SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ INTEGRATED LEARNING MANGEMENT INTEGRATED LEARNING MANGEMENT INTEGRATED LEARNING MANGEMENT INTEGRATED LEARNING MANGEMENT INTEGRATED LEARNING MANGEMENT
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ การบูรณาการ 1.  บูรณาการ หมายถึง การจัดการเรียนรู้โดยใช้ความรู้ ความเข้าใจ   และทักษะในศาสตร์หรือวิชาต่างๆ มากกว่า 1  วิชาขึ้นไปรวมเข้าด้วยกัน   ภายใต้เรื่องราวโครงการหรือกิจกรรมเดียวกัน เพื่อแก้ปัญหาหรือ แสวงหาความรู้ความเข้าใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง   ( กรมวิชาการ , 2544) ความหมาย ของการบูรณาการ 2.  บูรณาการ เป็นการสร้างความรู้และประสบการณ์ขึ้นใหม่   ในลักษณะ ของการผสมผสานเข้าด้วยกันทั้งหมดเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ และสภาพชีวิตจริงของผู้เรียน  ( Bean. 1991 ) 1.  ความหมาย 2.  ความสำคัญ 3.  หลักสำคัญ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ การบูรณาการ ความหมาย ของการบูรณาการ 3.  บูรณาการ หมายถึง การนำเนื้อหาสาระที่มีความเกี่ยวข้องกันมาสัมพันธ์ ให้เป็นเรื่องเดียวกันและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ ลักษณะที่เป็นองค์รวมและนำความรู้ความเข้าไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ( ทิศนา  แขมมณี . 2545) 4.  บูรณาการ เป็นความพยายามที่จะหาความสัมพันธ์ระหว่าง เนื้อหา ของหลาย ๆ วิชากับหัวข้อเรื่อง ความคิดรวบยอด   หรือปัญหาที่ต้องการ ให้ผู้เรียนศึกษา  ( Johnson. 1994 ) 1.  ความหมาย 2.  ความสำคัญ 3.  หลักสำคัญ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ การบูรณาการ ความสำคัญ ของการบูรณาการ 1.  ธรรมชาติและชีวิตจริง  ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนมีความสัมพันธ์กัน เรื่องราวต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันเป็นไปแบบเชื่อมโยงกัน ในธรรมชาติไม่ได้แยกความรู้ออกเป็นแท่งๆ หรือท่อน ๆ หรือวิชา การดำเนินชีวิตของมนุษย์และสังคมจึงเป็นไปแบบองค์รวม โดยนำความรู้ต่าง ๆ ผสมผสานเข้าด้วยกันทั้งที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ 1.  ความหมาย 2.  ความสำคัญ 3.  หลักสำคัญ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ การบูรณาการ ความสำคัญ ของการบูรณาการ 2.  โลกที่สลับซับซ้อน  การบูรณาการ  มีความจำเป็นและสำคัญ อย่างยิ่งในโลกยุคใหม่ที่ปัจจัยต่าง ๆ มีความเชื่อมโยงและซับซ้อน  ความสามารถในการคิดเชิงบูรณาการจะช่วยให้เราพิจารณาสิ่งต่าง ๆ  ได้อย่างครบถ้วนและสามารถนำสิ่งที่ดีที่มีอยู่ในบริเวณแวดล้อม มาช่วยสร้างความสมบูรณ์และความสำเร็จในสิ่งที่ต้องการได้ ( เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์ . 2546) 1.  ความหมาย 2.  ความสำคัญ 3.  หลักสำคัญ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ การบูรณาการ หลักสำคัญ ของการบูรณาการ 1.  ความหมาย 2.  ความสำคัญ 3.  หลักสำคัญ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. การเชื่อมโยง   เป็นการนำสิ่งหนึ่งหรือหลาย ๆ  สิ่งมาเชื่อมโยงกับสิ่งหนึ่งที่อยู่ในลักษณะแกนกลาง  ทำให้เกิดเป็นเครือข่ายที่แสดงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน 2.  การรวมกัน   เป็นการนำสิ่งต่าง ๆ ตั้งแต่สอง สิ่งขึ้นไปมารวมกัน เพื่อทำให้เกิดความสมบูรณ์ขึ้นกว่า เดิม และสามารถใช้ประโยชน์จากสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้น ร่วมกันได้ 3.  การประสาน   เป็นการทำให้สิ่งต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ เฉพาะอย่างเฉพาะตนประสานสอดคล้องกับสิ่งอื่น ๆ  อย่างกลมกลืนเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน 4.  การผนวก   เป็นการผสมผสานสิ่งหนึ่งเข้ากับอีกสิ่ง หนึ่งอย่างอย่างสมบูรณ์ และทำให้สิ่งที่อยู่ในภาพรวม ดีขึ้นกว่าส่วนที่แยกกันอยู่ 5.  การเติมเต็ม   เป็นการเพิ่มเติมสิ่งที่บกพร่องหรือ ขาดหายไปให้สมบูรณ์ขึ้น การเชื่อมโยง การรวมกัน การประสาน การเติมเต็ม  การผนวก  หลักสำคัญ ของการบูรณาการ
คำถาม  ? 3.  หลักสำคัญของการบูรณาการมีอะไรบ้าง  ?  2.  คำว่า “บูรณาการ” แปลว่า อะไร  ?  1.  จงยกตัวอย่างสนับสนุนคำพูดต่อไปนี้ให้ชัดเจน  ? “ ในธรรมชาติและชีวิตจริงทุกสิ่งเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน”  การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
คำตอบ 3.  หลักสำคัญของการบูรณาการมีดังนี้ 1.  การเชื่อมโยง  2.  การประสาน  3.  การรวมกัน 4.  การเติมเต็ม  5.  การผนวก 2.  คำว่า “บูรณาการ” แปลว่า ความสมบูรณ์  1. “ ข้าวราดแกง  1  จาน” ใช้ความรู้หรือศาสตร์หลายด้าน เช่น ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ สังคมฯ สุขศึกษาฯ  การงานอาชีพ  ภาษาต่างประเทศ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
บูรณาการ การจัดการเรียนรู้แบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ความจำเป็น ในการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการ 1.  ธรรมชาติและชีวิตจริงมีลักษณะบูรณาการ 2.  การแก้ปัญหาต้องใช้ความรู้แบบองค์รวม 3.  การเชื่อมโยงศาสตร์ต่าง ๆ ทำเกิดการถ่ายโอนความรู้ 4.  สาระในหลักสูตรมีความซ้ำซ้อนและหลากหลาย 5.  สนองตอบแนวคิดเกี่ยวกับพหุปัญญา   การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  คุณค่า 3.  ประโยชน์ 4.  ลักษณะ 5.  ประเภท 6.  รูปแบบ
จอห์น ดิวอี้  (John Dewey) 1.  เนื้อหาในหลักสูตรต้องไม่เป็นรายวิชาต่าง ๆที่แยกออกมาจากชีวิตจริง ของเด็กและเยาชน การผสมผสานวิชาต่างๆ ทำให้เกิดความเข้าใจได้มากขึ้น 2.  หลักสูตรโรงเรียนควรเน้นที่การพัฒนาทัศนคติและความสนใจใหม่ จากการ ได้รับประสบการณ์ต่างๆ  3.  ครูต้องพัฒนาการใฝ่รู้ ใฝ่เรียนแก่ผู้เรียน 4.  ครูและนักเรียนต้องทำงานในลักษณะของการเรียนรู้ร่วมกัน 5.  ครูต้องพัฒนานักเรียนให้รู้บทบาทของตนเองและการมีส่วนทำให้โลก สังคมที่ตนเองอยู่ดีขึ้น การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  คุณค่า 3.  ประโยชน์ 4.  ลักษณะ 5.  ประเภท 6.  รูปแบบ
การบูรณาการ ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ .2542 การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
มาตรา  6  “ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย  จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการ ดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นได้อย่างมีความสุข” ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ .2542 การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ มาตรา  6 มาตรา  22 มาตรา  23  มาตรา  24(4) การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  คุณค่า 3.  ประโยชน์ 4.  ลักษณะ 5.  ประเภท 6.  รูปแบบ
ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ .2542 มาตรา  22  “ การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคน มีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียน มีความสำคัญที่สุด” มาตรา  23  “ การจัดการศึกษาต้องยึดทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้น ความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และ บูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา” การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ มาตรา  6 มาตรา  22 มาตรา  23   มาตรา  24(4) การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  คุณค่า 3.  ประโยชน์ 4.  ลักษณะ 5.  ประเภท 6.  รูปแบบ
มาตรา  24 (4)  “ การจัดการเรียนการสอนโดยผสมผสาน สาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้ง ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ไว้ในทุกวิชา” ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ .2542 การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ มาตรา  6 มาตรา  22 มาตรา  23  มาตรา  24(4) การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  คุณค่า 3.  ประโยชน์ 4.  ลักษณะ 5.  ประเภท 6.  รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ คุณค่า ของการบูรณาการ 1.  ผู้เรียนเรียนรู้จากชีวิตจริง 2.  เกิดการถ่ายโอนการเรียนรู้ 3.  สนองตอบความแตกต่างระหว่างบุคคล 4.  ลดความซ้ำซ้อนของเนื้อหาสาระ 5.  แก้ปัญหาการขาดแคลนครู การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  คุณค่า 3.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ประโยชน์ ของการบูรณาการ 1.  ช่วยให้ผู้เรียนมองเห็นเนื้อหาเรื่องราวต่างๆ เป็นองค์รวม 2.  ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงเนื้อหาได้หลากหลายมิติหลายแนวทาง  3.  ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้เนื้อหาและวิธีการได้ตลอดชีวิต 4.  ทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง 5.  ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 6.  ช่วยให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  คุณค่า 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ประโยชน์ ของการบูรณาการ 7.  ส่งเสริมกระบวนการคิดวิเคราะห์ข้อมูลอย่างกว้างขวาง อันจะนำไปสู่การแก้ปัญหาได้อย่างรอบคอบ 8.  ส่งเสริมการดำรงชีวิตในระบอบประชาธิปไตย โดยคำนึง ถึงการอยู่ร่วมกันของตนเองและผู้อื่นแบบองค์รวม 9.  ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจสภาพปัญหาของสังคม และแนวทาง การป้องกัน แก้ปัญหา และพัฒนาได้อย่างเหมาะสม 10.  ช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะที่จำเป็นให้เกิดความคิดรวบยอด ได้กระจ่างชัดขึ้น การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  คุณค่า 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ลักษณะ ของการบูรณาการ 1.  การบูรณาการเชิงเนื้อหาสาระ 2.  การบูรณาการเชิงวิธีการ 3.  การบูรณาการความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ 4.  การบูรณาการความรู้ ความคิดกับคุณธรรม   5.  การบูรณาการความรู้กับการปฏิบัติ 6.  การบูรณาการความรู้ในโรงเรียนกับ ชีวิตจริงของผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ .. ตัวอย่าง .. การบูรณาการเชิงเนื้อหาสาระ ความรู้เรื่องไผ่ ลักษณะของไผ่ การขยายพันธุ์ไผ่ ชนิดของไผ่ ประโยชน์ของไผ่ ผลผลิตจากไผ่ ต้นไผ่ หน่อไม้ หน่อไม้สด หน่อไม้แปรรูป งานจักสาน งานโครงสร้าง งานประดิษฐ์ คำศัพท์ภาษอังกฤษ ที่เกี่ยวกับไผ่ อาชีพเกี่ยวกับไผ่ ไผ่กับการเรียนรู้ อาหาร เครื่องใช้ ค้าขาย รับจ้าง การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ ไผ่แสนกล
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ .. ตัวอย่าง .. การบูรณาการเชิงวิธีการ ความรู้ การบรรยาย การอภิปราย การสนทนา การใช้คำถาม การศึกษานอกสถานที่ พอประมาณ ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี เหตุผล บทบาทสมมุติ การจัดนิทรรศการ คุณธรรม สถานการณ์จำลอง การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ เศรษฐกิจพอเพียง
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ .. ตัวอย่าง .. การบูรณาการความรู้กับกระบวนการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ พ่อขุนรามคำแหงมหาราช กระบวนการเรียน แบบโครงงาน กระบวนการเรียน แบบสร้างความคิด กระบวนการเรียน แบบเสาะแสวงหา กระบวนการเรียน แบบร่วมมือ กระบวนการเรียน แบบเป็นทีม กระบวนการเรียน แบบแก้ปัญหา
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ .. ตัวอย่าง .. การบูรณาการความรู้คู่คุณธรรม การดำรงชีวิต อยู่ในสังคมและ สิ่งแวดล้อมได้ อย่างมีความสุข ความรู้ ความรู้ ความรู้ ความรู้ คุณธรรม คุณธรรม คุณธรรม คุณธรรม การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ .. ตัวอย่าง .. การบูรณาการความรู้กับการปฏิบัติ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ การเรียนรู้ ที่สมบูรณ์ ครบถ้วน ปฏิบัติ  เทคนิค  ความชำนาญ ทฤษฎี  หลักการ  แนวคิด  ปฏิเวท ปฏิเวท ปฏิเวท ปฏิเวท
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ .. ตัวอย่าง .. การบูรณาการความรู้ในโรงเรียน กับชีวิตจริงของผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ การเรียนรู้ เนื้อหาหลักสูตร ในโรงเรียน การเรียนรู้ วิถีชีวิตใน ชีวิตประจำวัน การแก้ปัญหา ในชีวิตจริง ทฤษฎี ทฤษฎี ปฏิบัติ ปฏิบัติ
ประเภท ของการบูรณาการ ทางการศึกษา
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ประเภท ของการบูรณาการ 1.  การบูรณาการหลักสูตร 1.1  การบูรณาการภายในวิชา  (intradisciplinary) 1.2  การบูรณาการระหว่างวิชา   (interdisciplinary) 2.  การบูรณาการการเรียนการสอน 2.1  การสอนแบบสอดแทรก  (infusion) 2.2  การสอนแบบคู่ขนาน  (parallel) 2.3  การสอนแบบพหุวิทยาการ  (multidisciplinary) 2.4  การสอนแบบเป็นทีม  (trans-disciplinary) การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ประเภท ของการบูรณาการ ทักษะการพูด - อธิบาย  - พูดซักถาม - สนทนา  - อภิปราย   การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION หลักสูตรบูรณาการ 1.  การบูรณาการภายในวิชา  (intradisciplinary instruction) เป็นการเชื่อมโยงเนื้อหาสาระในกลุ่มประสบการณ์หรือรายวิชาเดียวกัน เข้าด้วยกัน  ภายใต้หัวข้อเรื่อง  (theme) หรือหน่วยการเรียน  (learning unit) เดียวกัน  1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ วรรณคดี เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ทักษะการอ่าน - ในใจ  - ทำนองเสนาะ - จับใจความ  - ออกเสียง   ทักษะการเขียน - เรียงความ  - เขียนนิทาน - เขียนแสดงความคิดเห็น   ทักษะการฟัง - ฟังอธิบาย  - ฟังการพูดคุย - ฟังการสนทนา  - ฟังนิทาน
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ประเภท ของการบูรณาการ หลักสูตรบูรณาการ 2.  การบูรณาการระหว่างวิชา  (interdisciplinary instruction) เป็นการเชื่อมโยงเนื้อหาสาระจากหลายกลุ่มประสบการณ์หรือหลายรายวิชา เข้าด้วยกัน  ภายใต้หัวข้อเรื่อง  (theme) หรือหน่วยการเรียน  (learning unit) เดียวกัน  วิทยาศาสตร์  ภาษาไทย  คณิตศาสตร์  สุขศึกษา  สังคมฯ  การงานอาชีพฯ  ภาษาอังกฤษ  ศิลปะ สัตว์เลี้ยง ในชุมชน ลักษณะ ประโยชน์ -  การเคลื่อนไหว ร่างกาย และการ ทรงตัว ขณะวิ่ง  - การร้องเพลง - การทำท่า - ประกอบเพลง - การวาดภาพ ชุมชน - การพูดทักทาย - การขอบคุณ - การกล่าวลา  การเทียบอัตราส่วน - การวัดระยะทาง - การนับจำนวน - การสังเกต - การสนทนา - การอภิปราย  - การฟัง  - การอ่านข่าว  - การเขียนคำ การทำงานบ้าน  การปลูกต้นไม้  บุคคลในชุมชน  สิ่งน่ารู้ ในชุมชน  บทบาท หน้าที่  ข่าวและ เหตุการณ์ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ ชุมชนน่าอยู่
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ประเภท ของการบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION การเรียนการสอนแบบบูรณาการ 1.  การสอนแบบสอดแทรก  (infusion) ครูผู้สอน .... คนเดียว  วิธีการ ....... สอดแทรกเนื้อหาสาระการเรียนรู้วิชาอื่น ๆ  เข้ามาผสมผสานในเนื้อหาที่กำลังทำการสอน ผู้เรียน ....... ได้รับความรู้จากครูคนเดียว มองเห็น ความสัมพันธ์จากการสอดแทรกเชื่อมโยงของครู จุดอ่อน ..... ไม่มีครูผู้ใดที่มีความถนัดหรือเชี่ยวชาญในทุก กลุ่มสาระการเรียนรู้หรือทุกวิชา 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ หัวข้อเรื่อง สิ่งแวดล้อม รอบตัวเรา ครูสอนคนเดียว การสร้างแผนภูมิ / แผนสถิติ ทักษะการจัดข้อมูล ทักษะการจัดข้อมูล การอยู่ร่วมกัน ทักษะการคิด ความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้อง
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ประเภท ของการบูรณาการ การเรียนการสอนแบบบูรณาการ 2. การสอนแบบคู่ขนาน (parallel Instruction) ครูผู้สอน ....... หลายคน วิธีการ ........... วางแผนร่วมกัน   การสอน ......... ต่างคนต่างสอน กิจกรรม / งาน .. อาจแตกต่างหรือเหมือนกัน การประเมิน .... ต่างคนต่างประเมิน  ผู้เรียน ............ เห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยง ความรู้จากวิชาต่าง ๆ สามารถสร้างสรรค์ งานจากการบูรณาการได้ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ หัวข้อเรื่อง (theme) หน่วยการเรียนรู้ (learning unit) ครูสอนหลายคน วางแผนร่วมกัน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คณิตศาสตร์ ... Theme… - กิจกรรมการสอน - มอบหมายงาน - ประเมินผล สังคมฯ … Theme… - กิจกรรมการสอน - มอบหมายงาน - ประเมินผล ศิลปะ ... Theme… - กิจกรรมการสอน - มอบหมายงาน - ประเมินผล สุขศึกษาฯ  … Theme… - กิจกรรมการสอน - มอบหมายงาน - ประเมินผล ภาษาไทย … Theme… - กิจกรรมการสอน - มอบหมายงาน - ประเมินผล ครูสอนหลายคน วางแผนร่วมกัน ครูสอนหลายคน วางแผนร่วมกัน ครูสอนหลายคน วางแผนร่วมกัน การงานอาชีพ … Theme… - กิจกรรมการสอน - มอบหมายงาน - ประเมินผล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ประเภท ของการบูรณาการ หัวข้อเรื่อง (theme) หน่วยการเรียนรู้ (learning unit) คณิตศาสตร์ - กิจกรรมการสอน - ประเมินผลเอง การงานอาชีพ - กิจกรรมการสอน - ประเมินผลเอง ,[object Object],[object Object],[object Object],สุขศึกษาฯ  - กิจกรรมการสอน - ประเมินผลเอง สังคมศึกษา - กิจกรรมการสอน - ประเมินผลเอง ,[object Object],[object Object],[object Object],ศิลปะ - กิจกรรมการสอน - ประเมินผลเอง ภาษาไทย - กิจกรรมการสอน - ประเมินผลเอง ร่วมกัน จัดนิทรรศการ แสดงผลงาน ผู้สอนหลายคน ร่วมกันวางแผน / มอบหมายงานร่วมกัน การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ การเรียนการสอนแบบบูรณาการ 3.  การสอนพหุวิทยาการ (Multidisciplinary Instruction) ครูผู้สอน ....... หลายคน วิธีการ ........... วางแผนร่วมกัน  การสอน ......... ต่างคนต่างสอน กิจกรรม / งาน .. ร่วมกันมอบหมายงาน การประเมิน .... ประเมินผลตามเกณฑ์ที่กำหนดเอง ผู้เรียน ............ เรียนรู้จากผู้สอนหลายคน เห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงความรู้จากวิชาต่าง ๆ  สามารถสร้างสรรค์งานจากการบูรณาการได้
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ประเภท ของการบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ การเรียนการสอนแบบบูรณาการ 4.  การสอนข้ามผ่านสาขา (Transdisciplinary Instruction) ครูผู้สอน ....... หลายคน วิธีการ ........... วางแผนร่วมกัน   การสอน ......... ร่วมกันสอนเป็นทีม กิจกรรม / งาน .. ร่วมกันมอบหมายงานชิ้นเดียว การประเมิน .... ร่วมกันประเมิน งานชิ้นเดียว ผู้เรียน ............ กลุ่มเดียว เรียนรู้จากผู้สอนหลายคน เห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงความรู้จากวิชาต่าง ๆ  สามารถสร้างสรรค์งานจากการบูรณาการได้ การงานอาชีพ - กิจกรรม การสอน ,[object Object],[object Object],[object Object],สังคมฯ - กิจกรรม การสอน คณิตศาสตร์ - กิจกรรม การสอน ,[object Object],[object Object],[object Object],ศิลปะ - กิจกรรมการสอน ภาษาไทย - กิจกรรม การสอน ร่วมกันประเมิน ผลงานชิ้นเดี่ยวกัน หัวข้อเรื่อง (theme) หน่วยการเรียนรู้ (learning unit) ผู้สอนหลายคน วางแผนร่วมกัน มอบหมายงานร่วมกัน ร่วมกันประเมินผล
การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ รูปแบบ ของการบูรณาการ กลุ่มที่  1   การบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน กลุ่มที่  2   การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มที่  3   การบูรณาการภายในตัวผู้เรียนและการประสานกันระหว่างผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ กลุ่มที่  1 กลุ่มที่  2 กลุ่มที่  3
การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่  1   การบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน 1.  รูปแบบที่แยกออกเป็นส่วนๆ  (Fragment Model) 2.  รูปแบบเชื่อมโยง  (Connected Model) 3.  รูปแบบซ้อนกัน  (Nested Model) รูปแบบ ของการบูรณาการ 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่  1 กลุ่มที่  2 กลุ่มที่  3
การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่  1  การบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน 1. รูปแบบที่แยกออกเป็นส่วนๆ  (Fragment Model) การบูรณาการภายในกลุ่มสาระ การเรียนรู้เดียวกัน ไม่เชื่อมโยง สัมพันธ์กับกลุ่มอื่นๆ  แต่สร้าง สัมพันธ์ต่อเนื่องในวิชาที่สอน โดยเรียงลำดับหัวข้อเรื่องตาม ความเหมาะสม เช่น จากง่ายไป ยาก  จากความซับซ้อนน้อยไป หาความซับซ้อนมาก เป็นต้น รูปแบบ ของการบูรณาการ 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่  1 กลุ่มที่  2 กลุ่มที่  3 ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่  1  การบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน 2.  รูปแบบการเชื่อมโยง  (Connected Model) รูปแบบ ของการบูรณาการ 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่  1 กลุ่มที่  2 กลุ่มที่  3 คณิตศาสตร์ เศษส่วน ระบบเงิน ทศนิยม เป็นการบูรณาการภายในกลุ่มสาระ การเรียนรู้เดียวกัน เหมือนกับรูปแบบ 1 ไม่เชื่อมโยงสัมพันธ์กับกลุ่มอื่นๆ  แต่เชื่อมโยงกับหัวข้อเรื่องที่เกี่ยวข้องกัน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน รูปแบบนี้เป็นจุดเริ่มต้นของ การบูรณาการอย่างแท้จริง
การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่  1  การบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน 3.  รูปแบบซ้อนกัน  (Nested  Model) รูปแบบ ของการบูรณาการ 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่  1 กลุ่มที่  2 กลุ่มที่  3 เป็นการบูรณาการภายในกลุ่มสาระ การเรียนรู้เดียวกัน แต่เพิ่มความสัมพันธ์ ที่เกี่ยวข้องมากขึ้น มีการเชื่อมโยงทักษะ หลายด้านให้สัมพันธ์กัน ได้แก่ ทักษะทางสังคม  ทักษะการคิด และ ทักษะส่วนเนื้อหา ปัจจัยการดำรง ชีวิตอยู่ของพืช ทักษะด้านการคิด ทักษะด้านเนื้อหา ทักษะด้านสังคม ความสัมพันธ์กัน การสังเคราะห์แสง การอยู่ร่วมกัน
การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่  2   การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ 1.  รูปแบบการเรียงลำดับ  (Sequenced Model) 2.  รูปแบบมีส่วนร่วมกัน  (Shared Model) 3.  รูปแบบการโยงใย  (Webbed Model) 4.  รูปแบบร้อยด้าย  (Threaded Model) 5.  รูปแบบการบูรณาการ  (Integrated Model) รูปแบบ ของการบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ กลุ่มที่  1 กลุ่มที่  2 กลุ่มที่  3
การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ เป็นการบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้  2  กลุ่ม โดยนำหน่วยการเรียนรู้แต่ละกลุ่มที่มีความคิดรวบยอด ทักษะหรือเจตคติที่คล้ายคลึงกัน มาเรียงลำดับหน่วยใหม่เพื่อจะได้นำเสนอในช่วงเวลาเดียวกัน ทั้งสองกลุ่มยังสอนแยกกันโดยสอนคู่ขนานกันซึ่งเนื้อหาของกลุ่มหนึ่งจะสิ่งเสริมอีกกลุ่ม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],รูปแบบ ของการบูรณาการ กลุ่มที่  2  การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ 1.  รูปแบบการเรียงลำดับ  (Sequenced Model) 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่  1 กลุ่มที่  2 กลุ่มที่  3
การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่  2  การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2.  รูปแบบมีส่วนร่วมกัน  (Shared Model) รูปแบบ ของการบูรณาการ 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่  1 กลุ่มที่  2 กลุ่มที่  3 เป็นการบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้  2  กลุ่ม  โดยยึดความคิดรวบยอด  (concept)   ทักษะ (skill)   และ เจตคติ (attitude)   เป็นตัวเชื่อมสองวิชาเข้าด้วยกัน ครูทั้งสองคนวางแผนร่วมกันในส่วนที่คาบเกี่ยวกัน อาจจัดสอนเป็นหัวข้อร่วมกันหรือทำโครงการร่วมกัน ส่วนที่ไม่คาบเกี่ยวกันแยกสอนตามปกติ การสังเคราะห์แสง ระบบนิเวศ การอนุรักษ์ธรรมชาติ ตารางการเปลี่ยนแปลง วัฏจักร ( ความคิดรวบยอด ) ความคาดหวัง ( เจตคติ ) ลำดับเหตุการณ์ ( ทักษะ ) การสัมภาษณ์ วงจรชีวิต สิ่งที่คาดหวัง ผลที่เกิดตามมา วิทยาศาสตร์  ภาษาอังกฤษ
การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่  2  การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ 3.  รูปแบบการโยง  (Webbed Model) การประดิษฐ์ รูปแบบ ของการบูรณาการ 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่  1 กลุ่มที่  2 กลุ่มที่  3 เป็นการบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตั้งแต่  2  กลุ่ม ขึ้นไปโดยครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระ การเรียนรู้วางแผนร่วมกัน  กำหนดหัวเรื่อง  (theme)   แล้วเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาสาระของกลุ่มสาระ การเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เห็นว่าสัมพันธ์กันคล้ายคลึงกัน การบูรณาการแบบนี้จะบูรณาการระหว่าง กลุ่มสาระการเรียนรู้ใดก็ได้ ศิลปะ -  ออกแบบ เขียนแบบเกี่ยวกับ เครื่องยนต์   คอมพิวเตอร์ -  สร้างแผนภูมิ สายงาน  วิทยาศาสตร์ -  ศึกษาการสร้าง เครื่องยนต์ ภาษาไทย -  การอ่านเกี่ยวกับ นักประดิษฐ์
การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่  2  การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ 4.  รูปแบบร้อยด้าย  (Threaded Model) รูปแบบ ของการบูรณาการ 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่  1 กลุ่มที่  2 กลุ่มที่  3 เป็นการบูรณาการที่ใช้ในการฝึกทักษะ อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการตั้งคำถาม โดยกำหนด  เนื้อหาสาระหรือกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละกลุ่ม สาระ  การเรียนรู้ให้สัมพันธ์กับทักษะที่กำหนดขึ้น คณิตศาสตร์ หน่วย : สถิติ เหตุและผลของ การเปลี่ยนแปลง ของตัวแปร ต่างๆ   สังคมศึกษา หน่วย : เหตุการณ์สำคัญ - สาเหตุของสงครามโลก - ผลของสงคราม - ผลที่เกิดขึ้นกับโลก วิทยาศาสตร์ หน่วย :   นิเวศวิทยา - สาเหตุของมลพิษ อากาศ ดิน น้ำ - ผลที่เกิดขึ้น - การแก้ปัญหา   ภาษาไทย หน่วย : อนุทินของแดง - สาเหตุของการเขียนอนุทิน - ผลของการเขียนอนุทิน
การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่  2  การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ 5.  รูปแบบการบูรณาการ  (Integrated Model) รูปแบบ ของการบูรณาการ 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่  1 กลุ่มที่  2 กลุ่มที่  3 เป็นการบูรณาการแบบสหวิทยาการ  โดยนำเอาความรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ อาจเป็นความคิดรวบยอด หรือทักษะที่คาบเกี่ยวกัน มาวางแผนการจัดการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม ร่วมกันสอนหรือมอบหมายให้ครูคนใดคนหนึ่งสอน ผู้เรียนทำงานชิ้นเดียวกัน  และประเมินร่วมกัน การวิจัยการ เปรียบเทียบวัฎจักร ความขัดแย้งรูปแบบ การค้นพบ การสำรวจ การศึกษาวรรณกรรม - โครงสร้าง - ตัวละคร - การแก้ปัญหา วิทยาศาสตร์  สังคมศึกษา  ศิลปะ  ภาษาไทย  นิเวศวิทยา - การสำรวจ - พืช - สัตว์ - เขตแดน ดนตรี - การวาดภาพระบายสี - การทำเซรามิก - การออกแบบ - การละคร - สิ่งประดิษฐ์ นักสำรวจ - การตั้งถิ่นฐาน  - แผนที่ - การค้าขาย - การพัฒนา  มนุษยชาติ วัฒนธรรม การสำรวจ การค้นพบ
การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่  3   การบูรณาการภายในตัวผู้เรียน และการประสานระหว่างผู้เรียน 1.  รูปแบบที่ขยายให้ใหญ่ขึ้น  (Immersed Model) 2.  รูปแบบเครือข่าย  (Networked Model) รูปแบบ ของการบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ กลุ่มที่  1 กลุ่มที่  2 กลุ่มที่  3
การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่   3  การบูรณาการภายในตัวผู้เรียน และการประสานระหว่างผู้เรียน 1.  รูปแบบที่ขยายให้ใหญ่ขึ้น  (Immersed Model) เป็นการบูรณาการของผู้เรียนแต่ละคน ที่ได้เรียนรู้เนื้อหาสาระจากกลุ่มสาระ การเรียนรู้ต่าง ๆ และมีความสนใจเรียนรู้ เพิ่มเติมสาระความรู้จากกลุ่มสาระ การเรียนรู้อื่น ๆ เป็นการบูรณาการที่ เกิดจากความต้องการภายในตัวของผู้เรียนเอง และ เป็นการบูรณาการตามชีวิตจริงของผู้เรียน รูปแบบ ของการบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ กลุ่มที่  1 กลุ่มที่  2 กลุ่มที่  3 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],นักมานุษยวิทยา ความสนใจ
การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่  1 กลุ่มที่  2 กลุ่มที่  3 กลุ่มที่  3  การบูรณาการภายในตัวผู้เรียน และการประสานระหว่างผู้เรียน 2.  รูปแบบเครือข่าย  (Networked Model) รูปแบบ ของการบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  ความจำเป็น 2.  ประโยชน์ 3.  ลักษณะ 4.  ประเภท 5.  รูปแบบ เป็นการบูรณาการความรู้ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้า และเรียนรู้จากครู ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิ รวมทั้งการใช้เครือข่ายที่หลากหลาย  ผู้เรียนเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสาระการเรียนรู้  องค์ความรู้ขยายกว้างขวาง  ความรู้ถูกกลั่นกรองหลายชั้น  ทำให้มีประสบการณ์ที่ดีและมีความเชี่ยวชาญ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],นักสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผู้เชี่ยวชาญ คณิตศาสตร์ การวิเคราะห์ ผลสำรวจ นักโภชนาการ ผู้เรียน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ภาษาไทย ชีวประวัติ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],สำนักพิมพ์ทางการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญ
พัก สายตา
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1.  การวางแผน 2.  การเขียนแผน 3.  การประเมินผล หลักการ ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ 1.  การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด 2.  กำหนดประเด็นหรือหัวข้อเรื่อง จากสภาพปัญหา หรือสิ่งที่ผู้เรียนสนใจ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1.  การวางแผน 2.  การเขียนแผน 3.  การประเมินผล เทคนิค การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ 2.  การจัดหน่วยการเรียนรู้ตามมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัด เป็นการวิเคราะห์ราย มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  การเชื่อมโยงมาตรฐานการเรียนรู้ -  ตัวชี้วัด -  สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน -  คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.  การจัดการเรียนรู้ เพื่อนำไปสู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 4.  การจัดการเรียนรู้ เพื่อนำไปสู่คุณลักษณะอันพึงประสงค์
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1.  การออกแบบ 2.  การเขียนแผน 3.  การประเมินผล การออกแบบ .. หน่วยการเรียนรู้ 1.  ชื่อหน่วยการเรียนรู้ -  น่าสนใจ  -  ประเด็นปัญหา -  ข้อคำถาม -  ข้อโต้แย้ง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],2.  มาตรฐานการเรียนรู้  /  ตัวชี้วัด ต้องมีความสอดคล้องสัมพันธ์กันและ นำมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันได้ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1.  การออกแบบ 2.  การเขียนแผน 3.  การประเมินผล การออกแบบ .. หน่วยการเรียนรู้ 3.  สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด ได้จากการวิเคราะห์แก่นความรู้ แต่ละมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด รวมถึงสาระการเรียนรู้จากการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ 5.  สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน สมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร แกนกลางและทักษะกระบวนการ ตามธรรมชาติของแต่ละวิชา 4.  สาระการเรียนรู้ตามตัวชี้วัด -  สาระการเรียนรู้แกนกลาง -  สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
7.  ชิ้นงาน / ภาระงาน ต้องสะท้อนถึงความสามารถ ของผู้เรียนจากการใช้ความรู้หรือ ทักษะที่กำหนดไว้ การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1.  การออกแบบ 2.  การเขียนแผน 3.  การประเมินผล การออกแบบ .. หน่วยการเรียนรู้ 6.  ลักษณะอันพึงประสงค์ ลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร แกนกลาง  จุดเน้นของเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา  และกลุ่มสาระการเรียนรู่ 8.  การวัดและประเมินผล ต้องครอบคลุมกิจกรรมการเรียนรู้ และต้องเชื่อมโยงกับมาตรฐาน การเรียนรู้ / ตัวชี้วัด การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1.  การออกแบบ 2.  การเขียนแผน 3.  การประเมินผล การออกแบบ .. หน่วยการเรียนรู้ 9.  กิจกรรมการเรียนรู้ ที่นำผู้เรียนไปสู่การสร้างชิ้นงาน  /  ภาระงาน และสอดแทรกด้วยสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน กระบวนการตามธรรมชาติของวิชา 10.  เวลาเรียน  /  จำนวนชั่วโมง เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรู้ สอดคล้องกับจำนวนมาตรฐาน การเรียนรู้ / ตัวชี้วัด การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1.  การวางแผน 2.  การเขียนแผน 3.  การประเมินผล การจัดกลุ่ม องค์ประกอบ ของหน่วยการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่  1  ชื่อหน่วยการเรียนรู้   กลุ่มที่  2  เป้าหมายการเรียนรู้ -  มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด -  สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด -  สาระการเรียนรู้ -  สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน -  คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กลุ่มที่  3  หลักฐานการเรียนรู้ -  ชิ้นงาน / ภาระงาน -  การวัดและประเมินผล   กลุ่มที่  4  กิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มที่  5  เวลา
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1.  การวางแผน 2.  การเขียนแผน 3.  การประเมินผล ขั้นตอน การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ 1.  กำหนดหัวข้อเรื่อง (theme) ที่จะสอน โดยศึกษาจากหลักสูตรและวิเคราะห์  ความสัมพันธ์ของเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกัน 3.  กำหนดเนื้อหาย่อย  สำหรับกิจกรรม การเรียนการสอนที่สอดคล้องและ สนองตอบจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ กำหนดไว้ 2.  กำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ โดยศึกษาวัตถุประสงค์ของวิชาหลัก และวิชารองที่จะนำมาบูรณาการ  การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1.  การวางแผน 2.  การเขียนแผน 3.  การประเมินผล ขั้นตอน การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 4.  วางแผนการสอน  เป็นการกำหนดรายละเอียด ของกระบวนการเรียนการสอนตั้งแต่ต้นจนจบ  โดยเขียนเป็นแผนการจัดการเรียนรู้  ซึ่งมีองค์ประกอบดังนี้  -  สาระสำคัญ -  จุดประสงค์ -  เนื้อหา -  กิจกรรมการเรียนการสอน -  สื่อการเรียนการสอน -  การวัดและการประเมิน 5.  ปฏิบัติการสอน   ตามแผนที่กำหนดไว้ 6.  ประเมินผล / ปรับปรุง   และพัฒนาการเรียนการสอน
แนวทาง  การเขียนแผนการจัด การเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1.  การวางแผน 2.  การเขียนแผน 3.  การประเมินผล การเขียนแผน การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ 1.  การเขียนแผนของครูผู้สอนแต่ละคน ซึ่งได้เขียนแผนเป็นปกติอยู่แล้ว และ นำมาเชื่อมโยงบูรณาการต่อเนื่องกันได้ 2.  การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้จากการ ร่วมกันวางแผนของครูผู้สอนแต่ละกลุ่ม สาระการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1.  การวางแผน 2.  การเขียนแผน 3.  การประเมินผล 1.  ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้ 2.  ข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียน 3.  วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 4.  สาระสำคัญ 5.  สาระการเรียนรู้ 6.  กิจกรรมการเรียนรู้ 7.  สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ การเขียนแผน การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ องค์ประกอบ ของแผนการจัด การเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
พัก สายตา
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1.  การวางแผน 2.  การเขียนแผน 3.  การประเมินผล การประเมินผล การเรียนรู้แบบบูรณาการ 1.  การประเมินผลจากการปฏิบัติ (Performance Assessment)   2.  การประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment)   แนวทาง  การประเมินผล การเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1.  การวางแผน 2.  การเขียนแผน 3.  การประเมินผล 1.  สะท้อนภาพพฤติกรรมและทักษะที่จำเป็น 2.  ใช้เทคนิคการประเมินหลากหลาย 3.  เน้นการแสดงออกการสร้างสรรค์ ความคิดชั้นสูง 4.  ผลสัมฤทธิ์เกิดจากการสอนที่สอดคล้องกับสภาพจริง 5.  คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล 6.  เน้นการมีส่วนร่วมในการประเมินจากหลายฝ่าย ลักษณะ ของการวัดและประเมินผล การเรียนรู้แบบบูรณาการ การประเมินผล การเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1.  การวางแผน 2.  การเขียนแผน 3.  การประเมินผล เทคนิค ของการวัดและประเมินผล การเรียนรู้แบบบูรณาการ การประเมินผล การเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1.  การสังเกต 2.  การบันทึกประจำวัน 3.  การตอบปากเปล่า 4.  การเขียนเรียงความ 5.  การประเมินตนเอง 6.  การประเมินกลุ่ม 7.  การสัมภาษณ์ 8.  การสัมภาษณ์กลุ่ม 9.  การใช้แฟ้มสะสมงาน 10.  การให้คะแนนแบบรูบิค 11.  การสนองตอบ 12.  การใช้แบบทดสอบ
การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1.  การวางแผน 2.  การเขียนแผน 3.  การประเมินผล การประเมินผล การเรียนรู้แบบบูรณาการ บรูบิคการให้คะแนน  (Scoring Rubrics) ? ? การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
พัก สายตา

More Related Content

What's hot

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วยบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วยPloykarn Lamdual
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำKu'kab Ratthakiat
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3ทศพล พรหมภักดี
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4Sombom
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงkasetpcc
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 

What's hot (20)

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่ายPptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วยบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 

Similar to สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)

รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการcomputer1437
 
หลักสูตรบูรณาการ
หลักสูตรบูรณาการหลักสูตรบูรณาการ
หลักสูตรบูรณาการwassana55
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการการจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการWeerachat Martluplao
 
Integrative
IntegrativeIntegrative
IntegrativeBunsasi
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3kanwan0429
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3kanwan0429
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือKrumath Pawinee
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานcartoon656
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานcartoon656
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมMuntana Pannil
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมMuntana Pannil
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานnichaphat22
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยMuBenny Nuamin
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานwichaya222
 

Similar to สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65) (20)

รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการ
 
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
 
หลักสูตรบูรณาการ
หลักสูตรบูรณาการหลักสูตรบูรณาการ
หลักสูตรบูรณาการ
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการการจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
 
2.2
2.22.2
2.2
 
Integrative
IntegrativeIntegrative
Integrative
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
พหุปัญญา
พหุปัญญาพหุปัญญา
พหุปัญญา
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 

สื่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ(65)

  • 1. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ INTEGRATED LEARNING MANGEMENT INTEGRATED LEARNING MANGEMENT INTEGRATED LEARNING MANGEMENT INTEGRATED LEARNING MANGEMENT INTEGRATED LEARNING MANGEMENT
  • 2. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ การบูรณาการ 1. บูรณาการ หมายถึง การจัดการเรียนรู้โดยใช้ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในศาสตร์หรือวิชาต่างๆ มากกว่า 1 วิชาขึ้นไปรวมเข้าด้วยกัน ภายใต้เรื่องราวโครงการหรือกิจกรรมเดียวกัน เพื่อแก้ปัญหาหรือ แสวงหาความรู้ความเข้าใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ( กรมวิชาการ , 2544) ความหมาย ของการบูรณาการ 2. บูรณาการ เป็นการสร้างความรู้และประสบการณ์ขึ้นใหม่ ในลักษณะ ของการผสมผสานเข้าด้วยกันทั้งหมดเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ และสภาพชีวิตจริงของผู้เรียน ( Bean. 1991 ) 1. ความหมาย 2. ความสำคัญ 3. หลักสำคัญ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
  • 3. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ การบูรณาการ ความหมาย ของการบูรณาการ 3. บูรณาการ หมายถึง การนำเนื้อหาสาระที่มีความเกี่ยวข้องกันมาสัมพันธ์ ให้เป็นเรื่องเดียวกันและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ ลักษณะที่เป็นองค์รวมและนำความรู้ความเข้าไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ( ทิศนา แขมมณี . 2545) 4. บูรณาการ เป็นความพยายามที่จะหาความสัมพันธ์ระหว่าง เนื้อหา ของหลาย ๆ วิชากับหัวข้อเรื่อง ความคิดรวบยอด หรือปัญหาที่ต้องการ ให้ผู้เรียนศึกษา ( Johnson. 1994 ) 1. ความหมาย 2. ความสำคัญ 3. หลักสำคัญ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
  • 4. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ การบูรณาการ ความสำคัญ ของการบูรณาการ 1. ธรรมชาติและชีวิตจริง ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนมีความสัมพันธ์กัน เรื่องราวต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันเป็นไปแบบเชื่อมโยงกัน ในธรรมชาติไม่ได้แยกความรู้ออกเป็นแท่งๆ หรือท่อน ๆ หรือวิชา การดำเนินชีวิตของมนุษย์และสังคมจึงเป็นไปแบบองค์รวม โดยนำความรู้ต่าง ๆ ผสมผสานเข้าด้วยกันทั้งที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ 1. ความหมาย 2. ความสำคัญ 3. หลักสำคัญ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
  • 5. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ การบูรณาการ ความสำคัญ ของการบูรณาการ 2. โลกที่สลับซับซ้อน การบูรณาการ มีความจำเป็นและสำคัญ อย่างยิ่งในโลกยุคใหม่ที่ปัจจัยต่าง ๆ มีความเชื่อมโยงและซับซ้อน ความสามารถในการคิดเชิงบูรณาการจะช่วยให้เราพิจารณาสิ่งต่าง ๆ ได้อย่างครบถ้วนและสามารถนำสิ่งที่ดีที่มีอยู่ในบริเวณแวดล้อม มาช่วยสร้างความสมบูรณ์และความสำเร็จในสิ่งที่ต้องการได้ ( เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ . 2546) 1. ความหมาย 2. ความสำคัญ 3. หลักสำคัญ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
  • 6. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ การบูรณาการ หลักสำคัญ ของการบูรณาการ 1. ความหมาย 2. ความสำคัญ 3. หลักสำคัญ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. การเชื่อมโยง เป็นการนำสิ่งหนึ่งหรือหลาย ๆ สิ่งมาเชื่อมโยงกับสิ่งหนึ่งที่อยู่ในลักษณะแกนกลาง ทำให้เกิดเป็นเครือข่ายที่แสดงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน 2. การรวมกัน เป็นการนำสิ่งต่าง ๆ ตั้งแต่สอง สิ่งขึ้นไปมารวมกัน เพื่อทำให้เกิดความสมบูรณ์ขึ้นกว่า เดิม และสามารถใช้ประโยชน์จากสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้น ร่วมกันได้ 3. การประสาน เป็นการทำให้สิ่งต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ เฉพาะอย่างเฉพาะตนประสานสอดคล้องกับสิ่งอื่น ๆ อย่างกลมกลืนเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน 4. การผนวก เป็นการผสมผสานสิ่งหนึ่งเข้ากับอีกสิ่ง หนึ่งอย่างอย่างสมบูรณ์ และทำให้สิ่งที่อยู่ในภาพรวม ดีขึ้นกว่าส่วนที่แยกกันอยู่ 5. การเติมเต็ม เป็นการเพิ่มเติมสิ่งที่บกพร่องหรือ ขาดหายไปให้สมบูรณ์ขึ้น การเชื่อมโยง การรวมกัน การประสาน การเติมเต็ม การผนวก หลักสำคัญ ของการบูรณาการ
  • 7. คำถาม ? 3. หลักสำคัญของการบูรณาการมีอะไรบ้าง ? 2. คำว่า “บูรณาการ” แปลว่า อะไร ? 1. จงยกตัวอย่างสนับสนุนคำพูดต่อไปนี้ให้ชัดเจน ? “ ในธรรมชาติและชีวิตจริงทุกสิ่งเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน” การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
  • 8. คำตอบ 3. หลักสำคัญของการบูรณาการมีดังนี้ 1. การเชื่อมโยง 2. การประสาน 3. การรวมกัน 4. การเติมเต็ม 5. การผนวก 2. คำว่า “บูรณาการ” แปลว่า ความสมบูรณ์ 1. “ ข้าวราดแกง 1 จาน” ใช้ความรู้หรือศาสตร์หลายด้าน เช่น ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ สังคมฯ สุขศึกษาฯ การงานอาชีพ ภาษาต่างประเทศ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
  • 10. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ความจำเป็น ในการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการ 1. ธรรมชาติและชีวิตจริงมีลักษณะบูรณาการ 2. การแก้ปัญหาต้องใช้ความรู้แบบองค์รวม 3. การเชื่อมโยงศาสตร์ต่าง ๆ ทำเกิดการถ่ายโอนความรู้ 4. สาระในหลักสูตรมีความซ้ำซ้อนและหลากหลาย 5. สนองตอบแนวคิดเกี่ยวกับพหุปัญญา การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. คุณค่า 3. ประโยชน์ 4. ลักษณะ 5. ประเภท 6. รูปแบบ
  • 11. จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) 1. เนื้อหาในหลักสูตรต้องไม่เป็นรายวิชาต่าง ๆที่แยกออกมาจากชีวิตจริง ของเด็กและเยาชน การผสมผสานวิชาต่างๆ ทำให้เกิดความเข้าใจได้มากขึ้น 2. หลักสูตรโรงเรียนควรเน้นที่การพัฒนาทัศนคติและความสนใจใหม่ จากการ ได้รับประสบการณ์ต่างๆ 3. ครูต้องพัฒนาการใฝ่รู้ ใฝ่เรียนแก่ผู้เรียน 4. ครูและนักเรียนต้องทำงานในลักษณะของการเรียนรู้ร่วมกัน 5. ครูต้องพัฒนานักเรียนให้รู้บทบาทของตนเองและการมีส่วนทำให้โลก สังคมที่ตนเองอยู่ดีขึ้น การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. คุณค่า 3. ประโยชน์ 4. ลักษณะ 5. ประเภท 6. รูปแบบ
  • 12. การบูรณาการ ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ .2542 การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
  • 13. มาตรา 6 “ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการ ดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นได้อย่างมีความสุข” ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ .2542 การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ มาตรา 6 มาตรา 22 มาตรา 23 มาตรา 24(4) การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. คุณค่า 3. ประโยชน์ 4. ลักษณะ 5. ประเภท 6. รูปแบบ
  • 14. ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ .2542 มาตรา 22 “ การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคน มีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียน มีความสำคัญที่สุด” มาตรา 23 “ การจัดการศึกษาต้องยึดทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้น ความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และ บูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา” การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ มาตรา 6 มาตรา 22 มาตรา 23 มาตรา 24(4) การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. คุณค่า 3. ประโยชน์ 4. ลักษณะ 5. ประเภท 6. รูปแบบ
  • 15. มาตรา 24 (4) “ การจัดการเรียนการสอนโดยผสมผสาน สาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้ง ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ไว้ในทุกวิชา” ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ .2542 การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ มาตรา 6 มาตรา 22 มาตรา 23 มาตรา 24(4) การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. คุณค่า 3. ประโยชน์ 4. ลักษณะ 5. ประเภท 6. รูปแบบ
  • 16. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ คุณค่า ของการบูรณาการ 1. ผู้เรียนเรียนรู้จากชีวิตจริง 2. เกิดการถ่ายโอนการเรียนรู้ 3. สนองตอบความแตกต่างระหว่างบุคคล 4. ลดความซ้ำซ้อนของเนื้อหาสาระ 5. แก้ปัญหาการขาดแคลนครู การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. คุณค่า 3. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ
  • 17. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ประโยชน์ ของการบูรณาการ 1. ช่วยให้ผู้เรียนมองเห็นเนื้อหาเรื่องราวต่างๆ เป็นองค์รวม 2. ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงเนื้อหาได้หลากหลายมิติหลายแนวทาง 3. ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้เนื้อหาและวิธีการได้ตลอดชีวิต 4. ทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง 5. ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 6. ช่วยให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. คุณค่า 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ
  • 18. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ประโยชน์ ของการบูรณาการ 7. ส่งเสริมกระบวนการคิดวิเคราะห์ข้อมูลอย่างกว้างขวาง อันจะนำไปสู่การแก้ปัญหาได้อย่างรอบคอบ 8. ส่งเสริมการดำรงชีวิตในระบอบประชาธิปไตย โดยคำนึง ถึงการอยู่ร่วมกันของตนเองและผู้อื่นแบบองค์รวม 9. ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจสภาพปัญหาของสังคม และแนวทาง การป้องกัน แก้ปัญหา และพัฒนาได้อย่างเหมาะสม 10. ช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะที่จำเป็นให้เกิดความคิดรวบยอด ได้กระจ่างชัดขึ้น การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. คุณค่า 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ
  • 19. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ลักษณะ ของการบูรณาการ 1. การบูรณาการเชิงเนื้อหาสาระ 2. การบูรณาการเชิงวิธีการ 3. การบูรณาการความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ 4. การบูรณาการความรู้ ความคิดกับคุณธรรม 5. การบูรณาการความรู้กับการปฏิบัติ 6. การบูรณาการความรู้ในโรงเรียนกับ ชีวิตจริงของผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ
  • 20. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ .. ตัวอย่าง .. การบูรณาการเชิงเนื้อหาสาระ ความรู้เรื่องไผ่ ลักษณะของไผ่ การขยายพันธุ์ไผ่ ชนิดของไผ่ ประโยชน์ของไผ่ ผลผลิตจากไผ่ ต้นไผ่ หน่อไม้ หน่อไม้สด หน่อไม้แปรรูป งานจักสาน งานโครงสร้าง งานประดิษฐ์ คำศัพท์ภาษอังกฤษ ที่เกี่ยวกับไผ่ อาชีพเกี่ยวกับไผ่ ไผ่กับการเรียนรู้ อาหาร เครื่องใช้ ค้าขาย รับจ้าง การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ ไผ่แสนกล
  • 21. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ .. ตัวอย่าง .. การบูรณาการเชิงวิธีการ ความรู้ การบรรยาย การอภิปราย การสนทนา การใช้คำถาม การศึกษานอกสถานที่ พอประมาณ ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี เหตุผล บทบาทสมมุติ การจัดนิทรรศการ คุณธรรม สถานการณ์จำลอง การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ เศรษฐกิจพอเพียง
  • 22. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ .. ตัวอย่าง .. การบูรณาการความรู้กับกระบวนการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ พ่อขุนรามคำแหงมหาราช กระบวนการเรียน แบบโครงงาน กระบวนการเรียน แบบสร้างความคิด กระบวนการเรียน แบบเสาะแสวงหา กระบวนการเรียน แบบร่วมมือ กระบวนการเรียน แบบเป็นทีม กระบวนการเรียน แบบแก้ปัญหา
  • 23. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ .. ตัวอย่าง .. การบูรณาการความรู้คู่คุณธรรม การดำรงชีวิต อยู่ในสังคมและ สิ่งแวดล้อมได้ อย่างมีความสุข ความรู้ ความรู้ ความรู้ ความรู้ คุณธรรม คุณธรรม คุณธรรม คุณธรรม การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ
  • 24. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ .. ตัวอย่าง .. การบูรณาการความรู้กับการปฏิบัติ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ การเรียนรู้ ที่สมบูรณ์ ครบถ้วน ปฏิบัติ เทคนิค ความชำนาญ ทฤษฎี หลักการ แนวคิด ปฏิเวท ปฏิเวท ปฏิเวท ปฏิเวท
  • 25. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ .. ตัวอย่าง .. การบูรณาการความรู้ในโรงเรียน กับชีวิตจริงของผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ การเรียนรู้ เนื้อหาหลักสูตร ในโรงเรียน การเรียนรู้ วิถีชีวิตใน ชีวิตประจำวัน การแก้ปัญหา ในชีวิตจริง ทฤษฎี ทฤษฎี ปฏิบัติ ปฏิบัติ
  • 27. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ประเภท ของการบูรณาการ 1. การบูรณาการหลักสูตร 1.1 การบูรณาการภายในวิชา (intradisciplinary) 1.2 การบูรณาการระหว่างวิชา (interdisciplinary) 2. การบูรณาการการเรียนการสอน 2.1 การสอนแบบสอดแทรก (infusion) 2.2 การสอนแบบคู่ขนาน (parallel) 2.3 การสอนแบบพหุวิทยาการ (multidisciplinary) 2.4 การสอนแบบเป็นทีม (trans-disciplinary) การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ
  • 28. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ประเภท ของการบูรณาการ ทักษะการพูด - อธิบาย - พูดซักถาม - สนทนา - อภิปราย การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION หลักสูตรบูรณาการ 1. การบูรณาการภายในวิชา (intradisciplinary instruction) เป็นการเชื่อมโยงเนื้อหาสาระในกลุ่มประสบการณ์หรือรายวิชาเดียวกัน เข้าด้วยกัน ภายใต้หัวข้อเรื่อง (theme) หรือหน่วยการเรียน (learning unit) เดียวกัน 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ วรรณคดี เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ทักษะการอ่าน - ในใจ - ทำนองเสนาะ - จับใจความ - ออกเสียง ทักษะการเขียน - เรียงความ - เขียนนิทาน - เขียนแสดงความคิดเห็น ทักษะการฟัง - ฟังอธิบาย - ฟังการพูดคุย - ฟังการสนทนา - ฟังนิทาน
  • 29. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ประเภท ของการบูรณาการ หลักสูตรบูรณาการ 2. การบูรณาการระหว่างวิชา (interdisciplinary instruction) เป็นการเชื่อมโยงเนื้อหาสาระจากหลายกลุ่มประสบการณ์หรือหลายรายวิชา เข้าด้วยกัน ภายใต้หัวข้อเรื่อง (theme) หรือหน่วยการเรียน (learning unit) เดียวกัน วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ สุขศึกษา สังคมฯ การงานอาชีพฯ ภาษาอังกฤษ ศิลปะ สัตว์เลี้ยง ในชุมชน ลักษณะ ประโยชน์ - การเคลื่อนไหว ร่างกาย และการ ทรงตัว ขณะวิ่ง - การร้องเพลง - การทำท่า - ประกอบเพลง - การวาดภาพ ชุมชน - การพูดทักทาย - การขอบคุณ - การกล่าวลา การเทียบอัตราส่วน - การวัดระยะทาง - การนับจำนวน - การสังเกต - การสนทนา - การอภิปราย - การฟัง - การอ่านข่าว - การเขียนคำ การทำงานบ้าน การปลูกต้นไม้ บุคคลในชุมชน สิ่งน่ารู้ ในชุมชน บทบาท หน้าที่ ข่าวและ เหตุการณ์ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ ชุมชนน่าอยู่
  • 30. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ประเภท ของการบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION การเรียนการสอนแบบบูรณาการ 1. การสอนแบบสอดแทรก (infusion) ครูผู้สอน .... คนเดียว วิธีการ ....... สอดแทรกเนื้อหาสาระการเรียนรู้วิชาอื่น ๆ เข้ามาผสมผสานในเนื้อหาที่กำลังทำการสอน ผู้เรียน ....... ได้รับความรู้จากครูคนเดียว มองเห็น ความสัมพันธ์จากการสอดแทรกเชื่อมโยงของครู จุดอ่อน ..... ไม่มีครูผู้ใดที่มีความถนัดหรือเชี่ยวชาญในทุก กลุ่มสาระการเรียนรู้หรือทุกวิชา 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ หัวข้อเรื่อง สิ่งแวดล้อม รอบตัวเรา ครูสอนคนเดียว การสร้างแผนภูมิ / แผนสถิติ ทักษะการจัดข้อมูล ทักษะการจัดข้อมูล การอยู่ร่วมกัน ทักษะการคิด ความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้อง
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34. การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ รูปแบบ ของการบูรณาการ กลุ่มที่ 1 การบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน กลุ่มที่ 2 การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มที่ 3 การบูรณาการภายในตัวผู้เรียนและการประสานกันระหว่างผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3
  • 35. การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่ 1 การบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน 1. รูปแบบที่แยกออกเป็นส่วนๆ (Fragment Model) 2. รูปแบบเชื่อมโยง (Connected Model) 3. รูปแบบซ้อนกัน (Nested Model) รูปแบบ ของการบูรณาการ 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3
  • 36. การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่ 1 การบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน 1. รูปแบบที่แยกออกเป็นส่วนๆ (Fragment Model) การบูรณาการภายในกลุ่มสาระ การเรียนรู้เดียวกัน ไม่เชื่อมโยง สัมพันธ์กับกลุ่มอื่นๆ แต่สร้าง สัมพันธ์ต่อเนื่องในวิชาที่สอน โดยเรียงลำดับหัวข้อเรื่องตาม ความเหมาะสม เช่น จากง่ายไป ยาก จากความซับซ้อนน้อยไป หาความซับซ้อนมาก เป็นต้น รูปแบบ ของการบูรณาการ 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
  • 37. การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่ 1 การบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน 2. รูปแบบการเชื่อมโยง (Connected Model) รูปแบบ ของการบูรณาการ 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 คณิตศาสตร์ เศษส่วน ระบบเงิน ทศนิยม เป็นการบูรณาการภายในกลุ่มสาระ การเรียนรู้เดียวกัน เหมือนกับรูปแบบ 1 ไม่เชื่อมโยงสัมพันธ์กับกลุ่มอื่นๆ แต่เชื่อมโยงกับหัวข้อเรื่องที่เกี่ยวข้องกัน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน รูปแบบนี้เป็นจุดเริ่มต้นของ การบูรณาการอย่างแท้จริง
  • 38. การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่ 1 การบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน 3. รูปแบบซ้อนกัน (Nested Model) รูปแบบ ของการบูรณาการ 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 เป็นการบูรณาการภายในกลุ่มสาระ การเรียนรู้เดียวกัน แต่เพิ่มความสัมพันธ์ ที่เกี่ยวข้องมากขึ้น มีการเชื่อมโยงทักษะ หลายด้านให้สัมพันธ์กัน ได้แก่ ทักษะทางสังคม ทักษะการคิด และ ทักษะส่วนเนื้อหา ปัจจัยการดำรง ชีวิตอยู่ของพืช ทักษะด้านการคิด ทักษะด้านเนื้อหา ทักษะด้านสังคม ความสัมพันธ์กัน การสังเคราะห์แสง การอยู่ร่วมกัน
  • 39. การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่ 2 การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ 1. รูปแบบการเรียงลำดับ (Sequenced Model) 2. รูปแบบมีส่วนร่วมกัน (Shared Model) 3. รูปแบบการโยงใย (Webbed Model) 4. รูปแบบร้อยด้าย (Threaded Model) 5. รูปแบบการบูรณาการ (Integrated Model) รูปแบบ ของการบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3
  • 40.
  • 41. การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่ 2 การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2. รูปแบบมีส่วนร่วมกัน (Shared Model) รูปแบบ ของการบูรณาการ 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 เป็นการบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2 กลุ่ม โดยยึดความคิดรวบยอด (concept) ทักษะ (skill) และ เจตคติ (attitude) เป็นตัวเชื่อมสองวิชาเข้าด้วยกัน ครูทั้งสองคนวางแผนร่วมกันในส่วนที่คาบเกี่ยวกัน อาจจัดสอนเป็นหัวข้อร่วมกันหรือทำโครงการร่วมกัน ส่วนที่ไม่คาบเกี่ยวกันแยกสอนตามปกติ การสังเคราะห์แสง ระบบนิเวศ การอนุรักษ์ธรรมชาติ ตารางการเปลี่ยนแปลง วัฏจักร ( ความคิดรวบยอด ) ความคาดหวัง ( เจตคติ ) ลำดับเหตุการณ์ ( ทักษะ ) การสัมภาษณ์ วงจรชีวิต สิ่งที่คาดหวัง ผลที่เกิดตามมา วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ
  • 42. การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่ 2 การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ 3. รูปแบบการโยง (Webbed Model) การประดิษฐ์ รูปแบบ ของการบูรณาการ 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 เป็นการบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตั้งแต่ 2 กลุ่ม ขึ้นไปโดยครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระ การเรียนรู้วางแผนร่วมกัน กำหนดหัวเรื่อง (theme) แล้วเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาสาระของกลุ่มสาระ การเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เห็นว่าสัมพันธ์กันคล้ายคลึงกัน การบูรณาการแบบนี้จะบูรณาการระหว่าง กลุ่มสาระการเรียนรู้ใดก็ได้ ศิลปะ - ออกแบบ เขียนแบบเกี่ยวกับ เครื่องยนต์ คอมพิวเตอร์ - สร้างแผนภูมิ สายงาน วิทยาศาสตร์ - ศึกษาการสร้าง เครื่องยนต์ ภาษาไทย - การอ่านเกี่ยวกับ นักประดิษฐ์
  • 43. การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่ 2 การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ 4. รูปแบบร้อยด้าย (Threaded Model) รูปแบบ ของการบูรณาการ 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 เป็นการบูรณาการที่ใช้ในการฝึกทักษะ อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการตั้งคำถาม โดยกำหนด เนื้อหาสาระหรือกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละกลุ่ม สาระ การเรียนรู้ให้สัมพันธ์กับทักษะที่กำหนดขึ้น คณิตศาสตร์ หน่วย : สถิติ เหตุและผลของ การเปลี่ยนแปลง ของตัวแปร ต่างๆ สังคมศึกษา หน่วย : เหตุการณ์สำคัญ - สาเหตุของสงครามโลก - ผลของสงคราม - ผลที่เกิดขึ้นกับโลก วิทยาศาสตร์ หน่วย : นิเวศวิทยา - สาเหตุของมลพิษ อากาศ ดิน น้ำ - ผลที่เกิดขึ้น - การแก้ปัญหา ภาษาไทย หน่วย : อนุทินของแดง - สาเหตุของการเขียนอนุทิน - ผลของการเขียนอนุทิน
  • 44. การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่ 2 การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ 5. รูปแบบการบูรณาการ (Integrated Model) รูปแบบ ของการบูรณาการ 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 เป็นการบูรณาการแบบสหวิทยาการ โดยนำเอาความรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ อาจเป็นความคิดรวบยอด หรือทักษะที่คาบเกี่ยวกัน มาวางแผนการจัดการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม ร่วมกันสอนหรือมอบหมายให้ครูคนใดคนหนึ่งสอน ผู้เรียนทำงานชิ้นเดียวกัน และประเมินร่วมกัน การวิจัยการ เปรียบเทียบวัฎจักร ความขัดแย้งรูปแบบ การค้นพบ การสำรวจ การศึกษาวรรณกรรม - โครงสร้าง - ตัวละคร - การแก้ปัญหา วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศิลปะ ภาษาไทย นิเวศวิทยา - การสำรวจ - พืช - สัตว์ - เขตแดน ดนตรี - การวาดภาพระบายสี - การทำเซรามิก - การออกแบบ - การละคร - สิ่งประดิษฐ์ นักสำรวจ - การตั้งถิ่นฐาน - แผนที่ - การค้าขาย - การพัฒนา มนุษยชาติ วัฒนธรรม การสำรวจ การค้นพบ
  • 45. การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ กลุ่มที่ 3 การบูรณาการภายในตัวผู้เรียน และการประสานระหว่างผู้เรียน 1. รูปแบบที่ขยายให้ใหญ่ขึ้น (Immersed Model) 2. รูปแบบเครือข่าย (Networked Model) รูปแบบ ของการบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. ความจำเป็น 2. ประโยชน์ 3. ลักษณะ 4. ประเภท 5. รูปแบบ กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3
  • 46.
  • 47.
  • 49. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1. การวางแผน 2. การเขียนแผน 3. การประเมินผล หลักการ ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ 1. การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด 2. กำหนดประเด็นหรือหัวข้อเรื่อง จากสภาพปัญหา หรือสิ่งที่ผู้เรียนสนใจ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
  • 50. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1. การวางแผน 2. การเขียนแผน 3. การประเมินผล เทคนิค การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ 2. การจัดหน่วยการเรียนรู้ตามมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัด เป็นการวิเคราะห์ราย มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. การเชื่อมโยงมาตรฐานการเรียนรู้ - ตัวชี้วัด - สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3. การจัดการเรียนรู้ เพื่อนำไปสู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 4. การจัดการเรียนรู้ เพื่อนำไปสู่คุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • 51.
  • 52. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1. การออกแบบ 2. การเขียนแผน 3. การประเมินผล การออกแบบ .. หน่วยการเรียนรู้ 3. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด ได้จากการวิเคราะห์แก่นความรู้ แต่ละมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด รวมถึงสาระการเรียนรู้จากการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน สมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร แกนกลางและทักษะกระบวนการ ตามธรรมชาติของแต่ละวิชา 4. สาระการเรียนรู้ตามตัวชี้วัด - สาระการเรียนรู้แกนกลาง - สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
  • 53. 7. ชิ้นงาน / ภาระงาน ต้องสะท้อนถึงความสามารถ ของผู้เรียนจากการใช้ความรู้หรือ ทักษะที่กำหนดไว้ การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1. การออกแบบ 2. การเขียนแผน 3. การประเมินผล การออกแบบ .. หน่วยการเรียนรู้ 6. ลักษณะอันพึงประสงค์ ลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร แกนกลาง จุดเน้นของเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และกลุ่มสาระการเรียนรู่ 8. การวัดและประเมินผล ต้องครอบคลุมกิจกรรมการเรียนรู้ และต้องเชื่อมโยงกับมาตรฐาน การเรียนรู้ / ตัวชี้วัด การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
  • 54. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1. การออกแบบ 2. การเขียนแผน 3. การประเมินผล การออกแบบ .. หน่วยการเรียนรู้ 9. กิจกรรมการเรียนรู้ ที่นำผู้เรียนไปสู่การสร้างชิ้นงาน / ภาระงาน และสอดแทรกด้วยสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน กระบวนการตามธรรมชาติของวิชา 10. เวลาเรียน / จำนวนชั่วโมง เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรู้ สอดคล้องกับจำนวนมาตรฐาน การเรียนรู้ / ตัวชี้วัด การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
  • 55. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1. การวางแผน 2. การเขียนแผน 3. การประเมินผล การจัดกลุ่ม องค์ประกอบ ของหน่วยการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION กลุ่มที่ 1 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ กลุ่มที่ 2 เป้าหมายการเรียนรู้ - มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด - สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด - สาระการเรียนรู้ - สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กลุ่มที่ 3 หลักฐานการเรียนรู้ - ชิ้นงาน / ภาระงาน - การวัดและประเมินผล กลุ่มที่ 4 กิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มที่ 5 เวลา
  • 56. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1. การวางแผน 2. การเขียนแผน 3. การประเมินผล ขั้นตอน การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ 1. กำหนดหัวข้อเรื่อง (theme) ที่จะสอน โดยศึกษาจากหลักสูตรและวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ของเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกัน 3. กำหนดเนื้อหาย่อย สำหรับกิจกรรม การเรียนการสอนที่สอดคล้องและ สนองตอบจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ กำหนดไว้ 2. กำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ โดยศึกษาวัตถุประสงค์ของวิชาหลัก และวิชารองที่จะนำมาบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
  • 57. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1. การวางแผน 2. การเขียนแผน 3. การประเมินผล ขั้นตอน การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 4. วางแผนการสอน เป็นการกำหนดรายละเอียด ของกระบวนการเรียนการสอนตั้งแต่ต้นจนจบ โดยเขียนเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งมีองค์ประกอบดังนี้ - สาระสำคัญ - จุดประสงค์ - เนื้อหา - กิจกรรมการเรียนการสอน - สื่อการเรียนการสอน - การวัดและการประเมิน 5. ปฏิบัติการสอน ตามแผนที่กำหนดไว้ 6. ประเมินผล / ปรับปรุง และพัฒนาการเรียนการสอน
  • 58. แนวทาง การเขียนแผนการจัด การเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1. การวางแผน 2. การเขียนแผน 3. การประเมินผล การเขียนแผน การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ 1. การเขียนแผนของครูผู้สอนแต่ละคน ซึ่งได้เขียนแผนเป็นปกติอยู่แล้ว และ นำมาเชื่อมโยงบูรณาการต่อเนื่องกันได้ 2. การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้จากการ ร่วมกันวางแผนของครูผู้สอนแต่ละกลุ่ม สาระการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
  • 59. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1. การวางแผน 2. การเขียนแผน 3. การประเมินผล 1. ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้ 2. ข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียน 3. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 4. สาระสำคัญ 5. สาระการเรียนรู้ 6. กิจกรรมการเรียนรู้ 7. สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ การเขียนแผน การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ องค์ประกอบ ของแผนการจัด การเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
  • 61. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1. การวางแผน 2. การเขียนแผน 3. การประเมินผล การประเมินผล การเรียนรู้แบบบูรณาการ 1. การประเมินผลจากการปฏิบัติ (Performance Assessment) 2. การประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment) แนวทาง การประเมินผล การเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
  • 62. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1. การวางแผน 2. การเขียนแผน 3. การประเมินผล 1. สะท้อนภาพพฤติกรรมและทักษะที่จำเป็น 2. ใช้เทคนิคการประเมินหลากหลาย 3. เน้นการแสดงออกการสร้างสรรค์ ความคิดชั้นสูง 4. ผลสัมฤทธิ์เกิดจากการสอนที่สอดคล้องกับสภาพจริง 5. คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล 6. เน้นการมีส่วนร่วมในการประเมินจากหลายฝ่าย ลักษณะ ของการวัดและประเมินผล การเรียนรู้แบบบูรณาการ การประเมินผล การเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION
  • 63. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1. การวางแผน 2. การเขียนแผน 3. การประเมินผล เทคนิค ของการวัดและประเมินผล การเรียนรู้แบบบูรณาการ การประเมินผล การเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION 1. การสังเกต 2. การบันทึกประจำวัน 3. การตอบปากเปล่า 4. การเขียนเรียงความ 5. การประเมินตนเอง 6. การประเมินกลุ่ม 7. การสัมภาษณ์ 8. การสัมภาษณ์กลุ่ม 9. การใช้แฟ้มสะสมงาน 10. การให้คะแนนแบบรูบิค 11. การสนองตอบ 12. การใช้แบบทดสอบ
  • 64. การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 1. การวางแผน 2. การเขียนแผน 3. การประเมินผล การประเมินผล การเรียนรู้แบบบูรณาการ บรูบิคการให้คะแนน (Scoring Rubrics) ? ? การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ INSTRUCTIONAL INTEGRATION