SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
รายงานเชิงวิชาการ
เรื่อง ตัวละครในกัณฑ์ชูกชก
จัดทาโดย
นางสาว คณิศร สะอาดเอี่ยม ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๑
นางสาว จุฬาลักษณ์ กรมสม ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๑๐
นางสาว บัญทิตา อาจหาญ ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๑๑
นางสาว ภัคจิรา วิญญา ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๑๒
นางสาว วรันธร ศรีธาวิรัตน์ ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๑๓
นางสาว ศิณีย์นาฏ แจ่มทิม ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๑๔
นางสาว อัจฉริยา เชื้อพันธ์ ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๓๗
นางสาว ภัทริน จันตะนี ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๔๑
นางสาว สุวิดา พิสมัย ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๔๓
เสนอ
คุณครู วรรณวิสา สมัยมาก
โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓
ก
บทคัดย่อ
รายงานนี้เป็นรายงานที่ริเริ่มมาจากการศึกษาค้นกว้าเกี่ยวกับมหาเวชสันดรชาดก ซึ่ง
เป็นบทประพันธ์ของเจ้าพระยาคลัง (หน) และวรรณคดีนี้ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก
เพราะเป็นเรื่อง ที่ให้อะไรกับคนอ่านมากมายและเป็นเรื่องที่สืบเนื่องไปถึงพระพุทธศาสนา
ได้อีกด้วย
ด้วยเหตุนี้ทางผู้จัดทาจึงได้เกิดความริเริ่มที่จะศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ มหาเวชสันดรชา
ดรชาดก ที่เกี่ยวกับตัวละครในกัณฑ์ชูชก เพื่อให้รู้และเข้าใจมากขึ้น และยังสามารถนาไป
ปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้อีกด้วย และเพื่อศึกษาเกี่ยวกับตัวละครในกัณฑ์ชูชก และเพื่อนา
ความรู้ที่ได้มาไปใช้ในชีวิตประจาวันต่อไปได้
และตัวละครชูชกมีทั้งหมด ๕ตัวหลักๆ ได้แก่ พระเวสสันดร เป็นตัวละครที่มีบทบาท
สาคัญ อยู่ในวรรณคดีเรื่องร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก มีชื่อเรียกต่างๆกัน
พระนางมัทรี พระนางมัทรีเป็นแบบฉบับของนางในวรรณคดีที่เพียบพร้อมไปด้วยคุณสมบัติ
ต่างๆทั้งการเป็นแม่ที่ประเสริฐของลูก และการเป็นภรรยาที่ดีของสามี
พระชาลี พระชาลีเป็นพระราชโอรสของพระเวสสันดรกับพระนางมัทรีเป็นพระเชษฐาของ
พระกัณหา พระนัดดาของพระเจ้ากรุงสญชัยและพระนางผุสดีเมื่อเวลาประสูติพระประยูร
ญาติได้ทรงนาตาข่ายทองมารองรับ จึงได้รับพระราชทานนามว่า ชาลี แปลว่าผู้มีตาข่าย
พระกัณหา พระกัณหาเป็นผู้ที่มีความกตัญญูเชื่อฟังคาสั่งสอนและมีความเฉลียวฉลาด
ได้ติดตามพระเวสสันดรและพระมัทรีไปยังเขาวงกต เมื่อถูกยกให้แก่ชูชกก็หาทางหลบหนี
ชูชก แม้ชูชกจะเกิดในตระกูลพราหมณ์ที่ถือตนว่ามีกาเนิดสูงกว่าผู้อื่นแต่ชูชกก็ยากจน
เข็ญใจยิ่ง
ข
กิตติกรรมประกาศ
รายงานเรื่องนี้เสร็จสมบูรณ์ได้เพราะได้รับความกรุณาช่วยเหลือแนะนาอย่างดียิ่งจาก
คุณครู วรรณวิสา สมัยมาก ที่ได้ให้คาปรึกษาแนะนาและให้ข้อคิดเห็ฯต่างๆ ในการทา
รายงานตลอดจนแก้ไข้ข้อบกพร่องต่างๆ มาโดยตลอดคณะผู้จัดทาขอบกราบขอบพระคุณ
เป็นอย่างสูง
ขอกราบขอบพระคุณพ่อ คุณแม่ และผู้ปกครอง ที่ให้คาปรึกษาในเรื่องต่างๆ รวมทั้ง
เป็นกาลังใจที่ดีเสมอมา
สุดท้ายขอขอบคุณเพื่อนๆ ที่ชวยให้คาแนะนาเกี่ยวกับการช่วยทารายงานเรื่องนี้ให้
สาเร็จลุล่วงไปได้
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทที่ ๑ บทนา ๑
-ที่มาและความสาคัญ
-วัตถุประสงค์
บทที่ ๒ เอกสารที่เกี่ยวข้อง ๒
-เรื่องย่อกัณฑ์ชูชก
บทที่ ๓ วิธีการดาเนินงาน ๕
-วัสดุและอุปกรณ์
-วิธีการจัดทาโครงงาน
บทที่ ๔ ผลการศึกษาค้นคว้า ๗
-ผลการศึกษา
บทที่ ๕ สรุปผลการศึกษาค้นคว้า ๙
-สรุปผลการศึกษา
-ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม ๑๐
๑
บทที่ ๑
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
รายงานเชิงวิชาการเล่มนี้เป็นการวิเคราะห์ตัวละครในกัณฑ์ชูชก จากเรื่องพระเวสสันดรซึ่งเป็น
ชาดก หนึ่งในทศชาติชาดก ในตอนกัณฑ์ชูชกนั่นสานักวัดสังข์จายเป็นผู้ประพันธ์ เป็นการกล่าวถึงเฒ่า
ขอทานชื่อชูชกที่จะไปขอกุมารทั้งสองของพระเวสสันดร จากการได้ศึกษาและวิเคราะห์ทาให้ได้รับ
อารมณ์ที่หลากหลายของตัวละคร การคิดและนิสัยของคนในสมัยก่อนร่วมทั้งข้อคิดและความรู้มากมายที่
เราสามารถนามาใช้ในชีวิตประจาวัน
วัตถุประสงค์
๑.เพื่อศึกษาค้นคว้าลักษณะนิสัยของตัวละครในมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ชูชก
๒.เพื่อนาความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
๒
บทที่ ๒
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
มหาชาติ หรือ มหาเวสสันดรชาดก
มหาชาติ เป็นชาติที่ยิ่งใหญ่ของพระโพธิสัตว์ที่ได้เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดรและเป็นพระชาติ
สุดท้ายก่อนจะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คนไทยรู้จักและคุ้ยเคยกับมหาชาติมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย
ดังที่ปรากฏในหลักฐานในจารึกนครชุม และในสมัยอยุธยาก็ได้มีการแต่งและสวดมหาชาติคาหลวงในวัน
ธรรมสวนะ ส่วนการเทศน์มหาชาติเป็นประเพณีที่สาคัญในทุกท้องถิ่นและมีความเชื่อกันว่า การฟัง
เทศน์มหาชาติจบภายในวันเดียวจะได้รับอานิสงส์มาก
ผู้แต่ง
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
กวีสานักวัดถนน
กวีวัดสังขจาย
(พระเทพโมลี (กลิ่น)
(เจ้าพระยาพระคลัง (หน)
ลักษณะคาประพันธ์
ความเรียงร้อยแก้ว ร่ายยาว กลบท กลอนพื้นบ้าน
จุดมุ่งหมายในการแต่ง
เพื่อใช้ในการสวด เทศนาสั่งสอน
๓
ความเป็นมา
เวสสันดรชาดกนี้เป็นเรื่องใหญ่จัดรวมไว้ในมหานิบาตชาดกรวมเรื่องใหญ่ ๑๐ เรื่อง
ที่เรียกกันว่า ทศชาติ แต่อีก ๙ เรื่อง ไม่เรียกว่ามหาชาติ คงเรียกแต่เวสสันดรชาดก
เรื่องเดียวว่า มหาชาติ ข้อนี้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพ
โปรดประทานอธิบายว่า พุทธศาสนิกชนชาวไทยตลอดจนประเทศใกล้เคียงนับถือกันมาแต่โบราณว่า
เรื่องมหาเวสสันดรชาดก สาคัญกว่าชาดกอื่น ๆ ด้วยปรากฏบารมีของพระโพธิสัตว์บริบูรณ์
ในเรื่องมหาเวสสันดรชาดกทั้ง ๑๐ บารมี
อานิสงส์การฟังเทศน์มหาชาติ การตั้งใจฟังเทศน์มหาชาติให้จบเพียงวันเดียวครบบริบูรณ์ ทั้ง ๑๓
กัณฑ์ จะเป็นเหตุให้สาเร็จความปรารถนาทุกประการดังนี้
๑. เมื่อตายจากโลกนี้แล้ว จะมีโอกาสได้พบพระพุทธเจ้า พระนามว่า ศรีอริยเมตไตย ใน
อนาคต
๒. เมื่อดับขันธ์ไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์ จะเสวยทิพยสมบัติมโหฬาร
๓. เมื่อตายไปแล้วจะไม่ตกนรก
๔. เมื่อถึงยุคพระพุทธเจ้าพระนามว่า ศรีอริยเมตไตย จะได้จุติไปเกิดเป็นมนุษย์
๕. ได้ฟังธรรมต่อหน้าพระพักตร์ของพระพุทธองค์ จะได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นพระอริยบุคคล
ในบวรพุทธศาสนา
มูลเหตุการณ์เล่าเรื่องมหาชาติ
คัมภีร์ธัมมบทขุททกนิกายกล่าวว่า เรื่องเวสสันดรชาดกเป็นพุทธดารัสที่สมเด็จพระบรมศาสดา
ตรัสแก่ภิกษุสงฆ์ขีณาสพสองหมื่นรูป และพระประยูรญาติที่นิโครธารามหาวิหารในนครกบิลพัสดุ์ ใน
คราวเสด็จโปรดพระเจ้าสุทโธทนะพุทธบิดา และพระวงศ์ศากยะบรรดาพระประยูรญาติไม่ปรารถนาจะ
ทาความเคารพพระองค์ ด้วยเห็นว่าอายุน้อยกว่า
พระองค์ทรงทราบความคิดนี้จึงทรงแสดงยมกปกฏิหาริย์ โดยเสด็จขึ้นเบื้องนภาอากาศแล้ว
ปล่อยให้ฝุ่นละอองธุลีพระบาทตกลงสู่เศียรของพระประยูรญาติทั้งหลาย พระประยูรญาติจึงได้ละทิ้งทิฐิ
แล้วถวายบังคมพระพุทธเจ้า ขณะนั้นได้เกิดฝนโบกขรพรรษ พระภิกษุทั้งหลายเห็นเป็นอัศจรรย์จึงได้
ทูลถาม พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่าฝนชนิดนี้เคยตกมาแล้วในอดีต แล้วจึงทรงแสดงธรรมเรื่องมหา
เวสสันดรชาดก หรือเรื่องมหาชาติให้แก่พระภิกษุและพระประยูรญาติ
๔
มหาเวชสันดรชาดก เป็นชาดกที่มีความสาคัญมากกว่าชาดกอื่น ๆ เพราะพระบารมีของพระโพธิสัตว์ได้
บาเพ็ญบริบูรณ์ในพระชาตินี้ มหาเวสสันดรชาดกทั้ง ๑๐ บารมี คือ
ทานบารมี = ทรงบริจาคทรัพย์สิน ช้าง ม้า ราชรถ พระกุมารทั้งสองและพระมเหสี
ศีลบารมี = ทรงรักษาศีลอย่างเคร่งครัดระหว่างทรงผนวชอยู่ ณ เขาวงกต
เนกขัมมบารมี = ทรงครองเพศบรรพชิตตลอดเวลาที่ประทับ ณ เขาวงกต
ปัญญาบารมี = ทรงบาเพ็ญภาวนามัยปัญญาตลอดเวลาที่ทรงผนวช
วิริยาบารมี = ทรงปฏิบัติมิได้ย่อหย่อน
สัจจบารมี = ทรงลั่นพระวาจายกกุมารให้ชูชก เมื่อพระกุมารหลบหนีก็ทรงติดตามให้
ขันติบารมี = ทรงอดทนต่อความยากลาบากต่าง ๆ ขณะที่เดินทางมายังเขาวงกต และตลอดเวลาที่
ประทับ ณ ที่นั่น แม้แต่ตอนที่ทอดพระเนตรเห็นชูชกเฆี่ยนตีพระกุมารอย่างทารุณพระองค์ก็ทรงข่ม
พระทัยไว้ได้
เมตตาบารมี = เมื่อพราหมณ์เมืองกลิงคราษฎร์ มาทูลขอช้างปัจจัยนาค เนื่องจากเมืองกลิงคราษฎร์
ฝนแล้ง ก็ทรงพระเมตตตาประทานให้ และเมื่อชูชกมาทูลขอสองกุมาร อ้างว่าตนได้รับความลาบาก
ต่าง ๆ พระองค์ก็มีเมตตาประทานให้ด้วย
อุเบกขาบารมี = เมื่อทรงเห็นสองกุมารถูกชูชกเฆี่ยนตี วิงวอนให้พระองค์ช่วยเหลือ ทรงบาเพ็ญ
อุเบกขา คือทรงวางเฉย เพราะทรงเห็นว่าได้ประทานเป็นสิทธิ์ขาดแก่ชูชกไปแล้ว
อธิษฐานบารมี = คือทรงตั้งมั่นที่จะบาเพ็ญบารมีเพื่อให้สาเร็จโพธิญาณาเบื้องหน้าก็มิได้ทรงย่อท้อ
จนพระอินทร์ต้องประทานความช่วยเหลือต่าง ๆ เพราะพระทัยอันแน่วแน่ของพระองค์
เนื้อเรื่อง
หลังจากสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงยมกปาฏิหารย์ ทาให้พระประยูรญาติละทิฐิยอม
ถวายบังคม ก็บังเกิดฝนโบกขรพรรษ พระภิกษุทั้งหลายจึงได้ทูลถามพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ตรัส
เล่าว่า ฝนชนิดนี้เคยตกมาแล้วในอดีต พระองค์จึงทรงแสดงธรรมเรื่องมหาเวสสันดรชาดก หรือเรื่อง
มหาชาติ ทั้ง ๑๓ กัณฑ์ ตามลาดับ
๕
บทที่ ๓
วิธีการดาเนินการ
วัสดุและอุปกรณ์
๑.กระดาษ A4
๒.คอมพิวเตอร์
๓.เครื่องถ่ายเอกสาร
๔.โทรศัพท์มือถือ
๕.ปากกา
วิธีการดาเนินงาน
๑.ศึกษาเนื้อเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ชูชก
๒.จัดการเขียนรวบรวมข้อมูลทั้งหมด
๓.ตรวจสอบรายละเอียดข้อมูลที่ได้รับมาอย่างให้แน่ใจและถูกต้อง
๔.นาข้อมูลทั้งหมดที่ได้รับมาจัดการพิมพ์ลงในคอมพิวเตอร์
๕.นาข้อมูลที่ได้ทาการพิมพ์ลงคอมพิวเตอร์แล้วนามาถ่ายเอกสาร
๖.จัดการรวมเล่มอย่างสวยงามและนาส่งคุณครูประจาวิชา
๖
ตารางบันทึกผลการทางานโครงงาน เรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ชูชก
ลาดับ กิจกรรม วัน/เดือน/ปี สถานที่ดาเนินงาน
๑. ศึกษาเนื้อเรื่องมหาเวสสันดร
ชาดก กัณฑ์ชูชก
๓/สิงหาคม/๒๕๖๒ บ้านของคณะผู้จัดทา
๒. จัดการเขียนรวบรวมข้อมูล
ทั้งหมด
๙/สิงหาคม/๒๕๖๒ โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์
๓. ตรวจสอบรายละเอียดข้อมูลที่ได้
รับมาอย่างให้แน่ใจและถูกต้อง
๑๔/สิงหาคม/๒๕๖๒ โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์
๔. นาข้อมูลทั้งหมดที่ได้รับพิมพ์ลง
คอมพิวเตอร์
๑๖/สิงหาคม/๒๕๖๒ บ้านของคณะผู้จัดทา
๕. นาข้อมูลที่ทาการพิมพ์แล้วนามา
ถ่ายเอกสาร
๒๙/สิงหาคม/๒๕๖๒ โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์
๖. จัดการรวมเล่มอย่างสวยงามและ
นาส่งคุณครูประจาวิชา
๑๓/กันยายน/๒๕๖๒ โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์
๗
บทที่ ๔
ผลการศึกษาค้นคว้า
มีตัวละครทั้งหมดในกัณฑ์ชูกชก ดังนี้
พระเวสสันดร
เป็นแบบอย่างของผู้เสียสละประโยชน์ส่วนตัว เพื่อประโยชน์ของส่วนรวม มุ่งบาบัดทุกข์ บารุงสุข
ของประชาชนเป็นที่ตั้ง ยอมเสียสละความสุขส่วนพระองค์ แม้จะทุกข์ก็ไม่หวั่น เป็นแบบอย่างของบุคคล
ผู้ไม่ยึดติดอานาจวาสนา รู้ซึ้งถึงโลกธรรมที่ว่า "ยามมียศ เขาก็ยก ยามต่าตกเขาก็หยาม"หาได้หวั่นไหว
หรือล้มเลิกบาเพ็ญบารมีไม่
พระนางมัทรี
เป็นแม่แบบของภรรยาผู้มีลักษณะเป็นกัลยาณมิตรของสามี สนับสนุนเป้าหมายชีวิตอันประเสริฐที่
สามี ได้ตั้งไว้ และยังเป็นแบบอย่างของภรรยาตามทัศนะของคนตะวันออก เช่น ปฏิบัติดูแล
เรื่องข้าวปลาอาหาร เป็นต้น ทรงคุณธรรมสาคัญ คือ "ซื่อตรง จงรัก หนักแน่น"
พระชาลี - พระนางกัณหา
เป็นแบบอย่างของลูกที่เชื่อฟังพ่อแม่ เข้าใจในเจตนาแห่งการประพฤติธรรม เพื่อประโยชน์ของคนหมู่
มากของพ่อคือพระเวสสันดร
นางอมิตตดา
เป็นแบบอย่างของลูกที่เชื่อฟังตั้งอยู่ในโอวาทของพ่อแม่ตามคติของคนยุคนั้น และของภรรยาที่
ปฏิบัติ ต่อสามีตามคตินิยม แต่ขณะเดียวกันก็เป็นตัวอย่างของคนที่ไม่มีความเป็นตัวของ
ตัวเอง ปล่อยชีวิตให้เป็นไปตามกระแสของสังคมจนเกินควร
พ่อแม่ของนางอมิตตดา
เป็นแบบอย่างของคนสุรุ่ยสุร่าย ไม่ประมาณตนเอง ประมาทในการใช้จ่าย สร้างหนี้สินก่อเวรก่อ
กรรม ไว้ให้ลูก
ชูชก
เป็นตัวอย่างของคนที่ติดอยู่ในกามคุณเข้าลักษณะว่า "วัวแก่กินหญ้าอ่อน" ต้องตกระกาลาบากใน
ยามชรา เพราะ "รักสนุก จึงต้องทุกข์ถนัด" ตาราหิโตปเทศว่า " ความรู้เป็นพิษเพราะเหตุไม่ใช้ปราสาท
เป็นพิษเพราะ คนเข็ญใจ อาหารเป็นพิษเพราะไฟธาตุไม่ย่อย เมียสาวเป็นพิษเพราะผัวแก่"
๘
พรานเจตบุตร
เป็นแบบอย่างของคนดี แต่ขาดความเฉลียวจึงต้องตกเป็นเยื่อของเฒ่าชูชกพระอัจุตฤาษีเป็น
แบบอย่าง ของนักธรรมผู้ฉลาด แต่ขาดเฉลียว หูเบาเชื่อคนง่าย ดังโบราณว่า "สงสารฉิบหาย
เชื่อง่ายเป็นทุกข์" กษัตริย์เจตราชเป็นแบบอย่างของมิตรแท้ที่พร้อมที่จะช่วยเหลือมิตรในยาม
ยาก มีน้าใจไม่ทอดทิ้งแม่ในยาม ที่มิตรสิ้นทรัพย์อับวาสนา เข้าลักษณะว่า "ยามปกติก็
อุปัฏฐาก ยามตกยากก็อุปถัมภ์"ชาวเมืองกลิงครัฐ เป็นแบบอย่างของผู้คลั่งไคล้ในกระแสค่านิยม
ซึ่งไม่จาเป็นต้องถูกต้องงเสมอไป ใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผล เป็นต้นเหตุของการเดินขบวน และปลุก
"ม็อบ" แสดงความเป็นประชาธิปไตย แต่เป็นประชาธิปไตยชนิด "บาทาธิปไตย" คือ
แก้ปัญหาด้วยเท้า นิยมความรุนแรง ใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผล
๙
บทที่ ๕
สรุปผลการค้นคว้า
กลุ่มดิฉันได้ศึกษาเรื่องตัวละครมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ชูชก ซึ่งเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ชู
ชก เป็นเนื้อหาของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย จากการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ได้รับความรู้และ
ประสบการณ์ต่างๆมากมายโดยเฉพาะลักษณะตัวละครและประสบการณ์ทางชีวิตและสามารถนาไปปรับ
ใช้ได้
ข้อเสนอแนะ
๑. ควรศึกษากัณฑ์อื่นๆในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ชูชกมากขึ้น
๒. ควรมีการประชุมเพื่อการวางแผนการแก้ปัญหาต่าง ๆ
๓. วางแผนในการประสานงานให้เป็นระบบและแบ่งหน้าที่ความรับรับชอบให้ตรงตามตาแหน่งงาน
เพื่อการทางานจะได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
๑๐
บรรณานุกรม
วัดทอง. ๒๕๖๑. ตัวลครในกัณฑ์ชูกชก. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
http://watthong.com/index.php/en/2014-12-09-01-23-42. ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๒
ศึกษาธิการ, กระทรวง. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สานักงาน .( ๒๕๖๒).
หนังสือรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย วรรณคดีวิจักษ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕.
พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร : สกสค. ลาดพร้าว.

More Related Content

What's hot

หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยNattha Namm
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
ระบำโบราณคดี
ระบำโบราณคดีระบำโบราณคดี
ระบำโบราณคดีพัน พัน
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มkkrunuch
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารSantichon Islamic School
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2Chalermsak Sornchai
 
โครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือโครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือkitkit1974
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34Kittisak Chumnumset
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชChoengchai Rattanachai
 

What's hot (20)

หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัย
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ระบำโบราณคดี
ระบำโบราณคดีระบำโบราณคดี
ระบำโบราณคดี
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
 
โครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือโครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือ
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 

Similar to ตัวละครในกัณฑ์ชูชก

คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔r2d2ek
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdfmaruay songtanin
 
รายชื่อผู้ที่ผ่านการประเมินบล็อก รุ่น 3 และรุ่น 4
รายชื่อผู้ที่ผ่านการประเมินบล็อก รุ่น 3 และรุ่น 4รายชื่อผู้ที่ผ่านการประเมินบล็อก รุ่น 3 และรุ่น 4
รายชื่อผู้ที่ผ่านการประเมินบล็อก รุ่น 3 และรุ่น 4ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
คีตกวีเอกของไทย.pdf
คีตกวีเอกของไทย.pdfคีตกวีเอกของไทย.pdf
คีตกวีเอกของไทย.pdfpinglada
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตTaweedham Dhamtawee
 
วัดศรีสวาย2
วัดศรีสวาย2วัดศรีสวาย2
วัดศรีสวาย2Gamonros
 
มหาตมาคานธี.pdf
มหาตมาคานธี.pdfมหาตมาคานธี.pdf
มหาตมาคานธี.pdfSengtiger
 

Similar to ตัวละครในกัณฑ์ชูชก (20)

คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
 
จอมพล ป. พิบูลสงคราม503
จอมพล ป. พิบูลสงคราม503จอมพล ป. พิบูลสงคราม503
จอมพล ป. พิบูลสงคราม503
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
 
รายชื่อผู้ที่ผ่านการประเมินบล็อก รุ่น 3 และรุ่น 4
รายชื่อผู้ที่ผ่านการประเมินบล็อก รุ่น 3 และรุ่น 4รายชื่อผู้ที่ผ่านการประเมินบล็อก รุ่น 3 และรุ่น 4
รายชื่อผู้ที่ผ่านการประเมินบล็อก รุ่น 3 และรุ่น 4
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
คีตกวีเอกของไทย.pdf
คีตกวีเอกของไทย.pdfคีตกวีเอกของไทย.pdf
คีตกวีเอกของไทย.pdf
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
 
เทียนวรรณ
เทียนวรรณเทียนวรรณ
เทียนวรรณ
 
45 พรรษา
45 พรรษา45 พรรษา
45 พรรษา
 
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราชสมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
 
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
 
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
Aksorn 1
Aksorn 1Aksorn 1
Aksorn 1
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
วัดศรีสวาย2
วัดศรีสวาย2วัดศรีสวาย2
วัดศรีสวาย2
 
มหาตมาคานธี.pdf
มหาตมาคานธี.pdfมหาตมาคานธี.pdf
มหาตมาคานธี.pdf
 

ตัวละครในกัณฑ์ชูชก

  • 1. รายงานเชิงวิชาการ เรื่อง ตัวละครในกัณฑ์ชูกชก จัดทาโดย นางสาว คณิศร สะอาดเอี่ยม ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๑ นางสาว จุฬาลักษณ์ กรมสม ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๑๐ นางสาว บัญทิตา อาจหาญ ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๑๑ นางสาว ภัคจิรา วิญญา ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๑๒ นางสาว วรันธร ศรีธาวิรัตน์ ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๑๓ นางสาว ศิณีย์นาฏ แจ่มทิม ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๑๔ นางสาว อัจฉริยา เชื้อพันธ์ ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๓๗ นางสาว ภัทริน จันตะนี ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๔๑ นางสาว สุวิดา พิสมัย ชั้น ม.๕/๖ เลขที่ ๔๓ เสนอ คุณครู วรรณวิสา สมัยมาก โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓
  • 2. ก บทคัดย่อ รายงานนี้เป็นรายงานที่ริเริ่มมาจากการศึกษาค้นกว้าเกี่ยวกับมหาเวชสันดรชาดก ซึ่ง เป็นบทประพันธ์ของเจ้าพระยาคลัง (หน) และวรรณคดีนี้ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เพราะเป็นเรื่อง ที่ให้อะไรกับคนอ่านมากมายและเป็นเรื่องที่สืบเนื่องไปถึงพระพุทธศาสนา ได้อีกด้วย ด้วยเหตุนี้ทางผู้จัดทาจึงได้เกิดความริเริ่มที่จะศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ มหาเวชสันดรชา ดรชาดก ที่เกี่ยวกับตัวละครในกัณฑ์ชูชก เพื่อให้รู้และเข้าใจมากขึ้น และยังสามารถนาไป ปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้อีกด้วย และเพื่อศึกษาเกี่ยวกับตัวละครในกัณฑ์ชูชก และเพื่อนา ความรู้ที่ได้มาไปใช้ในชีวิตประจาวันต่อไปได้ และตัวละครชูชกมีทั้งหมด ๕ตัวหลักๆ ได้แก่ พระเวสสันดร เป็นตัวละครที่มีบทบาท สาคัญ อยู่ในวรรณคดีเรื่องร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก มีชื่อเรียกต่างๆกัน พระนางมัทรี พระนางมัทรีเป็นแบบฉบับของนางในวรรณคดีที่เพียบพร้อมไปด้วยคุณสมบัติ ต่างๆทั้งการเป็นแม่ที่ประเสริฐของลูก และการเป็นภรรยาที่ดีของสามี พระชาลี พระชาลีเป็นพระราชโอรสของพระเวสสันดรกับพระนางมัทรีเป็นพระเชษฐาของ พระกัณหา พระนัดดาของพระเจ้ากรุงสญชัยและพระนางผุสดีเมื่อเวลาประสูติพระประยูร ญาติได้ทรงนาตาข่ายทองมารองรับ จึงได้รับพระราชทานนามว่า ชาลี แปลว่าผู้มีตาข่าย พระกัณหา พระกัณหาเป็นผู้ที่มีความกตัญญูเชื่อฟังคาสั่งสอนและมีความเฉลียวฉลาด ได้ติดตามพระเวสสันดรและพระมัทรีไปยังเขาวงกต เมื่อถูกยกให้แก่ชูชกก็หาทางหลบหนี ชูชก แม้ชูชกจะเกิดในตระกูลพราหมณ์ที่ถือตนว่ามีกาเนิดสูงกว่าผู้อื่นแต่ชูชกก็ยากจน เข็ญใจยิ่ง
  • 3. ข กิตติกรรมประกาศ รายงานเรื่องนี้เสร็จสมบูรณ์ได้เพราะได้รับความกรุณาช่วยเหลือแนะนาอย่างดียิ่งจาก คุณครู วรรณวิสา สมัยมาก ที่ได้ให้คาปรึกษาแนะนาและให้ข้อคิดเห็ฯต่างๆ ในการทา รายงานตลอดจนแก้ไข้ข้อบกพร่องต่างๆ มาโดยตลอดคณะผู้จัดทาขอบกราบขอบพระคุณ เป็นอย่างสูง ขอกราบขอบพระคุณพ่อ คุณแม่ และผู้ปกครอง ที่ให้คาปรึกษาในเรื่องต่างๆ รวมทั้ง เป็นกาลังใจที่ดีเสมอมา สุดท้ายขอขอบคุณเพื่อนๆ ที่ชวยให้คาแนะนาเกี่ยวกับการช่วยทารายงานเรื่องนี้ให้ สาเร็จลุล่วงไปได้ คณะผู้จัดทา
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข บทที่ ๑ บทนา ๑ -ที่มาและความสาคัญ -วัตถุประสงค์ บทที่ ๒ เอกสารที่เกี่ยวข้อง ๒ -เรื่องย่อกัณฑ์ชูชก บทที่ ๓ วิธีการดาเนินงาน ๕ -วัสดุและอุปกรณ์ -วิธีการจัดทาโครงงาน บทที่ ๔ ผลการศึกษาค้นคว้า ๗ -ผลการศึกษา บทที่ ๕ สรุปผลการศึกษาค้นคว้า ๙ -สรุปผลการศึกษา -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ๑๐
  • 5. ๑ บทที่ ๑ บทนา ที่มาและความสาคัญ รายงานเชิงวิชาการเล่มนี้เป็นการวิเคราะห์ตัวละครในกัณฑ์ชูชก จากเรื่องพระเวสสันดรซึ่งเป็น ชาดก หนึ่งในทศชาติชาดก ในตอนกัณฑ์ชูชกนั่นสานักวัดสังข์จายเป็นผู้ประพันธ์ เป็นการกล่าวถึงเฒ่า ขอทานชื่อชูชกที่จะไปขอกุมารทั้งสองของพระเวสสันดร จากการได้ศึกษาและวิเคราะห์ทาให้ได้รับ อารมณ์ที่หลากหลายของตัวละคร การคิดและนิสัยของคนในสมัยก่อนร่วมทั้งข้อคิดและความรู้มากมายที่ เราสามารถนามาใช้ในชีวิตประจาวัน วัตถุประสงค์ ๑.เพื่อศึกษาค้นคว้าลักษณะนิสัยของตัวละครในมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ชูชก ๒.เพื่อนาความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
  • 6. ๒ บทที่ ๒ เอกสารที่เกี่ยวข้อง มหาชาติ หรือ มหาเวสสันดรชาดก มหาชาติ เป็นชาติที่ยิ่งใหญ่ของพระโพธิสัตว์ที่ได้เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดรและเป็นพระชาติ สุดท้ายก่อนจะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คนไทยรู้จักและคุ้ยเคยกับมหาชาติมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ดังที่ปรากฏในหลักฐานในจารึกนครชุม และในสมัยอยุธยาก็ได้มีการแต่งและสวดมหาชาติคาหลวงในวัน ธรรมสวนะ ส่วนการเทศน์มหาชาติเป็นประเพณีที่สาคัญในทุกท้องถิ่นและมีความเชื่อกันว่า การฟัง เทศน์มหาชาติจบภายในวันเดียวจะได้รับอานิสงส์มาก ผู้แต่ง สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กวีสานักวัดถนน กวีวัดสังขจาย (พระเทพโมลี (กลิ่น) (เจ้าพระยาพระคลัง (หน) ลักษณะคาประพันธ์ ความเรียงร้อยแก้ว ร่ายยาว กลบท กลอนพื้นบ้าน จุดมุ่งหมายในการแต่ง เพื่อใช้ในการสวด เทศนาสั่งสอน
  • 7. ๓ ความเป็นมา เวสสันดรชาดกนี้เป็นเรื่องใหญ่จัดรวมไว้ในมหานิบาตชาดกรวมเรื่องใหญ่ ๑๐ เรื่อง ที่เรียกกันว่า ทศชาติ แต่อีก ๙ เรื่อง ไม่เรียกว่ามหาชาติ คงเรียกแต่เวสสันดรชาดก เรื่องเดียวว่า มหาชาติ ข้อนี้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพ โปรดประทานอธิบายว่า พุทธศาสนิกชนชาวไทยตลอดจนประเทศใกล้เคียงนับถือกันมาแต่โบราณว่า เรื่องมหาเวสสันดรชาดก สาคัญกว่าชาดกอื่น ๆ ด้วยปรากฏบารมีของพระโพธิสัตว์บริบูรณ์ ในเรื่องมหาเวสสันดรชาดกทั้ง ๑๐ บารมี อานิสงส์การฟังเทศน์มหาชาติ การตั้งใจฟังเทศน์มหาชาติให้จบเพียงวันเดียวครบบริบูรณ์ ทั้ง ๑๓ กัณฑ์ จะเป็นเหตุให้สาเร็จความปรารถนาทุกประการดังนี้ ๑. เมื่อตายจากโลกนี้แล้ว จะมีโอกาสได้พบพระพุทธเจ้า พระนามว่า ศรีอริยเมตไตย ใน อนาคต ๒. เมื่อดับขันธ์ไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์ จะเสวยทิพยสมบัติมโหฬาร ๓. เมื่อตายไปแล้วจะไม่ตกนรก ๔. เมื่อถึงยุคพระพุทธเจ้าพระนามว่า ศรีอริยเมตไตย จะได้จุติไปเกิดเป็นมนุษย์ ๕. ได้ฟังธรรมต่อหน้าพระพักตร์ของพระพุทธองค์ จะได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นพระอริยบุคคล ในบวรพุทธศาสนา มูลเหตุการณ์เล่าเรื่องมหาชาติ คัมภีร์ธัมมบทขุททกนิกายกล่าวว่า เรื่องเวสสันดรชาดกเป็นพุทธดารัสที่สมเด็จพระบรมศาสดา ตรัสแก่ภิกษุสงฆ์ขีณาสพสองหมื่นรูป และพระประยูรญาติที่นิโครธารามหาวิหารในนครกบิลพัสดุ์ ใน คราวเสด็จโปรดพระเจ้าสุทโธทนะพุทธบิดา และพระวงศ์ศากยะบรรดาพระประยูรญาติไม่ปรารถนาจะ ทาความเคารพพระองค์ ด้วยเห็นว่าอายุน้อยกว่า พระองค์ทรงทราบความคิดนี้จึงทรงแสดงยมกปกฏิหาริย์ โดยเสด็จขึ้นเบื้องนภาอากาศแล้ว ปล่อยให้ฝุ่นละอองธุลีพระบาทตกลงสู่เศียรของพระประยูรญาติทั้งหลาย พระประยูรญาติจึงได้ละทิ้งทิฐิ แล้วถวายบังคมพระพุทธเจ้า ขณะนั้นได้เกิดฝนโบกขรพรรษ พระภิกษุทั้งหลายเห็นเป็นอัศจรรย์จึงได้ ทูลถาม พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่าฝนชนิดนี้เคยตกมาแล้วในอดีต แล้วจึงทรงแสดงธรรมเรื่องมหา เวสสันดรชาดก หรือเรื่องมหาชาติให้แก่พระภิกษุและพระประยูรญาติ
  • 8. ๔ มหาเวชสันดรชาดก เป็นชาดกที่มีความสาคัญมากกว่าชาดกอื่น ๆ เพราะพระบารมีของพระโพธิสัตว์ได้ บาเพ็ญบริบูรณ์ในพระชาตินี้ มหาเวสสันดรชาดกทั้ง ๑๐ บารมี คือ ทานบารมี = ทรงบริจาคทรัพย์สิน ช้าง ม้า ราชรถ พระกุมารทั้งสองและพระมเหสี ศีลบารมี = ทรงรักษาศีลอย่างเคร่งครัดระหว่างทรงผนวชอยู่ ณ เขาวงกต เนกขัมมบารมี = ทรงครองเพศบรรพชิตตลอดเวลาที่ประทับ ณ เขาวงกต ปัญญาบารมี = ทรงบาเพ็ญภาวนามัยปัญญาตลอดเวลาที่ทรงผนวช วิริยาบารมี = ทรงปฏิบัติมิได้ย่อหย่อน สัจจบารมี = ทรงลั่นพระวาจายกกุมารให้ชูชก เมื่อพระกุมารหลบหนีก็ทรงติดตามให้ ขันติบารมี = ทรงอดทนต่อความยากลาบากต่าง ๆ ขณะที่เดินทางมายังเขาวงกต และตลอดเวลาที่ ประทับ ณ ที่นั่น แม้แต่ตอนที่ทอดพระเนตรเห็นชูชกเฆี่ยนตีพระกุมารอย่างทารุณพระองค์ก็ทรงข่ม พระทัยไว้ได้ เมตตาบารมี = เมื่อพราหมณ์เมืองกลิงคราษฎร์ มาทูลขอช้างปัจจัยนาค เนื่องจากเมืองกลิงคราษฎร์ ฝนแล้ง ก็ทรงพระเมตตตาประทานให้ และเมื่อชูชกมาทูลขอสองกุมาร อ้างว่าตนได้รับความลาบาก ต่าง ๆ พระองค์ก็มีเมตตาประทานให้ด้วย อุเบกขาบารมี = เมื่อทรงเห็นสองกุมารถูกชูชกเฆี่ยนตี วิงวอนให้พระองค์ช่วยเหลือ ทรงบาเพ็ญ อุเบกขา คือทรงวางเฉย เพราะทรงเห็นว่าได้ประทานเป็นสิทธิ์ขาดแก่ชูชกไปแล้ว อธิษฐานบารมี = คือทรงตั้งมั่นที่จะบาเพ็ญบารมีเพื่อให้สาเร็จโพธิญาณาเบื้องหน้าก็มิได้ทรงย่อท้อ จนพระอินทร์ต้องประทานความช่วยเหลือต่าง ๆ เพราะพระทัยอันแน่วแน่ของพระองค์ เนื้อเรื่อง หลังจากสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงยมกปาฏิหารย์ ทาให้พระประยูรญาติละทิฐิยอม ถวายบังคม ก็บังเกิดฝนโบกขรพรรษ พระภิกษุทั้งหลายจึงได้ทูลถามพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ตรัส เล่าว่า ฝนชนิดนี้เคยตกมาแล้วในอดีต พระองค์จึงทรงแสดงธรรมเรื่องมหาเวสสันดรชาดก หรือเรื่อง มหาชาติ ทั้ง ๑๓ กัณฑ์ ตามลาดับ
  • 9. ๕ บทที่ ๓ วิธีการดาเนินการ วัสดุและอุปกรณ์ ๑.กระดาษ A4 ๒.คอมพิวเตอร์ ๓.เครื่องถ่ายเอกสาร ๔.โทรศัพท์มือถือ ๕.ปากกา วิธีการดาเนินงาน ๑.ศึกษาเนื้อเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ชูชก ๒.จัดการเขียนรวบรวมข้อมูลทั้งหมด ๓.ตรวจสอบรายละเอียดข้อมูลที่ได้รับมาอย่างให้แน่ใจและถูกต้อง ๔.นาข้อมูลทั้งหมดที่ได้รับมาจัดการพิมพ์ลงในคอมพิวเตอร์ ๕.นาข้อมูลที่ได้ทาการพิมพ์ลงคอมพิวเตอร์แล้วนามาถ่ายเอกสาร ๖.จัดการรวมเล่มอย่างสวยงามและนาส่งคุณครูประจาวิชา
  • 10. ๖ ตารางบันทึกผลการทางานโครงงาน เรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ชูชก ลาดับ กิจกรรม วัน/เดือน/ปี สถานที่ดาเนินงาน ๑. ศึกษาเนื้อเรื่องมหาเวสสันดร ชาดก กัณฑ์ชูชก ๓/สิงหาคม/๒๕๖๒ บ้านของคณะผู้จัดทา ๒. จัดการเขียนรวบรวมข้อมูล ทั้งหมด ๙/สิงหาคม/๒๕๖๒ โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ ๓. ตรวจสอบรายละเอียดข้อมูลที่ได้ รับมาอย่างให้แน่ใจและถูกต้อง ๑๔/สิงหาคม/๒๕๖๒ โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ ๔. นาข้อมูลทั้งหมดที่ได้รับพิมพ์ลง คอมพิวเตอร์ ๑๖/สิงหาคม/๒๕๖๒ บ้านของคณะผู้จัดทา ๕. นาข้อมูลที่ทาการพิมพ์แล้วนามา ถ่ายเอกสาร ๒๙/สิงหาคม/๒๕๖๒ โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ ๖. จัดการรวมเล่มอย่างสวยงามและ นาส่งคุณครูประจาวิชา ๑๓/กันยายน/๒๕๖๒ โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์
  • 11. ๗ บทที่ ๔ ผลการศึกษาค้นคว้า มีตัวละครทั้งหมดในกัณฑ์ชูกชก ดังนี้ พระเวสสันดร เป็นแบบอย่างของผู้เสียสละประโยชน์ส่วนตัว เพื่อประโยชน์ของส่วนรวม มุ่งบาบัดทุกข์ บารุงสุข ของประชาชนเป็นที่ตั้ง ยอมเสียสละความสุขส่วนพระองค์ แม้จะทุกข์ก็ไม่หวั่น เป็นแบบอย่างของบุคคล ผู้ไม่ยึดติดอานาจวาสนา รู้ซึ้งถึงโลกธรรมที่ว่า "ยามมียศ เขาก็ยก ยามต่าตกเขาก็หยาม"หาได้หวั่นไหว หรือล้มเลิกบาเพ็ญบารมีไม่ พระนางมัทรี เป็นแม่แบบของภรรยาผู้มีลักษณะเป็นกัลยาณมิตรของสามี สนับสนุนเป้าหมายชีวิตอันประเสริฐที่ สามี ได้ตั้งไว้ และยังเป็นแบบอย่างของภรรยาตามทัศนะของคนตะวันออก เช่น ปฏิบัติดูแล เรื่องข้าวปลาอาหาร เป็นต้น ทรงคุณธรรมสาคัญ คือ "ซื่อตรง จงรัก หนักแน่น" พระชาลี - พระนางกัณหา เป็นแบบอย่างของลูกที่เชื่อฟังพ่อแม่ เข้าใจในเจตนาแห่งการประพฤติธรรม เพื่อประโยชน์ของคนหมู่ มากของพ่อคือพระเวสสันดร นางอมิตตดา เป็นแบบอย่างของลูกที่เชื่อฟังตั้งอยู่ในโอวาทของพ่อแม่ตามคติของคนยุคนั้น และของภรรยาที่ ปฏิบัติ ต่อสามีตามคตินิยม แต่ขณะเดียวกันก็เป็นตัวอย่างของคนที่ไม่มีความเป็นตัวของ ตัวเอง ปล่อยชีวิตให้เป็นไปตามกระแสของสังคมจนเกินควร พ่อแม่ของนางอมิตตดา เป็นแบบอย่างของคนสุรุ่ยสุร่าย ไม่ประมาณตนเอง ประมาทในการใช้จ่าย สร้างหนี้สินก่อเวรก่อ กรรม ไว้ให้ลูก ชูชก เป็นตัวอย่างของคนที่ติดอยู่ในกามคุณเข้าลักษณะว่า "วัวแก่กินหญ้าอ่อน" ต้องตกระกาลาบากใน ยามชรา เพราะ "รักสนุก จึงต้องทุกข์ถนัด" ตาราหิโตปเทศว่า " ความรู้เป็นพิษเพราะเหตุไม่ใช้ปราสาท เป็นพิษเพราะ คนเข็ญใจ อาหารเป็นพิษเพราะไฟธาตุไม่ย่อย เมียสาวเป็นพิษเพราะผัวแก่"
  • 12. ๘ พรานเจตบุตร เป็นแบบอย่างของคนดี แต่ขาดความเฉลียวจึงต้องตกเป็นเยื่อของเฒ่าชูชกพระอัจุตฤาษีเป็น แบบอย่าง ของนักธรรมผู้ฉลาด แต่ขาดเฉลียว หูเบาเชื่อคนง่าย ดังโบราณว่า "สงสารฉิบหาย เชื่อง่ายเป็นทุกข์" กษัตริย์เจตราชเป็นแบบอย่างของมิตรแท้ที่พร้อมที่จะช่วยเหลือมิตรในยาม ยาก มีน้าใจไม่ทอดทิ้งแม่ในยาม ที่มิตรสิ้นทรัพย์อับวาสนา เข้าลักษณะว่า "ยามปกติก็ อุปัฏฐาก ยามตกยากก็อุปถัมภ์"ชาวเมืองกลิงครัฐ เป็นแบบอย่างของผู้คลั่งไคล้ในกระแสค่านิยม ซึ่งไม่จาเป็นต้องถูกต้องงเสมอไป ใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผล เป็นต้นเหตุของการเดินขบวน และปลุก "ม็อบ" แสดงความเป็นประชาธิปไตย แต่เป็นประชาธิปไตยชนิด "บาทาธิปไตย" คือ แก้ปัญหาด้วยเท้า นิยมความรุนแรง ใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผล
  • 13. ๙ บทที่ ๕ สรุปผลการค้นคว้า กลุ่มดิฉันได้ศึกษาเรื่องตัวละครมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ชูชก ซึ่งเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ชู ชก เป็นเนื้อหาของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย จากการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ได้รับความรู้และ ประสบการณ์ต่างๆมากมายโดยเฉพาะลักษณะตัวละครและประสบการณ์ทางชีวิตและสามารถนาไปปรับ ใช้ได้ ข้อเสนอแนะ ๑. ควรศึกษากัณฑ์อื่นๆในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ชูชกมากขึ้น ๒. ควรมีการประชุมเพื่อการวางแผนการแก้ปัญหาต่าง ๆ ๓. วางแผนในการประสานงานให้เป็นระบบและแบ่งหน้าที่ความรับรับชอบให้ตรงตามตาแหน่งงาน เพื่อการทางานจะได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  • 14. ๑๐ บรรณานุกรม วัดทอง. ๒๕๖๑. ตัวลครในกัณฑ์ชูกชก. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://watthong.com/index.php/en/2014-12-09-01-23-42. ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ศึกษาธิการ, กระทรวง. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สานักงาน .( ๒๕๖๒). หนังสือรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย วรรณคดีวิจักษ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร : สกสค. ลาดพร้าว.