแต่ 2 สัปดาห์ จนถึง 2 ปี
3) วิทยาลัยเทคนิคชั้นสูง ใช้เวลาเรียน 2 ปีประมาณ 2,000 ชั่วโมง หรือ
หลักสูตรการเรียนแบบบางเวลาใช้เวลา 3 ปี ประมาณ 1,500 ชั่วโมงขึ้นไป ถ้าเรียนพร้อมกับทางานไปด้วย
หลักสูตรการเรียนจะเป็นการเรียนภาคทฤษฎี 1 ภาคเรียน และภาคปฏิบัติ 2 ภาคเรียน สลับกันไป และมีการเรียน
โดยใช้ E-Learning
3.4 การบริหารจัดการ
1) มหาวิทยาลัยและสถาบันเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอยู่ในกากับของ
หน่วยงานการศึกษาของเขต ส่วนสถาบันเทคโนโลยีอยู่ในกากับของรัฐบาล โดยมหาวิทยาลัยของเขตมี 10 แห่ง
และสถาบันเทคโนโลยีของรัฐ 2 แห่ง
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ

More Related Content

What's hot

เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อยวิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
MeAw N'Fah
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมPom Pom Insri
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Pitsiri Lumphaopun
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
kanwan0429
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
Proud N. Boonrak
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
Kobwit Piriyawat
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
guest68e3471
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
CUPress
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Beeby Bicky
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางNampeung Kero
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 

What's hot (18)

co-op
co-opco-op
co-op
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อยวิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
learnning
learnninglearnning
learnning
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 

Similar to การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ

ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
Twatchai Tangutairuang
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
Wijitta DevilTeacher
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
Twatchai Tangutairuang
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
Tawatchai Bunchuay
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01krukrajeab
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานcartoon656
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานcartoon656
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
Weerachat Martluplao
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2bbeammaebb
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานสุชาติ องค์มิ้น
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานnichaphat22
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2H'am Hirunphurk
 

Similar to การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ (20)

ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
2.2
2.22.2
2.2
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 

More from MissAey Chantarungsri

อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการMissAey Chantarungsri
 
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)MissAey Chantarungsri
 
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสี
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสีการตัดสินใจลงทุน ฉบับสี
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสีMissAey Chantarungsri
 
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)MissAey Chantarungsri
 
สินค้าคงคลัง
สินค้าคงคลังสินค้าคงคลัง
สินค้าคงคลังMissAey Chantarungsri
 
ค่าเงินและดอกเบี้ย
ค่าเงินและดอกเบี้ยค่าเงินและดอกเบี้ย
ค่าเงินและดอกเบี้ยMissAey Chantarungsri
 

More from MissAey Chantarungsri (8)

อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
 
Paper malay19รวม
Paper malay19รวมPaper malay19รวม
Paper malay19รวม
 
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
 
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสี
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสีการตัดสินใจลงทุน ฉบับสี
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสี
 
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
 
สินค้าคงคลัง
สินค้าคงคลังสินค้าคงคลัง
สินค้าคงคลัง
 
ค่าเงินและดอกเบี้ย
ค่าเงินและดอกเบี้ยค่าเงินและดอกเบี้ย
ค่าเงินและดอกเบี้ย
 
Time value of money tables
Time value of money tablesTime value of money tables
Time value of money tables
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ

  • 1. 1 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1.1 แนวคิด และทฤษฎีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ 2.1.2 หลักการและแนวคิดต่างๆ เกี่ยวกับการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน หรือ WIL (Work-integrated Leaning) 1) หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน หรือ WIL (Work-integrated Leaning) 2) รูปแบบการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน หรือ WIL (Work- integrated Leaning) 2.1.3 ข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันสมาชิกเครือข่ายพัฒนาสหกิจศึกษาภาคใต้ตอนบน 2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.3 กรอบแนวคิดในการวิจัย 2.1แนวคิด และทฤษฎีจากเอกสารและตาราที่เกี่ยวข้อง 2.1.1 แนวคิด และทฤษฎีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ความหมายการเรียนการสอนแบบบูรณาการ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมายของคาว่า บูรณาการไว้ว่า เป็นการนาหน่วยที่แยกๆ กัน มารวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525, อ้าง ถึงใน ฉัตรรุ่ง เงินอ้น, 2553:23) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ให้ความหมายไว้ว่า บูรณาการ (integration) ความหมายโดยคาศัพท์หมายถึง การทาให้เต็มหรือสมบูรณ์ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2547:3, อ้างถึงใน ฉัตรรุ่ง เงินอ้น, 2553:23) กระทรวงศึกษาธิการ (2546:19) อ้างถึงใน พระเทพเวที, 2531:24) ได้ให้ความหมายไว้ ว่า การบูรณาการ หมายถึงการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงศาสตร์สาขาต่างๆ ที่สัมพันธ์เกี่ยวข้องกันมาผสมผสานเข้า ด้วยกัน เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ที่มีความหมาย มีความหลากหลายและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน สานักงานประสานงานโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (2540:6) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การสอนแบบบูรณาการ หมายถึงการเชื่อมโยงวิชาหนึ่งเข้ากับวิชาอื่นๆ ในการสอน เช่น การเชื่อมโยงวิชา
  • 2. 2 วิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์และภาษาไทย การเชื่อมโยงวิชาวิทยาศาตร์กับสังคมศึกษา การเชื่อมโยงวิชาศิลปะ กับภาษาไทย เป็นต้น โศภนา บุณยะกลัมพ (2546:8) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การสอนแบบบูรณาการ หมายถึงการสอนซึ่งนาเอาสาระการเรียนรู้ต่างๆ เข้ามาผสมผสานกันเพื่อประโยชน์แก่ผู้เรียน โดยใช้สาระการ เรียนรู้ใดสาระการเรียนรู้หนึ่งเป็นแกนหลักแล้วขยายวงกว้างขวางออกไป เพื่อให้การเรียนรู้ของผู้เรียนเกิดความ สมบูรณ์ในตัวของเขาเอง นิรมล ศตวุฒิ (2547:74) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การสอนแบบบูรณาการ หมายถึงการ จัดให้ผู้เรียนเรียนรู้ในลักษณะองค์รวม (Holistic Way) ระหว่างวิชาต่างๆ อย่างมีความหมายตามสภาพความ เป็นจริงในชีวิตหรือสภาพปัญหาสังคมที่ซับซ้อน ชนาธิป พรกุล ได้ให้ความหมายของบูรณาการว่า “ การเชื่อมโยงความรู้และ ประสบการณ์ทุกชนิด ที่บรรจุอยู่ในแผนของหลักสูตร เป็นการเชื่อมโยงแนวนอนระหว่างหัวข้อและเนื้อหาต่างๆที่ เป็นความรู้ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัย การบูรณาการทาให้ผู้เรียนได้รับความรู้เป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน และรู้ในเรื่องนั้นอย่างลึกซึ้ง การบูรณาการความรู้เป็นสิ่งจาเป็นโดยเฉพาะในยุคที่มีความรู้ ข้อมูลข่าวสารมาก จึงเกิดเป็นหลักสูตรที่เรียกว่า หลักสูตรบูรณาการ (Integrated curricula) ซึ่งพยายาม สร้างหัวเรื่อง (Themes) ใน โปรแกรมวิชาโดยนาความคิดหลักในวิชามาสัมพันธ์กัน และสัมพันธ์กับวิชาอื่น ด้วย” จากที่กล่าวมาพอสรุปความหมาย การสอนแบบบูรณาการได้ว่า เป็นการเชื่อมโยงวิชา หนึ่งเข้ากับวิชาอื่นๆ ในการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้ที่หลากหลาย และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจาวัน ความสาคัญของการเรียนรู้แบบบูรณาการ อนุบาลบางคนที [มปป., Online] ได้กล่าวถึงความสาคัญของการเรียนรูแบบบูรณาการ ไว้ ดังนี้ 1) เป็นการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสภาพจริงตามธรรมชาติ เพราะสิ่งต่างๆ ตามธรรมชาติ ทั้งชีวิตและสิ่งแวดล้อมล้วนเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน หรือเชื่อมโยงอาศัยซึ่งกันและกัน มิได้เป็นไปอย่างโดดเดี่ยวไม่ เกี่ยวข้องกับสิ่งอื่น ดังคากล่าวที่ว่า " เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว " 2) ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ลักษณะรอบรู้ มีความรู้หลายด้านเชื่อมโยงกันเป็นองค์รวม ความรู้ ประสบการณ์ไม่คับแคบ 3) ความรู้ที่ได้รับมีความหมายต่อชีวิตและสะดวกต่อการนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง เพราะได้เรียนรู้สิ่งที่สอดคล้องกับสภาพจริง ได้เรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม มีความรอบรู้เรื่องนั้นๆ ซึ่งเมื่อจะใช้หรือ แก้ปัญหาในชีวิตจริงจะต้องใช้ความรอบรู้ ความรู้ที่ได้เรียนอย่างบูรณาการกับสิ่งที่ต้องการใช้ในชีวิตจริงจึง สอดคล้องกัน สะดวกต่อการใช้งาน 4) สามารถช่วยลดความซ้าซ้อนของเนื้อหา ประหยัดเวลาการเรียนรู้ และช่วยลดภาระ การสอนได้
  • 3. 3 5) ส่งเสริมการเรียนรู้ที่หลากหลาย คิดวิเคราะห์เชื่อมโยงได้ และช่วยการพัฒนา ความคิดสร้างสรรค์ ประเภทของการบูรณาการ อนุบาลบางคนที [มปป., Online] ได้กล่าวถึงประเภทของการบูรณาการ ไว้ดังนี้ 1) แบ่งโดยพิจารณาจากการเชื่อมโยงจุดประสงค์ หรือมาตรฐานการเรียนรู้ หรือสาระการ เรียนรู้ ดังนี้ 1.1) บูรณาการแบบสอดแทรก เป็นลักษณะการสอนปกติทั่วไปที่บางช่วงได้นาเนื้อหา สาระอื่นมาสอดแทรกเช่นการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม เรื่องความซื่อสัตย์ในขณะสอนเรื่องกติกาการเล่น ฟุตบอล โดยการเตรียมการสอน ผู้สอนมิได้ดาเนินการละเอียดถึงขั้นวิเคราะห์หลักสูตร แต่พิจารณาว่าเรื่องใดพอใจ ที่จะแทรกเชื่อมโยงกันได้และนักเรียนจะได้รับประโยชน์มากขึ้นก็จัดสอดแทรก 1.2) บูรณาการภายในวิชาหรือกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน เป็นการนาจุดประสงค์ หรือมาตรฐานการเรียนรู้และหรือสาระการเรียนรู้ หัวเรื่องหรือประเด็นสาระต่างๆ ที่มีในวิชานั้นๆ มาบูรณาการกัน โดยผู้สอนมีการดาเนินการวิเคราะห์กาหนดรายละเอียดการบูรณาการชัดเจน เช่น ในวิชาวิทยาศาสตร์นาสาระย่อย เรื่องสสาร แรง พลังงานเซลล์ไฟฟ้า และวงจรไฟฟ้า เป็นต้น มาบูรณาการสอนในหัวเรื่อง " กังหันมหัศจรรย์ " หรือ วิชาภาษาไทย นาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน มาบูรณาการสอนในหัวเรื่อง " บ้านแสนสุข " เป็นต้น 1.3) บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือสหวิทยาการ เป็นการนาจุดประสงค์ หรือมาตรฐานการเรียนรู้และหรือสาระการเรียนรู้ต่างๆ ตั้งแต่ 2 วิชา หรือกลุ่มสาระ มาบูรณาการกัน โดยผู้สอนมี การดาเนินการวิเคราะห์ กาหนดรายละเอียดการบูรณาการของแต่ละวิชาอย่างชัดเจน 1.4) บูรณาการกับวิถีชีวิต เป็นการกาหนดหัวเรื่อง เนื้อหาสาระและวิธีการเรียนรู้หรือ กิจกรรมต่างๆ ที่ยึดหรือให้สอดคล้องกับการดาเนินชีวิตประจาวันเป็นหลักก่อน แล้วจึงวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่ เกิด เทียบโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้หรือผลการเรียนรู้ที่คาดหวังหรือสาระที่หลักสูตรกาหนด ตัวอย่างเช่น ครู ร่วมกับนักเรียน ร่วมกันกาหนดจุดประสงค์ สาระและกิจกรรมการเรียนรู้หรือกาหนดแผนการเรียนรู้ที่เป็นเรื่องราว ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน เช่น หัวเรื่อง " คนรุ่นใหม่กับการพัฒนาชุมชน " ซึ่งเป็นเรื่องราวการพัฒนาหรือแก้ไข ปัญหาในการดารงชีวิตในชุมชน เป็นต้น แล้วดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ที่กาหนดนั้นจนเสร็จสิ้น โดยครูมีบทบาทใน การวิเคราะห์ผลการเรียนที่เกิดขึ้นนั้นว่าบรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง หรือมาตรฐานการเรียนรู้ใดที่หลักสูตร กาหนดไว้บ้างเพื่อใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรต่อไป 2) แบ่งโดยพิจารณาจากกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนี้ 2.1) บูรณาการลักษณะสอดแทรกกิจกรรมต่างๆ โดยครูสอนวิชาใดวิชาหนึ่งตามปกติ แล้วสอดแทรกกิจกรรมหรือเชื่อมโยงสาระวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กับการสอนนั้นๆ มาร่วมสอน เช่น ขณะ สอนห้องเรียนขาดความสงบครูก็ชวนให้นักเรียนนั่งสมาธิ และกล่าวถึงประโยชน์ ของสมาธิพร้อมกันไปด้วย เป็น ต้น 2.2) บูรณาการโดยใช้กิจกรรมโครงงาน เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่บูรณาการการ เรียนรู้ โดยใช้กิจกรรมการทาโครงงานเป็นหลัก หรือใช้ประกอบในการเรียนรู้เรื่องนั้นๆ ด้วยการทาโครงงาน โดย ปกติจะต้องใช้ความรู้และความสามารถลักษณะบูรณาการอยู่แล้วโครงงานจึงสาเร็จได้ การเรียนรู้โดยการทา โครงงานจึงสะท้อนการเรียนรู้ลักษณะบูรณาการได้เป็นอย่างดี
  • 4. 4 2.3) บูรณาการโดยใช้กิจกรรมแก้ปัญหา เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่บูรณาการ การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการแก้ปัญหาเป็นหลักในการเรียนรู้ซึ่งจะมีลักษณะคล้ายกิจกรรมการทาโครงงานทั้งนี้ เพราะการเรียนรู้จากกิจกรรมการแก้ปัญหาสามารถสะท้อนการเรียนรู้ลักษณะบูรณาการได้เป็นอย่างดีเพราะ ธรรมชาติการแก้ปัญหามิได้ใช้ความรู้ความสามารถอย่างเดียวแต่ใช้อย่างบูรณาการ รูปแบบของการบูรณาการ (Models of Integration) รูปแบบของการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการมี 4 รูปแบบ คือ (ยาเบ็น เรืองจรูญ ศรี, มปป.,[Online]) 1) การสอนบูรณาการแบบสอดแทรก (Infusion Instruction) การสอนรูปแบบนี้ครูผู้สอนในวิชาหนึ่งสอดแทรกเนื้อหาของวิชาอื่น ๆ เข้าไปในการ สอนของตน เป็นการวางแผนการสอนและสอนโดยครูเพียงคนเดียว 2) การสอนบูรณาการแบบขนาน (Parallel Instruction) การสอนตามรูปแบบนี้ ครูตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปสอนต่างวิชากัน ต่างคนต่างสอนแต่ต้อง วางแผนการสอนร่วมกันโดยมุ่งสอนหัวเรื่อง/ความคิดรวบยอด/ปัญหาเดียวกัน (Theme / concept / problem) ระบุสิ่งที่ร่วมกันและตัดสินในร่วมกันว่าจะสอนหัวเรื่อง/ความคิดรวบยอด/ปัญหานั้นๆ อย่างไรในวิชาของแต่ละคน งานหรือการบ้านที่มอบหมายให้นักเรียนทาจะแตกต่างกันไปในแต่ละวิชา แต่ทั้งหมดจะต้องมีหัวเรื่อง/ความคิด รวบยอด/ปัญหาร่วมกัน 3) การสอนบูรณาการแบบสหวิทยาการ (Multidisciplinary Instruction) การสอนตามรูปแบบนี้คล้าย ๆ กับการสอนบูรณาการแบบขนาน (Parallel Instruction) กล่าวคือครูตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปสอนต่างวิชากัน มุ่งสอนหัวเรื่อง ความคิดรวบยอด/ปัญหาเดียวกัน ต่างคนต่างแยกกันสอนเป็นส่วนใหญ่ แต่มีการมอบหมายงาน หรือโครงการ (Project) ร่วมกัน ซึ่งจะช่วย เชื่อมโยงสาขาวิชาต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ครูทุกคนจะต้องวางแผนร่วมกันเพื่อที่จะระบุว่าจะสอนหัวเรื่อง/ความคิด รวบยอด/ปัญหานั้น ๆ ในแต่ละวิชาอย่างไร และวางแผนสร้างโครงการร่วมกัน(หรือกาหนดงานจะมอบหมายให้ นักเรียนทาร่วมกัน) และกาหนดว่าจะแบ่งโครงการนั้นออกเป็นโครงการย่อย ๆ ให้นักเรียนปฏิบัติแต่ละรายวิชา อย่างไร อนึ่ง พึงเข้าใจว่าคาว่า “โครงการ” นี้มีความหมายเดียวกันกับคาว่า “โครงงาน” มาจากภาษาอังกฤษคาเดียวกันคือ “Project” หลายท่านอาจคุ้นกับคาว่า โครงงาน มากกว่า เช่น “โครงงาน วิทยาศาสตร์” ซึ่งก็อาจเรียกว่า “โครงการวิทยาศาสตร์” ได้เช่นเดียวกัน 4) การสอนบูรณาการแบบข้ามวิชาหรือเป็นคณะ (Transdisciplinary Instrction) การสอนตามรูปแบบนี้ครูที่สอนวิชาต่าง ๆ จะร่วมกันสอนเป็นคณะหรือเป็นทีม ร่วมกันวางแผน ปรึกษาหารือ และกาหนดหัวเรื่อง/ความคิดรวบยอด/ปัญหาร่วมกัน แล้วร่วมกันดาเนินการสอน นักเรียนกลุ่มเดียวกัน
  • 5. 5 2.1.2 หลักการและแนวคิดต่างๆ เกี่ยวกับการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน หรือ WIL (Work-integrated Leaning) 1) หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน หรือ WIL (Work-integrated Leaning) หลักการแนวคิด/ปรัชญาของ WiL ในประเทศไทย เป็นการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการ กับการทางาน หรือ WIL เป็นกรณีหนึ่งของการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ ที่ช่วยให้นักศึกษามีโอกาสในการประยุกต์ ความรู้ ทักษะการทางาน และทักษะเฉพาะที่สัมพันธ์กับวิชาชีพ ได้รู้จักชีวิตการทางานที่แท้จริงก่อนสาเร็จ การศึกษาปลาย (ปานเพชร ชินินทร และคนอื่นๆ, 2552, บทคัดย่อ) การศึกษาเชิงบูรณาการกับการทางาน หรือ WiL เป็นการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ที่ช่วย ให้นักศึกษามีโอกาสในการประยุกต์ความรู้ทักษะการทางาน และทักษะเฉพาะที่สัมพันธ์กับวิชาชีพ ได้รู้จักชีวิตการ ทางานที่แท้จริงก่อนสาเร็จการศึกษา จุดมุ่งหมายการพัฒนาด้วยการเรียนการสอนแบบ WiL ก็คือ สถาบันการศึกษาได้มีการเชื่อมโยงโลกการศึกษากับภาคธุรกิจอุตสาหกรรมเข้าด้วยกัน ทาให้ประเทศมีทรัพยากร มนุษย์ที่มีสมรรถนะสูงสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติได้ จุดมุ่งหมายการพัฒนาคือสถาบันการศึกษาได้มีการ เชื่อมโยงโลกการศึกษากับภาคธุรกิจอุตสาหกรรมเขนาด้วยกัน ทาให้ประเทศมีทรัพยากรมนุษย์ที่มีสมรรถนะสูง สามารถแข่งขันในระดับนานาชาติได้ ซึ่งโครงสร้างความร่วมมือ ประกอบด้วย สถานศึกษา สถานประกอบการ องค์กรวิชาชีพ นอกจากนี้ สถานประกอบการและสถาบันอุดมศึกษายังได้รับประโยชน์ในเชิงความร่วมมือและการ พัฒนาปรับปรุงงานและหลักสูตร (ปานเพชร ชินินทร และวิเชษฐ์ พลายมาศ, 2552) WiL เป็นการจัดการศึกษาที่เน้นการฝึกปฏิบัติเพื่อให้ประกอบอาชีพได้จริง ดังนั้น ต้อง หาความต้องการความจาเป็นในหลักสูตรรายวิชาที่จะมีการเรียนรู้ร่วมกับการทางาน ในการจัดการศึกษา 9 รูปแบบ โดยต้องมีการบูรณาการวิชาต่างๆ ในลักษณะของการเข้าไปทางานจริงในสถาน ประกอบการให้ตรงตาม สาขาอาชีพที่เรียน (มหาวิทยาลัยธัญบุรี และคนอื่นๆ, 2553:3) แนวคิดเกี่ยวกับ WiL ในประเทศสหรัฐเมริกานั้น กล่าวได้ว่าเป็นการสร้างมาตรฐาน ทักษะและมาตรฐานอาชีพระดับชาติสู่ระดับสากล เพื่อให้แรงงานของชาติได้มาตรฐาน ถือเป็นยุทธศาสตร์ที่สร้าง ความสาเร็จแก่การพัฒนาการศึกษาอย่างยิ่ง (ปานเพชร ชินินทร และคนอื่นๆ, 2552, บทคัดย่อ) สานักเลขาธิการสภาการศึกษา (2553:14) อธิบายไว้ว่า WiL เป็นระบบการศึกษาที่ เน้นการบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน โดยการร่วมมือกันทั้ง 3 ฝ่าย คือ สถานศึกษา สถานประกอบการ และ สมาคมวิชาชีพ เพื่อให้บัณฑิตที่ขบสามารถประกอบอาชีพจริงได้ และก่อให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจกับประเทศ สาธารณรัฐฟินแลนด์ มีแนวคิดเกี่ยวกับ WiL ไว้ว่า WiL มีหลักการและแนวคิดคือเพื่อ เพิ่มความรู้ทักษะ และความเชี่ยวชาญสาหรับผู้ศึกษาในระดับปริญญา รวมถึงการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน ของการเรียนวิชาชีพภายหลังที่สาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ปานเพชร ชินินทร และคนอื่นๆ, 2552, บทคัดย่อ) สมาพันธรัฐสวิส มีแนวคิดเกี่ยวกับ WiL ว่าเป็นการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการทางานการ เพิ่มทักษะและความรู้ที่จาเป็นต่อการทางาน เช่น การเรียนรู้การสื่อสารภาษา เทคโนโลยีและ การศึกษาการฝึก ทักษะอาชีพใหม่ ๆ ความรู้ใหม่ที่สัมพันธ์กับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการศึกษาที่เกี่ยวกับด้านอุดมศึกษา เพื่อให้ได้คุณวุฒิในสาขาที่ศึกษา (ปานเพชร ชินินทร และคนอื่นๆ, 2552, บทคัดย่อ)
  • 6. 6 สาธารณรัฐเกาหลี มีแนวคิดและหลักการเกี่ยวกับ WiL ว่าเป็นการศึกษาตลอดชีวิตและ ลักษณะการจัดการศึกษาต่อเนื่องการจัดการศึกษาตั้งแต่อนุบาลถึงระดับอุดมศึกษาในระบบปิดทั้งยังจัดการศึกษา ตอบสนองความต้องการผู้ที่ทางานแล้วแต่ต้องการเรียนเสริมความรู้หรือเรียนรู้เพื่อเปลี่ยนอาชีพให้มีโอกาสการ เรียนเท่าเทียมระบบโรงเรียนโดยทั่วไป (ปานเพชร ชินินทร และคนอื่นๆ, 2552, บทคัดย่อ) Penelop Engel-Hills and other (พีนโลพ แองเจิล ฮิล และคนอื่นๆ, 2010:1) ได้ อธิบายว่า WiL เป็นการจัดการเรียนการสอนเพื่อการประกอบอาชีพที่รวมถึงการเรียนรู้ทฤษฎีและเทคนิคที่ เหมาะสมเพื่อการประกอบอาชีพ การเรียนรู้ที่จะเป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพ การเรียนรู้เพื่อสามารถแก้ไขปัญหา (Problem-Based Learning : PBL) การศึกษาเรียนรู้โครงการอย่างลึกซึ้งในชั้นเรียนและมีการประเมิน ความสามารถจากการศึกษาที่ได้ (Project Based Learning : PLBL) ทั้งนี้ไม่รวมถึงการเรียนรู้จากประสบการณ์ เพื่อสามารถแก้ไขปัญหา และการเรียนรู้และปฏิบัติจริงในสถานประกอบการ (Workplace Learning : WPL) Queensland University of Technology [Online] ได้อธิบายว่า WiL เป็นหลักสูตร การเรียนการสอนแก่นักศึกษาโดยที่เข้าไปมีส่วนร่วมกับภาคอุตสาหกรรม และชุมชนต่างๆ โดยผ่านการทากิจกรรม และประสบการณ์จริง ตามแผนที่ถูกกาหนดไว้แล้ว และรวมถึงการประเมินผล ทั้งนี้การทากิจกรรมต่างของ นักศึกษาจะสร้างโอกาสต่างๆ ดังนี้ 1. เพื่อพัฒนาและบูรณาการความรู้ ทักษะ การสามารถในการจัดการ ปัญหาในชีวิต จริง 2. เพื่อสร้างประสบการณ์ตรง และวัฒนธรรมองค์กร และการปฏิบัติต่างๆ ในสาย อาชีพ และของหน่วยงาน 3. เพื่อสร้างทางเลือกด้านอาชีพ และแสดงให้เห็นถึงลักษณะความเป็นมืออาชีพผ่าน กระบวนการฝึก Griffith University [Online] ได้อธิบายว่า WiL เป็นรูปแบบระบบการจัดการเรียน การสอน ซึ่งเป็นระดับปริญญาตรีเป็นส่วนใหญ่และมีบางโปรแกรมสาหรับบัณฑิตวิทยาลัย ทั้งนี้การจัดการศึกษา ลักษณะ WiL จะ การศึกษาเน้นในทางปฏิบัติ สร้างประสบการณ์จากสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตการทางาน มิติ การศึกษาที่เน้นในทางปฏิบัติ เป็นหัวใจสาคัญที่จะเพิ่มทักษะที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้ผ่านการเรียนการสอน ในเรื่อง ขององค์ความรู้เพื่อการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการโดยอาจารย์ผู้ชานาญ คณะทางานด้าน WiL ประเทศไทย (2552:4) ได้อธิบายว่า การสอนแบบ WiL ก็คือ สถาบันการศึกษาได้มีการเชื่อมโยงโลกการศึกษากับภาคธุรกิจอุตสาหกรรมเข้าด้วยกันทาให้ประเทศมีทรัพยากร มนุษย์ที่มีสมรรถนะสูงสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติได้จุดมุ่งหมายการพัฒนาคือสถาบันการศึกษาได้มีการ เชื่อมโยงโลกการศึกษากับภาคธุรกิจอุตสาหกรรมเข้าด้วยกันทาให้ประเทศมีทรัพยากรมนุษย์ที่มีสมรรถนะสูง สามารถแข่งขันในระดับนานาชาติได้ ซึ่งโครงสร้างความร่วมมือ ประกอบด้วย สถานศึกษา สถานประกอบการ องค์กรวิชาชีพ นอกจากนี้ สถานประกอบการและสถาบันอุดมศึกษายังได้รับประโยชน์ในเชิงความร่วมมือและการ พัฒนาปรับปรุงงานและหลักสูตร
  • 7. 7 2) รูปแบบการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน หรือ WIL (Work- integrated Leaning) จากการศึกษาของคณะทางานด้าน WiL ประเทศไทย (2552:4) จากทั่วโลก พบว่ามี 9 รูปแบบ ดังต่อไปนี้ ปรากฏตามตารางที่ 2.1 ตารางที่ 2.1 รูปแบบการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน หรือ WIL (Work-integrated Leaning) รูปแบบ ลักษณะเฉพาะ ตัวอย่าง 1. การกาหนดประสบการณ์ก่อน การศึกษา (Pre-course Experience) หมายถึง การกาหนดประสบการณ์ใน การทางานเป็นคุณสมบัติเฉพาะของ นักศึกษาก่อนเข้ารับการศึกษา (Pre- requisite) การกาหนดประสบการณ์ทางานใน ฟาร์มก่อนเข้าศึกษาเกษตรศาสตร์ 2. การเรียนสลับกับการทางาน (Sandwich Course) กาหนดระยะเวลาทางานในระหว่างปี ที่ศึกษา โดยทั่วไปอาจกาหนดให้ ทางาน 4 เดือน หรือทางาน 3 เดือน สลับกับการเรียนในสถาบัน อุดมศึกษา จนกว่าจะสาเร็จการศึกษา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้าพระนครเหนือ 3. สหกิจศึกษา (Cooperative Education) กาหนดระยะเวลาทางานไว้ชัดเจนใน หลักสูตร เน้นการบูรณาการทฤษฏี และการปฏิบัติเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการจ้างงานของ บัณฑิต หลักสูตรต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี และ มหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน 4. การฝึกงานที่เน้นการเรียนรู้หรือ การติดตามพฤติกรรมการทางาน (Cognitive Apprenticeship or Job Shadowing) มุ่งเน้นการสังเกตพฤติกรรมและการ ซึม-ซับวัฒนธรรมองค์กรขององค์กร ผู้ใช้บัณฑิต หลักสูตรต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี และ มหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน 5. หลักสูตรร่วมมหาวิทยาลัยและ อุตสาหกรรม (Joint Industry University Course) หลักสูตรที่ร่วมพัฒนาและ อุดหนุน งบประมาณโดยองค์กรผู้ใช้บัณฑิต รวมทั้งการใช้บุคลากร และอุปกรณ์ ขององค์กรผู้ใช้บัณฑิต หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ บริหารธุรกิจ และอื่น ๆ
  • 8. 8 ตารางที่ 2.1 (ต่อ) รูปแบบ ลักษณะเฉพาะ ตัวอย่าง 6. พนักงานฝึกหัดใหม่หรือพนักงาน ฝึกงาน (New Traineeship or Apprenticeship) การฝึกงานที่มีการจัดระบบการ เตรียมการและการฝึกงานในสถานที่ หรือนอกสถานที่ ที่มีโครงสร้างการ ดาเนินงานชัดเจน สัตวแพทยศาสตร์ เกษตรศาสตร์ 7. การบรรจุให้ทางาน หรือการฝึก เฉพาะตาแหน่ง (Placement or Practicum) การพัฒนาทักษะหรือประสบการณ์ที่ จาเป็นในอนาคต โดยจัดเวลาการฝึก ปฏิบัติงานเพิ่มเติมในสถานการณ์จริง แพทย์ พยาบาล ครู 8. ปฏิบัติงานภาคสนาม (Fieldwork) การสารวจหรือการสังเกตการทางาน ในสถานที่จริงในระยะสั้น สังคมสงเคราะห์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ 9. การฝึกปฏิบัติจริงภายหลังสาเร็จ การเรียนทฤษฎี (Post-course Internship) การเสริมสร้างประสบการณ์ในการ ปฏิบัติงานภายหลังสาเร็จการศึกษา ภาคทฤษฎี แพทย์ ทนายความ รูปแบบ WiL ในประเทศไทย สานักเลขาธิการสภาการศึกษา (2553:108-115), ปานเพชร ชินินทร และคนอื่นๆ (2552:17) ได้อธิบายเกี่ยวกับรูปแบบ WiL ในประเทศไทยประกอบไปด้วย 4 ระบบ ได้แก่ ระบบทวิภาคี (DVT) ระบบการฝึกงาน (Apprentice) ระบบสหกิจศึกษา (Cooperative) และระบบการฝึกหัด (Internship) โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ ระบบทวิภาคี (Dual Vocational Training : DVT) 1. หลักการแนวคิด การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นภาคทฤษฎีในสถานศึกษาและการฝึกอบรม ภาคปฏิบัติในสถานประกอบการ ผู้เรียนจะได้รับความรู้ควบคู่ไปกับประสบการณ์การทางาน จนเกิดความ เชี่ยวชาญทางวิชาชีพเฉพาะด้านในระดับที่กาหนด 2. จุดมุ่งหมาย 2.1 เพื่อจัดเตรียมกาลังคนทางด้านอาชีวศึกษาเข้าสู่ตลาดแรงงาน 2.2 เพื่อผลิตช่างฝีมือผู้มีความชานาญงานเพียงพอทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ 2.3 เพื่อผลิตกาลังคนที่ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ 2.4 เพื่อจัดการสร้างระบบการจัดการศึกษาวิชาชีพระบบนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นการให้ โอกาสในการศึกษาวิชาชีพแก่เยาวชนที่สาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2.5 เพื่อเปิดโอกาสให้บุคคลในวัยเรียนและวัยทางานพัฒนาตนเองทางด้าน วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
  • 9. 9 2.6 เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมสาหรับสถานศึกษาในการเข้าสู่ระบบการ ปฏิรูปทางการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 2.7 เพื่อเป็นการลดปัญหาในเรื่องงบประมาณในการจัดการศึกษาทางด้าน อาชีวศึกษา 2.8 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้การปฏิบัติโดยแท้จริงและมีเนื้อหาที่ทันต่อ เทคโนโลยี 2.9 เพื่อส่งเสริมให้มีการประกอบอาชีพ การจ้างงาน และอาชีพอิสระ 3. ระบบการจัดการ การจัดการศึกษาระบบทวิภาคี มี 2 หลักสูตร คือ ในระดับประกาศนียบัตร (ปวช.) ใช้เวลาเรียน 3 ปี หลักจากจบในระดับมัธยมต้น และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ใช้เวลา เรียน 2 ปี หลักจากจบในระดับ ปวช. หรือมัธยมศึกษาตอนปลาย 4. รูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทางาน 4.1 สถานศึกษาสอนวิชาพื้นฐาน วิชาชีพพื้นฐาน วิชาเลือกเสรี สัปดาห์ละ 1-2 วัน ตลอดหลักสูตร และสถานประกอบการการสอนวิชาชีพเฉพาะ วิชาชีพเลือก กิจกรรมและโครงงานหรือ โครงการวิชาชีพ สัปดาห์ละ 3-4 วัน ตลอดหลักสูตร หรือในรูปแบบที่เหมาะสมที่สถานประกอบการต้องการ 4.2 รายวิชาใดหากสถานประกอบการไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตาม หลักสูตรให้สถานศึกษาจัดสอนเพิ่มเติมให้จนครบหลักสูตร 5. หน่วยงานที่รับผิดชอบ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สถาบันอาชีวศึกษาเอกชน และสถาบัน การเรียนการสอนในรูปแบบอาชีวศึกษาที่จัดในระดับอุดมศึกษา 6. ปัจจัยและเงื่อนไขของความสาเร็จ 6.1 มีงบประมาณอุดหนุนเนื่องจากเป็นนโยบายของรัฐ และมีความชัดเจน 6.2 สถานประกอบการสามารถลดหย่อนภาษีได้ 6.3 สถานประกอบการสามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและประหยัดเวลาในการ ฝึกอบรมพนักงานใหม่ 6.4 การจัดการอาชีวะศึกษาระบบทวิภาคีก่อให้เกิดการรับรู้ของครูใน สถานศึกษา เพื่อตอบรับกับเทคโนโลยีใหม่ๆ และความต้องการของตลาดแรงงาน ในขณะเดียวกันก็กระตุ้นให้ สถานประกอบการพัฒนาครูฝึกประจาสถานประกอบการของตน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ และสิ่งอานวยความ สะดวกต่างๆ ระบบสหกิจศึกษา (Cooperative Education) 1. หลักการแนวคิด การจัดการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการอย่างมีระบบ โดย จัดให้มีการให้ความรู้และทักษะที่จาเป็นขณะข้าปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ นักศึกษามีสถานะเปรียบเสมือน พนักงานชั่วคราว ที่จะต้องลงมือปฏิบัติงานจริงในสาขาที่ตนเรียนมา โดยมีการประเมินอย่างเป็นระบบ รวมถึงการ นาเสนอรายงานจากประสบการณ์จริง
  • 10. 10 2. จุดมุ่งหมาย 2.1 เพื่อพัฒนาบัณฑิตทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศาสตร์ และ มนุษยศาสตร์ ให้มีคุณลักษณะและสมรรถนะที่ตรงตามความต้องการขององค์กรผู้ใช้บัณฑิต 2.2 เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาซึ่งเป็นภาคผู้ผลิตบัณฑิต ได้เชื่อมโยงสัมพันธ์กับ องค์กรผู้ใช้บัณฑิตและเกิดการบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การวิจัย และการ สร้างองค์ความรู้ใหม่ 2.3 เพื่อให้องค์กรผู้ใช้บัณฑิตได้รับประโยชน์จากโครงงานหรืองานที่นักศึกษา ปฏิบัติ อีกทั้งใช้ประโยชน์จากสหกิจศึกษาเป็นแนวทางหนึ่งในการสรรหา และพัฒนาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ 2.4 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 3. ระบบการจัดการ หลักสูตรในระดับปริญญาที่เสริมสร้างประสบการณ์อาชีพให้กับนักศึกษา โดยให้ นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานจริงเต็มเวลา ณ สถานประกอบการเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา หรือไม่ต่า กว่า 4 เดือน โดยงานที่ปฏิบัติจะต้องเป็นประโยชน์กับสถานประกอบการ 4. รูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทางาน มหาวิทยาลัยได้จัดระบบการศึกษา โดยภาคเรียนสหกิจศึกามีระยะเท่ากับ 1 ภาค เรียน คือ 16 สัปดาห์ หลักสูตรสหกิจศึกษามีลักษณะดังนี้ คือ 4.1) เป็นหลักสูตรโดยเป็นไปตามการเลือกแผนการเรียนของนักศึกษา 4.2) การจัดภาคเรียนสหกิจศึกาจะจัดไว้ในภาคปลายของปีที่ 3 และหรือภาคต้น และภาคปลายของปีที่ 4 4.3) ภาคเรียนสหกิจศึกษามีค่าอย่างน้อย 6 หน่วยกิต โดยแตกต่างกันไปในแต่ละ สาขาวิชา 4.4 กาหนดให้นักศึกษาสหกิจศึกษาจะต้องไปปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 ภาคเรียน โดยจะต้องมีระยะเวลาการปฏิบัติงาน ไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ 5. หน่วยงานที่รับผิดชอบ มหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชนที่สังกัดสานักงานคณะกรรมการ อุดมศึกษา 6. ปัจจัยและเงื่อนไขของความสาเร็จ 6.1 การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสหกิจศึกษา ได้แก่ การเผยแพร่ ความรู้ในสงกว้างแก่ภาคสังคมทั่วไป การอบรมเชิงปฏิบัติการสหกิจศึกษาแก่สถาบันอุดมศึกษา การส่งเสริมการ วิจัยที่เกี่ยวข้องกับสหกิจศึกษา และการส่งเสริมแนวปฏิบัติสหกิจศึกษาที่ดี (Good Practices) ให้กว้างขึ้น 6.2 การกาหนดมาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกาไทย ทั้งในส่วนของ สถาบันอุดมศึกษาและองค์ผู้ใช้บัณฑิต 6.3 การส่งเสริมและสนับสนุนสหกิจศึกษาไทย โดยใช้มาตรการต่างๆ เช่น การ แต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมพัฒนาสหกิจศึกษา มาตรการจูงใจในด้านภาษี การส่งเสริมการลงทุน ประกาศเกียรติ คุณและการกาหนดเป็นตัวชี้วัดของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาเป็นต้น
  • 11. 11 6.4 การส่งเสิรมและสนับสนุนสหกิจศึกษาในสาขาเฉพาะด้าน ระดับนานาชาติ เพื่อยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของสหกิจศึกษาไทย 6.5 การติดตามประเมินผล จัดให้มีการติดตามประเมินผลการดาเนินงานสหกิจ ศึกษาขององค์การต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบ ระบบฝึกงาน (Apprentice) 1. หลักการแนวคิด การเตรียมความพร้อมเข้าสู่อาชีพ เพื่อการเตรียมความพร้อมในการทางาน โดยที่ ผู้เรียนเข้าไปฝึกงานในสถานประกอบการในระยะเวลาสั้น 2. จุดมุ่งหมาย 2.1 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ เพิ่มทักษะ ประสบการณ์การทางาน การบริหาร จัดการ พัฒนาวิชาชีพตามสภาพการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ 2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบถึงสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในการปฏิบัติงาน ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.3 เพื่อให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีระเบียบวินัยสามารถทางาน ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.4 เพื่อให้นักศึกษามีเจตคติที่ดีต่อการทางาน มีความภาคภูมิใจในวิชาชีพ เกิด แรงจูงใจในการประกอบอาชีพต่อไปเมื่อสาเร็จการศึกษา 3. ระบบการจัดการ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงและหลักสูตรระดับปริญญา นักศึกษาทุก คนจะต้องฝึกงานในสถานประกอบการหรือแหล่งวิทยาการ และสามารถฝึกในสถานประกอบการ 1 แห่ง หรือ หลายแหล่งตามความเหมาะสม 4. รูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทางาน 4.1 การฝึกงานในสถานประกอบการ ให้สถานศึกษาพิจารณาร่วมกับสถาน ประกอบการ โดยการฝึกปฏิบัติงานต้องเป็นไปตามข้อกาหนดของหลักสูตร 4.2 การกาหนดภาคเรยีนสาหรับการฝึกงาน ควรจัดให้นักศึกษาได้ศึกษาอยู่ใน สถานศึกษาในภาคเรียนที 1 เพื่อเรียนรู้ในวิชาสามัญและวิชาพื้นฐานวิชาชีพที่จาเป็นก่อนเข้าฝึกงานในสถาน ประกอบการ และอยู่ในสถานศึกษาภาคเรียนสุดท้ายเพื่อเป็นการบูรณาการศาสตร์ที่เรียนรู้ทั้งหมดเข้าด้วยกันมา ปฏิบัติในวิชาโครงการและเรียนวิชาอื่นๆ ให้ครบตามโครงสร้างของหลักสูตร เพื่อเตรียมความพร้อมในการ ประกอบอาชีพ 5. หน่วยงานที่รับผิดชอบ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และวิทยาลัยชุมชน ฯลฯ 6. ปัจจัยและเงื่อนไขของความสาเร็จ 6.1 นักศึกษาได้เรียนรู้ประสบการณ์ตรงจากการฝึกงานจริง ทาให้มีความเข้าใจ ในลักษณะงานของสายอาชีพได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
  • 12. 12 6.2 การหาสถานประกอบการง่าย เนื่องจากสถานประกอบการเข้าใจลักษณะ การฝึกงาน 6.3 การฝึกงานในสถานประกอบการเน้นเฉพาะด้าน จึงทาให้นักศึกษาไม่เกิด ความสับสนในการฝึกปฏิบัติงาน 6.4 สถานประกอบการลดค่าใช้จ่ายในการจ้างแรงงาน จึงทาให้เปิดโอกาสให้ นักศึกษาเข้ารับการฝึกงานมากขึ้น ระบบการฝึกหัด (Internship) 1. หลักการแนวคิด การเตรียมความพร้อมในการผลิตบัณฑิต และเป็นกลไกสาคัญที่จะช่วยให้ผู้สาเร็จ การศึกษาได้รับการฝึกฝนเป็นระบบอย่างมีประสิทธิภาพภายใต้การดูแลจากผู้ที่รับผิดชอบจนมีความสามารถที่จะ ปฏิบัติงานได้จริง 2. จุดมุ่งหมาย 2.1 เพื่อผลิตบุคลากรในสาขาที่ขาดแคลนและจาเป็นต่อวิชาชีพเฉพาะด้าน เช่น แพทย์ ครู พยาบาล ตารวจ ทหาร นักบิน เป็นต้น 2.2 เพื่อให้บุคลากรที่มีความรู้ทางวิชาการเชี่ยวชาญทางวิชาชีพด้วยหลักสูตร และกระบวนการที่เน้นการปฏิบัติและการฝึกอบรมที่เข้มข้น 3. ระบบการจัดการ หลักสูตรในระดับปริญญา เน้นวิชาชีพเฉพาะทาง มีความเชี่ยวชาญในสาขาเฉพาะ ด้าน ระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 5 ปี 4. รูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทางาน 4.1 เน้นความสามารถในวิชาชีพ (Capability-Based Learning) คือ มีความรู้ ทางวิชาการเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และมีอุดมการณ์ในวิชาชีพ 4.2 เน้นการปฏิบัติจริง (Practical-Based Learning) ในสถานทางานที่จริง 4.3 จัดกระบวนการเรียนรู้โดยการแก้ปัญหาและกระบวนการวิจัย (Problem- Based Learning and Research-Based Learning) ได้แก่การฝึกแก้ปัญหาที่ดารงอยู่ในเรื่องการเรียนรู้ การ บริหารจัดการ และใช้กระบวนการวิจัย) 5. หน่วยงานที่รับผิดชอบ สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา และองค์กรวิชาชีพเฉพาะทาง 6. ปัจจัยและเงื่อนไขของความสาเร็จ 6.1 มีระบบการจัดการที่มีมาตรฐาน 6.2 ระบบนิเทศและติดตามผลมีเกณฑ์มาตรฐาน 6.3 มีองค์กรวิชาชีพสนับสนุน 6.4 นักศึกษามีใบประกอบวิชาชีพเมื่อสาเร็จการศึกษา 6.5 นักศึกษามีโอกาสทางานตามสาขาวิชาชีพที่เรียน
  • 13. 13 6.6 นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานในสถานที่ทางานจริงทาให้เรียนรู้ปัญหาและแก้ไข ปัญหาได้จริง ปรากฏตามแผนภาพที่ 2.1 ระบบ ปัจจัยนาเข้า กระบวนการ ผลที่ได้รับ 1. ได้ทักษะเฉาพะด้าน 2. ได้ฝึกปฏิบัติตาม สมรรถนะรายวิชา 1. ได้ทักษะการทางาน กับผู้อื่น 2. ได้เรียนรู้ชีวิตการ ทางาน 3. การฝึกปฏิบัติเพื่อ เปลี่ยนอาชีพ 1. ได้เรียนรู้ชีวิตการทางาน 2. ได้ฝึกปฏิบัติงานตาม ความรู้ในสาขาที่ตนเรียน 3. บูรณาความรู้สู่สถาน ประกอบการโดยการทา โครงการและการแก้ปัญหา งาน 4. มีรายงานหลังจากฝึก ปฏิบัติ 1. ได้ทางานจริงในวิชาชีพที่ เรียนการโดยตรง 2. บูรณาการความรู้โดยการ ฝึกปฏิบัติจริง 3. ได้กรณีศึกษาจากการ ทางานจริง 4. มีองค์กรวิชาชีพรับรอง 5. ได้สมรรถนะตามอาชีพ ฟ 1. เรียนทฤษฎีควบคู่กับ การฝึกปฏิบัติตามความ เหมาะสม โดย สถานศึกษาและสถาน ประกอบการต้องตกลง ร่วมกัน 2. การประเมินผลการ ฝึกปฏิบัติร่วมกัน ระหว่างสถานศึกษากับ สถานประกอบการ 1. การฝึกปฏิบัติงานใน สถานประกอบการ เป็นไปตามข้อกาหนด ของหลักสูตร 2. การประเมินผลการ ฝึกปฏิบัติร่วมกัน ระหว่างสถานศึกษากับ สถานประกอบการ 1. เรียนทฤษฎีก่อนและฝึก ปฏิบัติงานตามหลักสูตรที่ กาหนด 2. ระยะการฝึกปฏิบัติงาน เป็นไปตามข้อกาหนดของ หลักสูตร 3. การประเมนผลการฝึก ปฏิบัติร่วมกันระหว่าง สถานศึกษากับสถาน ประกอบการ 1. เรียนทฤษฎีควบคู่กับการ ฝึ ก ป ฏิ บั ติ ต า ม ค ว า ม เหมาะสม 2. เรียนทฤษฎีจนจบก่อนจึง จะเรียนเริ่มปฏิบัติงาน 3. องค์กรวิชาชีพมีส่วนร่วม จัดการเรียนการสอนและ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ปฏิบัติงาน 1. หลักสูตรระดับ ปว.ส 2. การเรียนการสอน แบบ Problem Based และ Cooperative Learning 3. กาหนดคุณสมบัติ ผู้เรียน 4. การเตรียมสถาน ประกอบการ 5. การฝึกอบรมอาจารย์ คูฝึก และพี่เลี้ยง 1. หลักสูตรระดับ ปว. ส และระดับปริญญาตรี 2. การเรียนการสอน แบบ Problem Based และ Cooperative Learning 3. กาหนดคุณสมบัติ ผู้เรียน 4. การเตรียมสถาน ประกอบการ 5. การฝึกอบรมอาจารย์ คูฝึก และพี่เลี้ยง 1. หลักสูตรระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา 2. การเรียนการสอนแบบ Problem Based และ Cooperative Learning 3. กาหนดคุณสมบัติผู้เรียน 4. การเตรียมสถาน ประกอบการ 5. การฝึกอบรมอาจารย์ คู ฝึก และพี่เลี้ยง 1. หลักสูตรระดับปริญญาตรี 2. การเรียนการสอนแบบ Problem Based และ Cooperative Learning 3. กาหนดคุณสมบัติผู้เรียน 4. การเตรียมสถาน ประกอบการ 5. การฝึกอบรมอาจารย์ คู ฝึก และพี่เลี้ยง ระบบทวิภาคี (DVT) ระบบการฝึกงาน (Apprentice) ระบบสหกิจศึกษา (Cooperative) ระบบการฝึกหัด (Internship) ผลที่ได้รับ กระบวนการ ปัจจัยนาเข้า สถาน ประกอบการ สถานศึกษา แผนภาพที่ 2.1 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทางาน (วิเคราะห์จากเอกสาร ) ที่มา : ปานเพชร ชินินทร และคนอื่นๆ (2552:17)
  • 14. 14 กล่าวโดยสรุปแล้ว การจัดการศึกษาแบบ WiL ในประเทศไทย มีการจัดการเรียนการ สอนแบบ WiL ที่เด่นชัดอยู่ 4 รูปแบบได้แก่ ทวิภาคี (DVT) สหกิจศึกษา (Cooperative) การฝึกงาน (Apprentice) และ การฝึกหัด (Internship) ทั้งนี้ สานักเลขาธิการสถานศึกษา (2553:38) ได้สรุป ประเด็นต่างๆ ในด้านหลักการแนวคิด/ปรัชญา จุดมุ่งหมายการพัฒนา โครงสร้างองกรระบบการบริหารรูปแบบ WiL และปัจจัย เงื่อนไขของความสาเร็จ ดังตารางที่ 2.2 ตารางที่ 2.2 สรุปประเด็นสาคัญของการจัดการศึกษารูปแบบ WiL 4 รูปแบบในประเทศไทย หัวข้อเรื่อง WIL ประเทศไทย 1. หลักการแนวคิด/ปรัชญา การจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทางานหรือ WIL เป็นกรณีหนึ่ง ของการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ ที่ช่วยให้นักศึกษามีโอกาสในการ ประยุกต์ความรู้ ทักษะการทางาน และทักษะเฉพาะที่สัมพันธ์กับ วิชาชีพ ได้รู้จักชีวิตการทางานที่แท้จริงก่อนสาเร็จการศึกษา 2. จุดมุ่งหมายการพัฒนา สถาบันการศึกษาได้มีการเชื่อมโยงโลกการศึกษากับภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมเข้าด้วยกันทาให้ประเทศมีทรัพยากรมนุษย์ที่มีสมรรถนะ สูงสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติได้ 3. โครงสร้างองค์กรระบบการบริหาร  วิทยาลัยอาชีวศึกษารัฐ )วิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัยอาชีวศึกษา วิทยาลัยสารพัดช่าง และวิทยาลัยเกษตรกรม)  วิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน  มหาวิทยาลัยรัฐ (สังกัดทบวงฯ เดิม)  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล  มหาวิทยาลัยราชภัฎ  มหาวิทยาลัยเอกชน  มหาวิทยาลัยชุมชน 4. รูปแบบของWIL 1. ระบบทวิภาคี(DVT) 2. ระบบสหกิจศึกษา(Cooperative) 3. ระบบฝึกงาน (Apprentice) 4. ระบบการฝึกหัด (Internship)
  • 15. 15 ตารางที่ 1.2 (ต่อ) หัวข้อเรื่อง WIL ประเทศไทย 5. ปัจจัยเงื่อนไขของความสาเร็จ  สถาบันการศึกษาและสถานประกอบมีนโยบายที่ชัดเจนใน การสนับสนุนสหกิจศึกษา  มีผู้รับผิดชอบระดับต่างๆ ที่ชัดเจน  มีการสร้างความเข้าใจให้แก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง  มีกระบวนการในการเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษาที่จะ เข้าร่วมโครงการ  มีการกาหนดให้ทารายงานสารนิเทศเมื่อเสร็จสิ้นการ ปฏิบัติงาน  ภาครัฐให้สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี  เพื่อเป็นแรงจูงใจให้กับสถานประกอบการที่เข้าร่วม รูปแบบและลักษณะของ WiL ในต่างประเทศ สานักเลขาธิการสภาการศึกษา (2553:53-99) ได้อธิบายเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนที่บูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน ( WiL) ของต่างประเทศ ในทวีปอเมริกาและยุโรป 3 ประเทศ ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐฟินแลนด์ และสมาพันธรัฐสวิส และในทวีปเอเซีย 3 ประเทศ ได้แก่ สาธารณรัฐ เกาหลี ญี่ปุ่น และ อินเดียโดยศึกษา 5 ประเด็นสาคัญ ได้แก่ หลักการคิด/ปรัชญา จุดมุ่งหมายการพัฒนา โครงสร้างความร่วมมือ รูปแบบของ WIL และปัจจัยเงื่อนไขของความสาเร็จ ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ทวีปอเมริกาและยุโรป 1. ประเทศสหรัฐอเมริกา 1.1 แนวคิดและปรัชญา การสร้างมาตรฐานทักษะและ มาตรฐานอาชีพระดับชาติสู่ระดับสากล เพื่อให้ แรงงานของชาติได้มาตรฐาน ถือเป็นยุทธศาสตร์ที่สร้างความสาเร็จแก่การพัฒนาการศึกษาอย่างยิ่ง 1.2 จุดมุ่งหมายและความจาเป็นในการจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการการเรียนรู้กับการทางานเพื่อเป็นการ กระตุ้นและช่วยอุตสาหกรรมในการพัฒนาและปรับปรุงระดับบุคลากรให้มีความสามรถแข่งขันได้ในเศรษฐกิจสากล 1.3 โครงสร้างขององค์กร 1) Institute of Technology 2) Community College 3) Junior College 4) College 5) University 1.4 การบริหารจัดการ
  • 16. 16 การจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการการเรียนรู้กับการทางานในเทศ สหรัฐอเมริกามีระบบ Cooperative Education .นมหาวิทยาลัยและ Apprenticeship ในวิทยาลัยชุมชน และ สถานบันเทคโนโลยี 1.5 รูปแบบการจัดการเรียนการสอน 1) การฝึกหัด (Internship) 2) สหกิจศึกษา (Cooperative Education) 3) การฝึกงาน (Apprenticeship) 1.6 ปัจจัยเงื่อนไขของความสาเร็จ ยุทธศาสตร์แห่งความสาเร็จในการจัดการศึกษาอาชีพและการฝึกอบรมอาชีพ ของสหรัฐอเมริกาเกิดจากการใช้นโยบายการปฏิรูปการศึกษานาในการพัฒนาชาติสถาบันการศึกษาอาชีพในฐานะ เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มีสมรรถนะและศักยภาพสูงในการชี้นาสามารถแก้ปัญหาด้านอาชีพแก่ชุมชนและสังคมได้ เพราะเป็นสถาบันนิติบุคคล มีอิสระและอานาจทั้งด้านการบริหารจัดการวิชาการ การให้บริการวิชาอาชีพ หลากหลายแก่กลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่าเพราะทาหน้าที่เป็นสถานศึกษา ศูนย์ ฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาอาชีพ ศูนย์วิจัยอาชีพของชุมชน ซึ่งล้วนเป็นยุทธศาสตร์ที่สร้างประสิทธิภาพแก่องค์กร 2. สาธารณรัฐฟินแลนด์ 2.1 แนวคิดและปรัชญา เพื่อเพิ่มความรู้ทักษะ และความเชี่ยวชาญสาหรับผู้ศึกษาในระดับปริญญา รวมถึงการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของการเรียนวิชาชีพภายหลังที่สาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย 2.2 จุดมุ่งหมายและความจาเป็นในการจัดการเรียนการสอน ให้ความรู้และทักษะที่จาเป็นต่อการปฏิบัติงานในด้านวิชาชีพตามความต้องการ แรงงานและพัฒนาระดับโลก ทาการวิจัย และพัฒนาให้บริการสังคมในการพัฒนาท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถาน ประกอบการขนาดเล็กและขนาดกลาง 2.3 โครงสร้างขององค์กร มหาวิทยาลัยในสาธารณรัฐฟินแลนด์มีจานวน 20 แห่ง โดยมีมหาวิทยาลัย จานวน 10 แห่ง เปิดวิชาสอนในหลายสาขา ส่วนอีก 10 แห่ง เปิดวิชาสอนแบบเฉพาะทาง จาแนกเป็น ด้าน เศรษฐศาสตร์และธุรกิจ จานวน 3 แห่ง ด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม จานวน 3 แห่ง และด้านศิลปะและการ ละคร จานวน 4 แห่ง สถาบันโปลีเทคนิคในปัจจุบันมีจานวน 29 แห่ง ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในจานวน 20 แห่ง ทีเปิดหลักสูตรหลังปริญญาตรีซึ่งจัดการศึกษาผู้ใหญ่ โดยจะเรียนเพิ่มเติมประมาณ 40-60 หน่วยกิต
  • 17. 17 2.4 การบริหารจัดการ 1) การรับนักศึกษา 1.1) นักศึกษาที่ต้องการเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยจะต้องสอบผ่าน Matriculation Examination, International Baccalaureate IB. European Baccalaureate: EB จึงมีสิทธิ เข้าเรียนในมหาวิทยาลัย 1.2) นักศึกษาที่ได้ปริญญาจากสถาบันโปลีเทคนิคที่มีคุณสมบัติด้าน อาชีวศึกษา ในระดับหลังมัธยมศึกษาตอนปลายหรืออาชีวศึกษาหลักสูตร 3 ปี เป็นอย่างน้อยจึงจะมีสิทธิเข้าเรียน ในมหาวิทยาลัยได้ (การศึกษาแบบต่อเนื่อง) 2) การศึกษา มหาวิทยาลัยและสถาบันโปลีเทคนิคจะเริ่มเรียนต้นเดือนสิงหาคมและ สิ้นสุดเดือนกรกฎาคมของทุกปี การเรียนการสอนแบ่งออกเป็น 2 ภาคเรียน 3) หลักสูตร 3.1) มาหาวิทยาลัย ระดับปริญญาตรีเรียน 180 ECTS (European Credit Transfer and Accumulation System) ใช้เวลาเรียน 3 ปี สาหรับระดับปริญญาโทเรียน 300 ECTS ใช้ เวลาเรียน 5 ปี และระดับปริญญาเอกต้องเรียนเพิ่มขึ้นอีก 4 ปี ส่วนสาขาแพทยศาสตร์ ทันตแพทย์ศาสตร์ และ สัตวแพทยศาสตร์ เรียน 300-360 ECTS ใช้เวลาเรียน 5-6 ปี 3.2) สถาบันโปลีเทคนิค หลักสูตรประกอบด้วย วิชาพื้น,น วิชาชีพ วิชา เลือก และการฝึกปฏิบัติจานวน 130-160 หน่วยกิต ส่วนสาขาพยาบาล ดนตรี ครู วิศวกรนาวี และกัปตันเรือ ต้อง เรียนจานวน 180 หน่วยกิต และหลักสูตรหลังปริญญาตรี ซึ่งจะจัดการศึกษาผู้ใหญ่ โดยจะเรียนเพิ่มเติมประมาณ 40-60 หน่วยกิต หรือในอนาคตจะต้องเรียน 60-90 ECTS 2.5 รูปแบบการจัดการเรียนการสอน การสอนมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มการเรียนและการวางแผนการเรียนด้วยตนเอง วิธีการเรียนการสอนได้แก่ การทาโครงงาน การทางานเป็นทีมการฝึกอบรมแบบลูกมือฝึกงาน(Apprenticeship Training) และการศึกษาในสถานประกอบการโดยการฝึกงานจะคิดหน่วยกิต 30 ECTS 2.5 ปัจจัยและเงื่อนไขของความสาเร็จ 1) มีนโยบายการจัดการศึกษาที่ชัดเจน และมีระบบการศึกษาทุกระดับ ตั้งแต่ การศึกษาภาคบังคับ การศึกษาขั้นพื้นฐานภาคบังคับ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและอาชีวศึกษา และการศึกษาระดับอุดมศึกษา รวมถึงการศึกษาผู้ใหญ่เน้นให้โอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชน 2) การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยมีระบบการประเมินผล สถาบันการศึกษาและระบบการศึกษาเพื่อให้หน่วยงานทางการศึกษามองเห็นภาพรวมของตนเอง และเผยแพร่ กิจกรรมของสถาบันให้เป็นที่รับรู้แก่คนภายนอก รวมทั้งการประเมินตนเองจะทาให้สถาบันทราบว่าการปฏิบัติงาน นั้นเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่ และสาสมารถกาหนดแผนงานเพื่อรักษาระดับคุณภาพและทราบถึงผลการ ปฏิบัติงานของตนเองโดยการประเมินมี 3 ระดับ คือ ระดับสถาบันการศึกษา ระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ
  • 18. 18 3) มีการส่งเสริมการวิจัยอย่างเป็นระบบ โดยทุกมหาวิทยาลัยต้องทาการ วิจัยด้านการศึกษา โดยมีสถาบันวิจัยที่มีชื่อเสียงด้านการศึกษา 2 แห่ง ได้แก่ The Institute of Educational Research และ University of Turku นอกจานกี้ คณะศึกษาศาสตร์ในทุกมหาวิทยาลัยได้รวมกันตั้งเป็น สถาบันวิจัย โดยทางานวิจัยในด้านต่างๆ เช่น The Research Center for Vocational โดยต้องอยู่ที University of Tempers เป็นต้น 4) มีการพัฒนาวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยการฝึกอบรมครู ประจาการและบุคลากรทางการศึกษาปีละ 3 - 5 วันเป็นประจาทุกปี และมีรายได้ที่สูงซึ่งเป็นข้อตกลงร่วมระหว่าง สหภาพครูรัฐ และเทศบาล ซึ่งกระทากันทุกๆ 1-3 ปี รายได้ของครูจะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ เงินเดิน และเงิน เพิ่มเติม 3. สมาพันธรัฐสวิส 3.1 แนวคิดและปรัชญา การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการทางานการเพิ่มทักษะและความรู้ที่จาเป็นต่อการ ทางาน เช่น การเรียนรู้การสื่อสาร ภาษา เทคโนโลยีและ การศึกษา การฝึกทักษะอาชีพใหม่ ๆ ความรู้ใหม่ที่ สัมพันธ์กับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการศึกษาที่เกี่ยวกับด้านอุดมศึกษา เพื่อให้ได้คุณวุฒิในสาขาที่ศึกษา 3.2 จุดมุ่งหมายและความจาเป็นในการจัดการเรียนการสอน เน้นการปฏิบัติในสาขาวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ การเรียนการสอนมุ่งเน้น การฝึกอบรม และการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติโดยได้รับการสนับสนุนจากสมาคมวิชาชีพที่เกี่ยวข้องตาม ระเบียบของรัฐบาลกลาง โดยมุ่งเน้นงานด้านการฝึกหัดครู การศึกษาต่อเนื่อง การวิจัยและพัฒนาประยุกต์การ ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีและการบริการ 3.3 โครงสร้างขององค์กร 1) มหาวิทยาลัยและสถาบันเทคโนโลยี โดยทั่วไปการศึกษาในระดับ Lizentiate ใช้เวลาเรียน 8 ภาคเรียน และการทาวิทยานิพนธ์อีก 1 ภาคเรียน ส่วนเขตภาษาเยอรมันจะใช้เวลา เรียนนานกว่าในเขตอื่นๆ 2) มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์ โดยทั่วไปหลักสูตรปกติจะใช้เวลาเรียน 3 ปี ถ้าหารทางานด้วยจะใช้เวลา 4 ชั่วโมง การสอนอยู่ระหว่าง 3,000 – 4,000 ชั่วโมง โดยสอนปีละ 1,000- 2,000 ชั่วโมง การเรียนการสอนทาเป็นโมดูล และทาการเปิดสอนหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องต่อการระดับ ประกาศนียบัตรสาหรับผู้มีงานทาแล้ว โดยการฝึกอบรมใช้เวลาตั้งแต่ 2 สัปดาห์ จนถึง 2 ปี 3) วิทยาลัยเทคนิคชั้นสูง ใช้เวลาเรียน 2 ปีประมาณ 2,000 ชั่วโมง หรือ หลักสูตรการเรียนแบบบางเวลาใช้เวลา 3 ปี ประมาณ 1,500 ชั่วโมงขึ้นไป ถ้าเรียนพร้อมกับทางานไปด้วย หลักสูตรการเรียนจะเป็นการเรียนภาคทฤษฎี 1 ภาคเรียน และภาคปฏิบัติ 2 ภาคเรียน สลับกันไป และมีการเรียน โดยใช้ E-Learning 3.4 การบริหารจัดการ 1) มหาวิทยาลัยและสถาบันเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอยู่ในกากับของ หน่วยงานการศึกษาของเขต ส่วนสถาบันเทคโนโลยีอยู่ในกากับของรัฐบาล โดยมหาวิทยาลัยของเขตมี 10 แห่ง และสถาบันเทคโนโลยีของรัฐ 2 แห่ง