SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
เรื่อง
บุคคลสําคัญในประเทศไทย เทียนวรรณ
วิชา ประวัติศาสตร์
จัดทําโดย
นาย ศุภวิชญ์ ภาคี
เลขที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๓
เสนอ
คุณครู สฤษดิ์ศักดิ์ ชิ้นเขมจารี
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด
ความเป็ นมาของเทียนวรรณ
 เทียนวรรณ (2385 - 2458) หรือ ต.ว.ส. วัณณาโภ ปัญญาชนคนสําคัญในสมัยรัชกาลที่
๕ เป็นผู้เรียกร้องระบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาและการปฏิรูปทางด้านสังคมอีกหลายข้อ
จนเป็นสาเหตุที่ทําให้รัฐบาลราชาธิปไตยจับเขาเข้าคุกถึง ๑๗ ปี
 มีนามเดิมว่า เทียน นามสกุล วัณณาโภ เกิดปี พ.ศ. ๒๓๘๕ ปลายสมัยรัชกาลที่ ๓ ที่ตําบล
บางขุนเทียน จังหวัดพระนคร พื้นฐานครอบครัวมาจากทหารและพลเรือน
 เริ่มเรียนหนังสือที่บ้าน เมื่ออายุได้ ๘ ขวบจึงไปเรียนหนังสือไทยและหนังสือขอมกับพระที่วัด
โพธิ์ พร้อมทั้งได้วิชามวยและเวทมนตร์คาถาป้ องกันตัวมาด้วย ตอนเด็กออกจะเป็นนักเลง
แต่ก็ไม่ข่มเหงใครก่อน ครั้นบิดาเสียอายุเมื่อเขาอายุได้ ๑๓ ปี มารดาได้แต่งงานใหม่ บิดา
เลี้ยงเป็นคนดีมีศีลธรรม จึงได้ค่อยกล่อมเกลาให้เขามีนิสัยอ่อนโยนขึ้น
 ครั้นเป็นหนุ่มอายุได้ ๑๘ ปีก็ได้ทํางานล่องเรือค้าขายไปถึงสวรรคโลกและกําแพงเพชร
ทํางานได้สักปีก็ได้งานในเรือกําปั่น ได้แล่นเรือไปถึงซัวเถา ฮ่องกง เอ้หมึง และเซี่ยงไฮ้ ถือได้
ว่าเป็นช่วงสั่งสมประสบการณ์อันดียิ่ง
 พออายุ ๒๐ ปี จึงได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุที่วัดบวรนิเวศฯ โดย
มีสมเด็จฯกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นสมเด็จอุปัชฌาย์
และ สมเด็จพระสังฆราช(สา) ขณะดํารงสมณศักดิ์ที่พระสาสน
โสภณเป็นคู่สวด อยู่จําพรรษาศึกษาเล่าเรียนอยู่ได้ ๕ ปี จึงขอลา
สิกขาบทเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๑ ในพรรษาสุดท้ายสมเด็จพระอุปัชฌาย์
ได้ทรงเปลี่ยนชื่อให้ใหม่ จาก เทียน เป็น วรรณ
 พ.ศ. ๒๔๑๕ ก็ได้เดินทางกลับจากจันทบุรี และประกอบอาชีพด้วยการค้า
ขายของป่ากับภรรยา ชื่อ เปี๊ยก ที่มาจากจันทบุรีด้วยกัน โดยตั้งร้าน
ขายของเบ็ดเตล็ดแถววัดมหรรณพาราม หน้าวังกรมหลวงสรรพ
สาตรศุภกิจ ช่วงที่เทียนวรรณใช้ชีวิตอยู่ที่ จ.จันทบุรีนั้น เทียนวรรณได้
ใช้เวลาศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย และได้ใช้ประโยชน์จากความ
ชํานาญนี้
 เมื่อกลับมากรุงเทพฯ โดยรับเป็นที่ปรึกษาของหนังสือพิมพ์สยามออฟ
เซอร์เวอร์ พร้อมกับตั้งสํานักงานทนายความ ชื่อ “ออฟฟิศอรรศนานุ
กูล” ที่บริเวณสี่แยกคอกวัว
 พ.ศ. ๒๔๒๖ เทียนวรรณถูกจับกุมฐานหมิ่นตราพระราชสีห์ ถูกตีหลัง
ด้วยหวาย ๕๐ ที หน้าพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในขณะอายุได้ ๔๑ ปี
พร้อมทั้งถูกจําครบ ๕ ประการ(เป็นเวลา ๒ ปี ๑๔ วัน) ครั้นถึงปี ร.ศ.
๑๑๐ (พ.ศ. ๒๔๓๔) จึงได้ถูกย้ายไปอยู่คุกใหม่
 เทียนวรรณติดคุกแบบฝากขังแล้วลืม เป็นเวลา ๑๖ ปี ๘ เดือน
จนกระทั่งพระบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ทรงสําเร็จ
การศึกษาและกลับมาดําเนินการปรับปรุงระบบศาล เมื่อทรงตรวจ
พบว่าเทียนวรรณถูกขังลืม จึงได้ทรงสั่งให้ปลดปล่อยเทียนวรรณออก
จากคุก เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๑
 เทียนวรรณมีอายุถึง ๕๗ ปีแล้ว ระหว่างที่อยู่ในคุกเทียนวรรณ ได้ใช้
เวลาว่างเขียนหนังสือประเภทความทางปรัชญาแนวคิดทางการเมืองไว้
เป็นจํานวนมาก ภายหลังออกจากคุกจึงออกหนังสือพิมพ์ ๒ หัวเรื่อง
คือ ตุลวิภาคพจนกิจ (รายปักษ์) และ ศิริพจนภาค (รายเดือน) แต่ไม่
ประสบความสําเร็จเท่าใดนัก ในระยะเวลาเดียวกัน เทียนวรรณก็ยัง
ออกหนังสือเล่มรายสะดวกอีก เป็นเล่มปลีกย่อยอีกมากมายหลายเล่ม
 เทียนวรรณถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ ขณะอายุได้ ๗๓ ปี ที่
บ้านในเวิ้งนครเขษม และได้ฌาปนกิจศพที่วัดชัยชนะสงคราม
ตระกูลของเทียนวรรณ ปัจจุบันนี้ใช้นามสกุลว่า “โปรเทียรณ์”
ชีวิตส่วนตัว
 เทียนวรรณเริ่มเห็นปัญหาว่า การที่พวกเจ้านายและผู้ดีมีเมีย
มาก เป็นบ่อเกิดแห่งความทุจริต เพราะต้องจับจ่ายใช้สอยมาก
รวมทั้งคนแก่ที่มีเมียมาก ก็ไม่สามารถให้ความสุขภรรยาได้
อย่างทั่วถึง
 เทียนวรรณ มีภรรยาทั้งหมด ๓ คน แต่ก็มีครั้งละคน คือ หย่า
หรือเลิกกับคนหนึ่งแล้วจึงมีคนถัดมา
งานเขียน
 เริ่มเขียนบทความชิ้นแรกเมื่ออายุได้ ๓๐ ปี โดยนําเสนอเกี่ยวกับการปรับปรุง
ราชการบ้านเมือง เสนอให้เลิกทาส เลิกการพนัน ปราบปรามทุจริตคอรัปชัน และ
เสนอให้มีสภาผู้แทน บทความเหล่านี้เขาส่งไปลงตีพิมพ์ตามหนังสือพิมพ์ต่าง ๆ หาก
หนังสือพิมพ์ไม่กล้าลงให้ เขาก็แจกให้คนมีฐานะไว้ตีพิมพ์เป็นหนังสืองานศพบ้าง
ตีพิมพ์เองบ้าง
 ตอนที่อยู่เมืองตราด อายุได้ ๓๓ ปี จึงได้ศึกษาวิชากฎหมายด้วยตนเองอย่างจริงจัง
โดยอ่านจากหนังสือภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และได้ประกอบอาชีพทนายความ
เป็นที่ปรึกษาทางกฎหมาย รับว่าความให้แก่คนยากคนจน เขายังได้เสนอเรื่องความ
เสมอภาคในสิทธิของสตรีอีกด้วย โดยเสนอรัฐบาลในการให้การศึกษาสตรีทัดเทียม
กับชาย
 เมื่อเทียนวรรณอายุได้ ๔๐ ปี ก็ถูกกลั่นแกล้ง โดยมีผู้กล่าวหาว่าเขาหมิ่นพระบรมเด
ชานุภาพ และหมิ่นประมาทเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงเกษตร จึงถูก
เฆี่ยน ๔๐ ที และจําคุกไว้อย่างไม่มีกําหนด ทั้งนี้ในช่วงแรก เขาถูกจับใส่ตรวนและขื่อ
คาทั้งที่ศรีษะ มือ และเท้า จนกระทั่งได้เขียนหนังสือร้องเรียนไปยังกรมหลวงราชบุรี
ฯ จึงได้มีคําสั่งให้ปลดโซ่ที่คอออกจากนักโทษทุกคน
 ช่วงที่ถูกจําคุกนี้ เขายังคงเขียนงานออกมาอย่างสมํ่าเสมอ ส่งไปตีพิมพ์ใน
หนังสือพิมพ์และวารสารต่าง ๆ รวมแล้วเป็นจํานวน ๒๘ เรื่องด้วยกัน
 ขุนหลวงพระยาไกรสรี(เปล่ง) ได้ช่วยเหลือวิ่งเต้นขอพระราชทานอภัยโทษ
ให้ได้สําเร็จ หลังจากเทียนวรรณถูกจําคุกเป็นเวลาถึง ๓๗ ปี
 แม้จะได้รับอิสรภาพเมื่ออายุมากแล้ว เขายังไม่หยุดการทํางาน ยังคงเปิด
สํานักงานทนายความ และทําหนังสือพิมพ์ "ตุลวิภาคพจนกิจ" ซึ่งหมายใจ
ว่าจะนําเสนอข่าวสารที่ตรงไปตรงมาดุจตราชั่ง กิจการหนังสือพิมพ์
ดําเนินอยู่ได้เพียงหกปีก็ต้องปิดตัวลงเพราะขาดทุน
 อย่างไรก็ตามเขาก็ยังมิย่อท้อในการนําเสนอความคิดต่อสังคม ยังคง
จัดพิมพ์หนังสือชุด ศิริพจนภาค จํานวน ๓๒ เล่ม ซึ่งเป็นการรวบรวมงาน
เขียนของเขาทั้งหมด ซึ่งมีอยู่หลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นความคิดเห็นด้าน
การเมือง วิจารณ์สังคม และวิจารณ์วรรณกรรม
ยกตัวอย่างงานเขียนของเทียนวรรณ
บทความเรื่อง "ว่าด้วยรัตน"
 รัตน ว่าคือ ความยินดีให้เกิดขึ้นหรือทําความประสงค์ให้สําเร็จ
 แบ่งรัตนไว้ดังนี้
 ๑. บุคคลที่มีความรู้ทั้งทางโลกและทางธรรมที่สามารถที่จะชักจูงให้ผู้อื่นได้รับ
ประโยชน์จากความรู้ของตัวบุคคลผู้นั้น ในที่นี้ท่านได้ยกตัวอย่าง พระพุทธเจ้า ซึ่งมี
การเกิด แก่ เจ็บ ตาย เช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป จะต่างกันแค่ ความบริสุทธิ์ ความ
ปรีชาสามารถ และความเมตตา
 ๒. ถ้อยคําหรือวาจาที่ได้กล่าวแนะนําสั่งสอนหรือห้ามปราม ในที่นี้ท่านได้กล่าวถึง
ธรรมของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นหนทางหรือเครื่องดําเนินให้ออกจากวัฏจักรของทุกข์
 ๓. หมู่ผู้ฟังที่สามารถรับรู้ความจริงและสามารถนําคําที่ได้รับฟังไปใช้ประโยชน์ได้
ตัวอย่างเช่น พราหมณ์ที่ได้ฟังธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้าจนดวงตาเห็นธรรม
 จากรัตนทั้ง ๓ ข้อนี้ซึ่งก็คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์หรือเรียกรวมกันว่าพระ
รัตนไตรนั่นเอง
บทความเรื่อง "ว่าด้วยกําลังใหญ่ ๓
ประการของบ้านเมือง" ท่านเทียนวรรณได้กล่าวเกี่ยวกับกําลังสําคัญที่จะทําให้ประเทศชาติเจริญรุ่งเรืองว่า
จะต้องมีกําลัง ๓ ประการ ดังนี้
 ๑. ปัญญาความรู้ ซึ่งทุกคนต้องมีไม่ว่าจะเป็นเจ้านายหรือราษฎร
 ๒. โภคทรัพย์สมบัติมาก หรือบ่อเกิดแห่งทรัพย์ ซึ่งเกิดด้วยปัญญาวิชาและความเพียร
ของพลเมืองในรัฐบาล
 ๓. มีราษฎรพลเมืองมากและพลเมืองเหล่านั้นต้องได้ฝึกหัดในการทหารและเล่าเรียน
หนังสือ
 แต่ท่านยังกล่าวอีกว่านอกจากกําลังทั้งสามที่ได้กล่าวไว้นี้ ยังไม่สามารถที่จะทําให้เจริญ
ได้ ถ้าทุกคนขาดความสามัคคี ซึ่งในเรื่องนี้ท่านได้ตําหนิคนไทยที่ไม่มีใครเอาใจใส่กัน มีแต่
จะคอยซํ้าเติมและกดขี่ข่มเหงกัน ซึ่งเป็นสาเหตุทําให้ความเจริญของประเทศล้าหลัง อีก
ทั้งยังได้เสนอเรื่องความสามุคคีไว้โดยได้แบ่งความสามัคคีออกเป็น 2 อย่างด้วยกันคือ
 ๑. สามัคคีโลก หมายถึง ความสามัคคีที่ทําให้พวกตนหรือฝ่ายตนเองได้รับประโยชน์
แต่อาจจะไปทําให้บุคคลที่ไม่ใช่ฝ่ายตนเสียหายโดยท่านได้ยกตัวอย่างเกี่ยวกับ พวกโจร ถ้า
มีความสามัคคีกันก็จะทําให้บุคคลอื่นได้รับความเดือดร้อน
 ๒. สามัคคีธรรม เป็นความสามัคคีที่ไม่ใช่เฉพาะฝ่ายตนเอง ไม่เข้าข้างเฉพาะฝ่ายตนเอง
จนทําให้บุคคลที่ไม่ใช่พวกตนเดือดร้อน ต้องทําใจให้มีที่ยึดเหนี่ยวในอารมณ์ เครื่องหน่วง
เหนี่ยวให้จิตสามารถที่จะระงับอารมณ์ได้
บทความเรื่อง “ว่าด้วยความที่เรียกว่าคนเหตุใด
จึงเรียกว่าคน”
 ท่านได้ให้ความหมายของคนไว้ว่า ทั่ว คือ ตลอดทั่ว รู้ตลอดทั่ว
ทําได้ตลอดทั่ว ไม่ใช่มีเพียงแต่รูปร่างหน้าตาเป็นคนแล้วจึง
เรียกว่าคน ซึ่งท่านได้ยกตัวอย่างในเรื่องนี้ไว้ว่า ตอนที่ท่าน
สนทนากับพระพนมสรรินทร์ ซึ่งได้สอนว่า ถ้าไปที่ไหนพบปะ
มนุษย์อยู่มากๆก็ให้ถามพวกเขาว่า ที่นี่มีคนหรือไม่ หรือถามว่า
ที่นี่มีมนุษย์หรือไม่ หรือถ้าไปวัดวาอารามมีภิกขุสามเณรมากๆ
ก็ให้ถามว่าในวัดนี้มีพระหรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่า การที่จะนับ
ถือใครว่าเป็นคนนั้น ไม่เพียงดูเฉพาะรูปร่างหน้าตาหรือลักษณะ
ภายนอกเพียงอย่างเดียว ต้องดูสิ่งที่อยู่ภายในจิตใจนั่นเอง
สรุปปรัชญาจากงานเขียนต่างๆของท่าน
เทียนวรรณ
 งานเขียนของเทียนวรรณนั้นจะเป็นงานเขียนที่เกี่ยวข้องกับ
การเมืองอีกทั้งยังนําเอาหลักต่างๆของพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็น
พื้นฐานดั้งเดิมของความคิดของชาวไทยมาใช้ในความคิดของ
ตนเอง ซึ่งพระพุทธศาสนานั้นก็จากความเป็นจริงของโลกใบนี้
จึงสามารถที่จะนํามาใช้ได้ในชีวิตประจําวันหรือนํามากับการ
ปกครองได้ ดังนั้นงานส่วนใหญ่จึงมีศาสนาเข้ามาเกี่ยวข้องใน
งานของท่าน เพราะอาจจะเกิดจากที่ท่านเคยได้บวชมา
แนวคิดด้านนโยบายของประเทศ
 ด้านนโยบายต่างประเทศ เขาแนะนําให้รัฐบาลไทยผูกมิตรไมตรี
กับจีน ญี่ปุ่ น อังกฤษ และเยอรมัน เพื่อต้านทานจักรพรรดินิยม
ฝรั่งเศส ในด้านการเมืองเขาเรียกร้องให้เปลี่ยนแปลง การ
ปกครองจากระบอบราชาธิปไตยมาเป็นประชาธิปไตย
 ด้านเศรษฐกิจ เขาเรียกร้องให้ยกเลิกบ่อนการพนัน ซึ่งเขาเห็น
ว่าทําให้พลเมืองโง่เขลา ถูกมอมเมา เกียจคร้าน และเป็นต้นเหตุ
แห่งความชั่วร้ายอื่นๆ ตามมา และเสนอให้ เอาเงินหลวงออกให้
ราษฎรกู้ไปทําทุน ส่งเสริมการตั้งโรงงาน การค้นคว้าทรัพยากร
ธรรมชาติ
 ด้านการศึกษา เขาเสนอให้รัฐจัดการศึกษาให้ไพร่ และสตรีอย่าง
เท่าเทียมกับผู้ดีและ บุรุษชักชวนให้ผู้มีเงินหันมาสร้างโรงเรียน
แทนวัด ต้านโครงสร้างสังคมที่เขาเห็นว่า ต้องปฏิรูประบบ
ราชการเพื่อปราบการทุจริตฉ้อฉล การเล่นพรรคเล่นพวก และ
ความไม่ยุติธรรม
เทียนวรรณ

More Related Content

What's hot

ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3พัน พัน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญาพิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญาniralai
 
อาณาจักรฟูนัน โดยเดือนฉาย แสวงสิน
อาณาจักรฟูนัน โดยเดือนฉาย  แสวงสินอาณาจักรฟูนัน โดยเดือนฉาย  แสวงสิน
อาณาจักรฟูนัน โดยเดือนฉาย แสวงสินKokoco Sea
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3Oae Butrawong Skr
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์Wichai Likitponrak
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...Sircom Smarnbua
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก Suparat2804
 
กลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศีกลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศีnetissfs
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
บทไหว้ครู
บทไหว้ครูบทไหว้ครู
บทไหว้ครูkashinova
 
สอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชียสอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชียKwandjit Boonmak
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยwiriya kosit
 

What's hot (20)

ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญาพิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
 
อาณาจักรฟูนัน โดยเดือนฉาย แสวงสิน
อาณาจักรฟูนัน โดยเดือนฉาย  แสวงสินอาณาจักรฟูนัน โดยเดือนฉาย  แสวงสิน
อาณาจักรฟูนัน โดยเดือนฉาย แสวงสิน
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
16
1616
16
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
 
9บทที่5
9บทที่5 9บทที่5
9บทที่5
 
กลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศีกลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศี
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
บทไหว้ครู
บทไหว้ครูบทไหว้ครู
บทไหว้ครู
 
สอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชียสอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชีย
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
 

Similar to เทียนวรรณ

ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถChoengchai Rattanachai
 
คีตกวีเอกของไทย.pdf
คีตกวีเอกของไทย.pdfคีตกวีเอกของไทย.pdf
คีตกวีเอกของไทย.pdfpinglada
 
ตัวละครในกัณฑ์ชูชก
ตัวละครในกัณฑ์ชูชกตัวละครในกัณฑ์ชูชก
ตัวละครในกัณฑ์ชูชกnnbtt
 
Satu
SatuSatu
Satunnbtt
 
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไรจะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไรThongkum Virut
 
พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ
พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ
พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณSUPARAT NONKEAW
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชChoengchai Rattanachai
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยThanawut Rattanadon
 
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อguidekik
 

Similar to เทียนวรรณ (19)

Phi yim
Phi yimPhi yim
Phi yim
 
Phi yim
Phi yimPhi yim
Phi yim
 
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
คีตกวีเอกของไทย.pdf
คีตกวีเอกของไทย.pdfคีตกวีเอกของไทย.pdf
คีตกวีเอกของไทย.pdf
 
จอมพล ป. พิบูลสงคราม503
จอมพล ป. พิบูลสงคราม503จอมพล ป. พิบูลสงคราม503
จอมพล ป. พิบูลสงคราม503
 
ตัวละครในกัณฑ์ชูชก
ตัวละครในกัณฑ์ชูชกตัวละครในกัณฑ์ชูชก
ตัวละครในกัณฑ์ชูชก
 
Satu
SatuSatu
Satu
 
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไรจะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
 
พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ
พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ
พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ
 
กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
เล่มเล็ก
เล่มเล็กเล่มเล็ก
เล่มเล็ก
 
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

เทียนวรรณ

  • 1.
  • 2. เรื่อง บุคคลสําคัญในประเทศไทย เทียนวรรณ วิชา ประวัติศาสตร์ จัดทําโดย นาย ศุภวิชญ์ ภาคี เลขที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๓ เสนอ คุณครู สฤษดิ์ศักดิ์ ชิ้นเขมจารี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด
  • 3. ความเป็ นมาของเทียนวรรณ  เทียนวรรณ (2385 - 2458) หรือ ต.ว.ส. วัณณาโภ ปัญญาชนคนสําคัญในสมัยรัชกาลที่ ๕ เป็นผู้เรียกร้องระบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาและการปฏิรูปทางด้านสังคมอีกหลายข้อ จนเป็นสาเหตุที่ทําให้รัฐบาลราชาธิปไตยจับเขาเข้าคุกถึง ๑๗ ปี  มีนามเดิมว่า เทียน นามสกุล วัณณาโภ เกิดปี พ.ศ. ๒๓๘๕ ปลายสมัยรัชกาลที่ ๓ ที่ตําบล บางขุนเทียน จังหวัดพระนคร พื้นฐานครอบครัวมาจากทหารและพลเรือน  เริ่มเรียนหนังสือที่บ้าน เมื่ออายุได้ ๘ ขวบจึงไปเรียนหนังสือไทยและหนังสือขอมกับพระที่วัด โพธิ์ พร้อมทั้งได้วิชามวยและเวทมนตร์คาถาป้ องกันตัวมาด้วย ตอนเด็กออกจะเป็นนักเลง แต่ก็ไม่ข่มเหงใครก่อน ครั้นบิดาเสียอายุเมื่อเขาอายุได้ ๑๓ ปี มารดาได้แต่งงานใหม่ บิดา เลี้ยงเป็นคนดีมีศีลธรรม จึงได้ค่อยกล่อมเกลาให้เขามีนิสัยอ่อนโยนขึ้น  ครั้นเป็นหนุ่มอายุได้ ๑๘ ปีก็ได้ทํางานล่องเรือค้าขายไปถึงสวรรคโลกและกําแพงเพชร ทํางานได้สักปีก็ได้งานในเรือกําปั่น ได้แล่นเรือไปถึงซัวเถา ฮ่องกง เอ้หมึง และเซี่ยงไฮ้ ถือได้ ว่าเป็นช่วงสั่งสมประสบการณ์อันดียิ่ง
  • 4.  พออายุ ๒๐ ปี จึงได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุที่วัดบวรนิเวศฯ โดย มีสมเด็จฯกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นสมเด็จอุปัชฌาย์ และ สมเด็จพระสังฆราช(สา) ขณะดํารงสมณศักดิ์ที่พระสาสน โสภณเป็นคู่สวด อยู่จําพรรษาศึกษาเล่าเรียนอยู่ได้ ๕ ปี จึงขอลา สิกขาบทเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๑ ในพรรษาสุดท้ายสมเด็จพระอุปัชฌาย์ ได้ทรงเปลี่ยนชื่อให้ใหม่ จาก เทียน เป็น วรรณ
  • 5.  พ.ศ. ๒๔๑๕ ก็ได้เดินทางกลับจากจันทบุรี และประกอบอาชีพด้วยการค้า ขายของป่ากับภรรยา ชื่อ เปี๊ยก ที่มาจากจันทบุรีด้วยกัน โดยตั้งร้าน ขายของเบ็ดเตล็ดแถววัดมหรรณพาราม หน้าวังกรมหลวงสรรพ สาตรศุภกิจ ช่วงที่เทียนวรรณใช้ชีวิตอยู่ที่ จ.จันทบุรีนั้น เทียนวรรณได้ ใช้เวลาศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย และได้ใช้ประโยชน์จากความ ชํานาญนี้  เมื่อกลับมากรุงเทพฯ โดยรับเป็นที่ปรึกษาของหนังสือพิมพ์สยามออฟ เซอร์เวอร์ พร้อมกับตั้งสํานักงานทนายความ ชื่อ “ออฟฟิศอรรศนานุ กูล” ที่บริเวณสี่แยกคอกวัว  พ.ศ. ๒๔๒๖ เทียนวรรณถูกจับกุมฐานหมิ่นตราพระราชสีห์ ถูกตีหลัง ด้วยหวาย ๕๐ ที หน้าพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในขณะอายุได้ ๔๑ ปี พร้อมทั้งถูกจําครบ ๕ ประการ(เป็นเวลา ๒ ปี ๑๔ วัน) ครั้นถึงปี ร.ศ. ๑๑๐ (พ.ศ. ๒๔๓๔) จึงได้ถูกย้ายไปอยู่คุกใหม่
  • 6.  เทียนวรรณติดคุกแบบฝากขังแล้วลืม เป็นเวลา ๑๖ ปี ๘ เดือน จนกระทั่งพระบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ทรงสําเร็จ การศึกษาและกลับมาดําเนินการปรับปรุงระบบศาล เมื่อทรงตรวจ พบว่าเทียนวรรณถูกขังลืม จึงได้ทรงสั่งให้ปลดปล่อยเทียนวรรณออก จากคุก เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๑  เทียนวรรณมีอายุถึง ๕๗ ปีแล้ว ระหว่างที่อยู่ในคุกเทียนวรรณ ได้ใช้ เวลาว่างเขียนหนังสือประเภทความทางปรัชญาแนวคิดทางการเมืองไว้ เป็นจํานวนมาก ภายหลังออกจากคุกจึงออกหนังสือพิมพ์ ๒ หัวเรื่อง คือ ตุลวิภาคพจนกิจ (รายปักษ์) และ ศิริพจนภาค (รายเดือน) แต่ไม่ ประสบความสําเร็จเท่าใดนัก ในระยะเวลาเดียวกัน เทียนวรรณก็ยัง ออกหนังสือเล่มรายสะดวกอีก เป็นเล่มปลีกย่อยอีกมากมายหลายเล่ม
  • 7.  เทียนวรรณถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ ขณะอายุได้ ๗๓ ปี ที่ บ้านในเวิ้งนครเขษม และได้ฌาปนกิจศพที่วัดชัยชนะสงคราม ตระกูลของเทียนวรรณ ปัจจุบันนี้ใช้นามสกุลว่า “โปรเทียรณ์”
  • 8. ชีวิตส่วนตัว  เทียนวรรณเริ่มเห็นปัญหาว่า การที่พวกเจ้านายและผู้ดีมีเมีย มาก เป็นบ่อเกิดแห่งความทุจริต เพราะต้องจับจ่ายใช้สอยมาก รวมทั้งคนแก่ที่มีเมียมาก ก็ไม่สามารถให้ความสุขภรรยาได้ อย่างทั่วถึง  เทียนวรรณ มีภรรยาทั้งหมด ๓ คน แต่ก็มีครั้งละคน คือ หย่า หรือเลิกกับคนหนึ่งแล้วจึงมีคนถัดมา
  • 9. งานเขียน  เริ่มเขียนบทความชิ้นแรกเมื่ออายุได้ ๓๐ ปี โดยนําเสนอเกี่ยวกับการปรับปรุง ราชการบ้านเมือง เสนอให้เลิกทาส เลิกการพนัน ปราบปรามทุจริตคอรัปชัน และ เสนอให้มีสภาผู้แทน บทความเหล่านี้เขาส่งไปลงตีพิมพ์ตามหนังสือพิมพ์ต่าง ๆ หาก หนังสือพิมพ์ไม่กล้าลงให้ เขาก็แจกให้คนมีฐานะไว้ตีพิมพ์เป็นหนังสืองานศพบ้าง ตีพิมพ์เองบ้าง  ตอนที่อยู่เมืองตราด อายุได้ ๓๓ ปี จึงได้ศึกษาวิชากฎหมายด้วยตนเองอย่างจริงจัง โดยอ่านจากหนังสือภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และได้ประกอบอาชีพทนายความ เป็นที่ปรึกษาทางกฎหมาย รับว่าความให้แก่คนยากคนจน เขายังได้เสนอเรื่องความ เสมอภาคในสิทธิของสตรีอีกด้วย โดยเสนอรัฐบาลในการให้การศึกษาสตรีทัดเทียม กับชาย  เมื่อเทียนวรรณอายุได้ ๔๐ ปี ก็ถูกกลั่นแกล้ง โดยมีผู้กล่าวหาว่าเขาหมิ่นพระบรมเด ชานุภาพ และหมิ่นประมาทเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงเกษตร จึงถูก เฆี่ยน ๔๐ ที และจําคุกไว้อย่างไม่มีกําหนด ทั้งนี้ในช่วงแรก เขาถูกจับใส่ตรวนและขื่อ คาทั้งที่ศรีษะ มือ และเท้า จนกระทั่งได้เขียนหนังสือร้องเรียนไปยังกรมหลวงราชบุรี ฯ จึงได้มีคําสั่งให้ปลดโซ่ที่คอออกจากนักโทษทุกคน
  • 10.  ช่วงที่ถูกจําคุกนี้ เขายังคงเขียนงานออกมาอย่างสมํ่าเสมอ ส่งไปตีพิมพ์ใน หนังสือพิมพ์และวารสารต่าง ๆ รวมแล้วเป็นจํานวน ๒๘ เรื่องด้วยกัน  ขุนหลวงพระยาไกรสรี(เปล่ง) ได้ช่วยเหลือวิ่งเต้นขอพระราชทานอภัยโทษ ให้ได้สําเร็จ หลังจากเทียนวรรณถูกจําคุกเป็นเวลาถึง ๓๗ ปี  แม้จะได้รับอิสรภาพเมื่ออายุมากแล้ว เขายังไม่หยุดการทํางาน ยังคงเปิด สํานักงานทนายความ และทําหนังสือพิมพ์ "ตุลวิภาคพจนกิจ" ซึ่งหมายใจ ว่าจะนําเสนอข่าวสารที่ตรงไปตรงมาดุจตราชั่ง กิจการหนังสือพิมพ์ ดําเนินอยู่ได้เพียงหกปีก็ต้องปิดตัวลงเพราะขาดทุน  อย่างไรก็ตามเขาก็ยังมิย่อท้อในการนําเสนอความคิดต่อสังคม ยังคง จัดพิมพ์หนังสือชุด ศิริพจนภาค จํานวน ๓๒ เล่ม ซึ่งเป็นการรวบรวมงาน เขียนของเขาทั้งหมด ซึ่งมีอยู่หลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นความคิดเห็นด้าน การเมือง วิจารณ์สังคม และวิจารณ์วรรณกรรม
  • 12. บทความเรื่อง "ว่าด้วยรัตน"  รัตน ว่าคือ ความยินดีให้เกิดขึ้นหรือทําความประสงค์ให้สําเร็จ  แบ่งรัตนไว้ดังนี้  ๑. บุคคลที่มีความรู้ทั้งทางโลกและทางธรรมที่สามารถที่จะชักจูงให้ผู้อื่นได้รับ ประโยชน์จากความรู้ของตัวบุคคลผู้นั้น ในที่นี้ท่านได้ยกตัวอย่าง พระพุทธเจ้า ซึ่งมี การเกิด แก่ เจ็บ ตาย เช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป จะต่างกันแค่ ความบริสุทธิ์ ความ ปรีชาสามารถ และความเมตตา  ๒. ถ้อยคําหรือวาจาที่ได้กล่าวแนะนําสั่งสอนหรือห้ามปราม ในที่นี้ท่านได้กล่าวถึง ธรรมของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นหนทางหรือเครื่องดําเนินให้ออกจากวัฏจักรของทุกข์  ๓. หมู่ผู้ฟังที่สามารถรับรู้ความจริงและสามารถนําคําที่ได้รับฟังไปใช้ประโยชน์ได้ ตัวอย่างเช่น พราหมณ์ที่ได้ฟังธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้าจนดวงตาเห็นธรรม  จากรัตนทั้ง ๓ ข้อนี้ซึ่งก็คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์หรือเรียกรวมกันว่าพระ รัตนไตรนั่นเอง
  • 13. บทความเรื่อง "ว่าด้วยกําลังใหญ่ ๓ ประการของบ้านเมือง" ท่านเทียนวรรณได้กล่าวเกี่ยวกับกําลังสําคัญที่จะทําให้ประเทศชาติเจริญรุ่งเรืองว่า จะต้องมีกําลัง ๓ ประการ ดังนี้  ๑. ปัญญาความรู้ ซึ่งทุกคนต้องมีไม่ว่าจะเป็นเจ้านายหรือราษฎร  ๒. โภคทรัพย์สมบัติมาก หรือบ่อเกิดแห่งทรัพย์ ซึ่งเกิดด้วยปัญญาวิชาและความเพียร ของพลเมืองในรัฐบาล  ๓. มีราษฎรพลเมืองมากและพลเมืองเหล่านั้นต้องได้ฝึกหัดในการทหารและเล่าเรียน หนังสือ  แต่ท่านยังกล่าวอีกว่านอกจากกําลังทั้งสามที่ได้กล่าวไว้นี้ ยังไม่สามารถที่จะทําให้เจริญ ได้ ถ้าทุกคนขาดความสามัคคี ซึ่งในเรื่องนี้ท่านได้ตําหนิคนไทยที่ไม่มีใครเอาใจใส่กัน มีแต่ จะคอยซํ้าเติมและกดขี่ข่มเหงกัน ซึ่งเป็นสาเหตุทําให้ความเจริญของประเทศล้าหลัง อีก ทั้งยังได้เสนอเรื่องความสามุคคีไว้โดยได้แบ่งความสามัคคีออกเป็น 2 อย่างด้วยกันคือ  ๑. สามัคคีโลก หมายถึง ความสามัคคีที่ทําให้พวกตนหรือฝ่ายตนเองได้รับประโยชน์ แต่อาจจะไปทําให้บุคคลที่ไม่ใช่ฝ่ายตนเสียหายโดยท่านได้ยกตัวอย่างเกี่ยวกับ พวกโจร ถ้า มีความสามัคคีกันก็จะทําให้บุคคลอื่นได้รับความเดือดร้อน  ๒. สามัคคีธรรม เป็นความสามัคคีที่ไม่ใช่เฉพาะฝ่ายตนเอง ไม่เข้าข้างเฉพาะฝ่ายตนเอง จนทําให้บุคคลที่ไม่ใช่พวกตนเดือดร้อน ต้องทําใจให้มีที่ยึดเหนี่ยวในอารมณ์ เครื่องหน่วง เหนี่ยวให้จิตสามารถที่จะระงับอารมณ์ได้
  • 14. บทความเรื่อง “ว่าด้วยความที่เรียกว่าคนเหตุใด จึงเรียกว่าคน”  ท่านได้ให้ความหมายของคนไว้ว่า ทั่ว คือ ตลอดทั่ว รู้ตลอดทั่ว ทําได้ตลอดทั่ว ไม่ใช่มีเพียงแต่รูปร่างหน้าตาเป็นคนแล้วจึง เรียกว่าคน ซึ่งท่านได้ยกตัวอย่างในเรื่องนี้ไว้ว่า ตอนที่ท่าน สนทนากับพระพนมสรรินทร์ ซึ่งได้สอนว่า ถ้าไปที่ไหนพบปะ มนุษย์อยู่มากๆก็ให้ถามพวกเขาว่า ที่นี่มีคนหรือไม่ หรือถามว่า ที่นี่มีมนุษย์หรือไม่ หรือถ้าไปวัดวาอารามมีภิกขุสามเณรมากๆ ก็ให้ถามว่าในวัดนี้มีพระหรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่า การที่จะนับ ถือใครว่าเป็นคนนั้น ไม่เพียงดูเฉพาะรูปร่างหน้าตาหรือลักษณะ ภายนอกเพียงอย่างเดียว ต้องดูสิ่งที่อยู่ภายในจิตใจนั่นเอง
  • 15. สรุปปรัชญาจากงานเขียนต่างๆของท่าน เทียนวรรณ  งานเขียนของเทียนวรรณนั้นจะเป็นงานเขียนที่เกี่ยวข้องกับ การเมืองอีกทั้งยังนําเอาหลักต่างๆของพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็น พื้นฐานดั้งเดิมของความคิดของชาวไทยมาใช้ในความคิดของ ตนเอง ซึ่งพระพุทธศาสนานั้นก็จากความเป็นจริงของโลกใบนี้ จึงสามารถที่จะนํามาใช้ได้ในชีวิตประจําวันหรือนํามากับการ ปกครองได้ ดังนั้นงานส่วนใหญ่จึงมีศาสนาเข้ามาเกี่ยวข้องใน งานของท่าน เพราะอาจจะเกิดจากที่ท่านเคยได้บวชมา
  • 16. แนวคิดด้านนโยบายของประเทศ  ด้านนโยบายต่างประเทศ เขาแนะนําให้รัฐบาลไทยผูกมิตรไมตรี กับจีน ญี่ปุ่ น อังกฤษ และเยอรมัน เพื่อต้านทานจักรพรรดินิยม ฝรั่งเศส ในด้านการเมืองเขาเรียกร้องให้เปลี่ยนแปลง การ ปกครองจากระบอบราชาธิปไตยมาเป็นประชาธิปไตย  ด้านเศรษฐกิจ เขาเรียกร้องให้ยกเลิกบ่อนการพนัน ซึ่งเขาเห็น ว่าทําให้พลเมืองโง่เขลา ถูกมอมเมา เกียจคร้าน และเป็นต้นเหตุ แห่งความชั่วร้ายอื่นๆ ตามมา และเสนอให้ เอาเงินหลวงออกให้ ราษฎรกู้ไปทําทุน ส่งเสริมการตั้งโรงงาน การค้นคว้าทรัพยากร ธรรมชาติ
  • 17.  ด้านการศึกษา เขาเสนอให้รัฐจัดการศึกษาให้ไพร่ และสตรีอย่าง เท่าเทียมกับผู้ดีและ บุรุษชักชวนให้ผู้มีเงินหันมาสร้างโรงเรียน แทนวัด ต้านโครงสร้างสังคมที่เขาเห็นว่า ต้องปฏิรูประบบ ราชการเพื่อปราบการทุจริตฉ้อฉล การเล่นพรรคเล่นพวก และ ความไม่ยุติธรรม