SlideShare a Scribd company logo
การจัดการชั้นเรียน
ความหมายของการจัดการชั้นเรียน
• ปราณี สาระจิตต์ (2537:อ้างอิงจาก สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
,2552,47) ให้ความหมายไว้ว่า การจัดการชั้นเรียน หมายถึงกระบวนการใน
ด้านการจัดเตรียมสภาพห้องเรียน วัสดุอุปกรณ์ และกิจกรรม รวมทั้งวิธีการ
ในการจัดการพฤติกรรมของเด็ก เพื่อรักษาบรรยากาศในชั้นเรียน ช่วยให้การ
เรียนการสอนดาเนินไปอย่างราบรื่น เด็กเกิดความมือในกิจกรรมการเรียนรู้
ความหมายของการจัดการชั้นเรียน (ต่อ)
• KAUCHAK and EGGEN (1998) ให้คาจากัด ความว่า การบริหาร
การจัดชั้นเรียน ประกอบด้วย ความคิด การวางแผน และการปฏิบัติ ทั้งหลายทั้งปวง
ของครูที่สร้างสรรค์ภาพแวดล้อมอย่างเป็นระบบระเบียบ และ ส่งเสริมการเรียนรู้
• Paul Burden (1993:3) ให้คาจากัดความของการจัดการชั้น เรียนไว้ว่า
เป็นยุทธศาสตร์และการปฏิบัติที่ครูใช้เพื่อคงสภาพความเป็น ระเบียบเรียบร้อย
ความหมายของการจัดการชั้นเรียน (ต่อ)
• สรุป : การบริหารจัดการชั้นเรียน หมายถึง การจัดสภาพแวดล้อมทั้ง ภายใน
และภายนอกห้องเรียน เพื่อสนับสนุนให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข
ความสาคัญของการจัดการชั้นเรียน
• 1.ช่วยส่งเสริมให้การเรียนการสอนดาเนินไปอย่างราบรื่น
• 2. ช่วย สร้างเสริมลักษณะนิสัยที่ดีงามและความมีระเบียบวินัยให้แก่ผู้เรียน
• 3. ช่วย ส่งเสริมสุขภาพที่ดีให้แก่ผู้เรียน
• 4. ช่วย ส่งเสริมการเรียนรู้ และสร้างความสนใจในบทเรียนมากยิ่งขึ้น
• 5. ช่วยส่งเสริมการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
• 6. ช่วยสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียน
เป้าหมายของการจัดการชั้นเรียน
• เป้าหมายของการบริหารจัดการ (MANAGEMENT GOALS)
• มี 2 ประการสาคัญ
• รังสรรค์สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่จะส่งเสริมให้การเรียนรู้มีความเป็นไปได้มากที่สุด
• พัฒนานักเรียนให้มีศักยภาพในการจัดการและพัฒนาตนเองให้สามารถเรียนรู้ได้ ด้วยตนเอง
การจัดการสภาพชั้นเรียน
• 1. ความสะอาด ความปลอดภัย
• 2. ความมีอิสระอย่างมีขอบเขตในการเล่น
• 3. ความสะดวกในการทากิจกรรม
• 4. ความพร้อมของอาคารสถานที่ เช่น ห้องเรียน ห้องน้าห้องส้วม สนามเด็กเล่น
• 5. ความเพียงพอเหมาะสมในเรื่องขนาด น้าหนัก จานวน สีของสื่อและเครื่องเล่น
• 6. บรรยากาศในการเรียนรู้ การจัดที่เล่นและมุมประสบการณ์ต่างๆ
แนวคิดของการจัดการชั้นเรียน
• การบริหารจัดการชั้นเรียน และการเรียนการสอนเป็นสิ่งที่มีความสัมพันธ์
ซึ่ง กันและกัน
• รูปแบบการสอนหรือกลยุทธ์ที่ครูเลือกใช้แต่ละรูปแบบก็มีระบบการบริหาร
จัดการของมันเองและมีภารกิจเฉพาะของรูปแบบหรือกลยุทธ์นั้น ๆ ที่จะมี อิทธิพลต่อ
พฤติกรรมทั้งของครูและนักเรียน
• การบริหารชั้นเรียนเป็นความท้าทายของการเป็นครูมืออาชีพ
การจัดการชั้นเรียนเพื่อส่งเสริม
บรรยากาศการเรียนรู้
• พรรณี ชูทัย (2522) กล่าวถึงบรรยากาศในชั้นเรียนที่จะนาไปสู่ความสาเร็จในการสอน จัดแบ่งได้ 6
ลักษณะ
• 1. บรรยากาศที่ท้าทาย (Challenge)
• 2. บรรยากาศที่มีอิสระ (Freedom)
• 3. บรรยากาศที่มีการยอมรับนับถือ (Respect)
• 4. บรรยากาศที่มีความอบอุ่น (Warmth)
• 5. บรรยากาศแห่งการควบคุม (Control)
• 6. บรรยากาศแห่งความสาเร็จ (Success)
ประเภทของบรรยากาศในชั้นเรียน
•บรรยากาศทางกายภาพ
•บรรยากาศทางจิตวิทยา
•การจัดบรรยากาศทางสังคม
ประเภทของบรรยากาศในชั้นเรียน (ต่อ)
• บรรยากาศทางกายภาพ
• การจัดโต๊ะเรียนและเก้าอี้ของนักเรียน
• การจัดโต๊ะครู
• การจัดป้ายนิเทศ
• การจัดสภาพห้องเรียน ต้องให้ถูกสุขลักษณะ
• การจัดมุมต่าง ๆ ในห้องเรียน
ประเภทของบรรยากาศในชั้นเรียน (ต่อ)
• บรรยากาศทางจิตวิทยา
• หมายถึง บรรยากาศทางด้านจิตใจที่นักเรียนรู้สึกสบายใจ มีความอบอุ่น มีความเป็นกันเอง มีความสัมพันธ์อัน
ดีต่อกัน และมีความรักความศรัทธาต่ ผู้สอน ตลอดจนมีอิสระในความกล้าแสดงออกอย่างมีระเบียบวินัยในชั้น
เรียน
• 1.บุคลิกภาพ
• 2.พฤติกรรมการสอน
• 3.เทคนิคการปกครองชั้นเรียน
• 4.ปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน
ประเภทของบรรยากาศในชั้นเรียน (ต่อ)
• บรรยากาศ ทางสังคม
• บรรยากาศ ทางสังคม เป็นบรรยากาศที่เกิดจากผลการปฎิสัมพันธ์ของกลุ่มนักเรียนและครูซึ่งอยู่ร่วมกันและทากิจกรรม
ร่วมกัน
• ปฎิสัมพันธ์ หมายถึง ความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างบุคคล 2 คน หรือบุคคล 2 ฝ่ ายโดยต่างมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน ลักษณะ
ปฎิสัมพันธ์ในชั้นเรียนแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ ดังนี้
• 1. ปฎิสัมพันธ์ ระหว่าง ครู กับ นักเรียน
• 2. ปฎิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียน กับ นักเรียน
• 3. การปฎิสัมพันธ์ทางบรรยากาศทางด้านสังคม
ประเภทของบรรยากาศในชั้นเรียน (ต่อ)
• สรุปว่า การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ภายในชั้นเรียน ประกอบด้วย
บรรยากาศทางกายภาพ บรรยากาศทางด้านจิตวิทยา บรรยากาศทางด้าน
สังคม ผู้สอนต้องตระหนักถึงความสาคัญของการสร้างบรรยากาศทั้งสาม
ด้าน โดยปรับปรุงทั้งในส่วนที่เป็นตัวครู นักเรียน และการจัดชั้นเรียน
รวมถึงเทคนิคการปกครองชั้นเรียนและการสร้างการปฎิสัมพันธ์ ที่ส่งเสริม
การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
รูปแบบการจัดชั้นเรียน
• รูปแบบการจัดชั้นเรียน แบ่งออกเป็น
1.ชั้นเรียนแบบธรรมดา
2.ชั้นเรียนแบบนวัตกรรม
หลักการจัดชั้นเรียน
• การจัดชั้นเรียนควรให้ยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม
• ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสร้างเสริมความรู้ทุกด้าน
• ควรจัดชั้นเรียนให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี
• ควรจัดชั้นเรียนเพื่อเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่ดีงาม
• ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสร้างความเป็นระเบียบ
• ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสร้างเสริมประชาธิปไตย
• ควรจัดชั้นเรียนให้เอื้อต่อหลักสูตร
ลักษณะของชั้นเรียนที่ดี
• 1. ชั้นเรียนที่ดีควรมีสีสันที่น่าดู สบายตา อากาศถ่ายเทได้ดี ถูกสุขลักษณะ
• 2. จัดโต๊ะเก้าอี้และสิ่งที่ที่อยู่ในชั้นเรียนให้เอื้ออานวยต่อการเรียนการสอน และกิจกรรมประเภทต่างๆ
• 3. ให้นักเรียนได้เรียนอย่างมีความสุข มีอิสรเสรีภาพ และมีวินัยในการดูแลตนเอง
• 4. ใช้ประโยชน์ชั้นเรียนให้คุ้มค่า ครูอาจดัดแปลงให้เป็นห้องประชุม ห้องฉายภาพยนตร์และอื่น ๆ
• 5. จัดเตรียมชั้นเรียนให้มีความพร้อมต่อการสอนในแต่ละครั้ง เช่น การทางานกลุ่ม การสาธิตการแสดง
บทบาทสมมุติ
• 6. สร้างบรรยากาศให้อบอุ่น ให้ความเป็นกันเองกับผู้เรียน
การดูแลและควบคุมชั้นเรียน
• การดูแลและควบคุมชั้นเรียน หมายถึง การที่ครูสามารถควบคุมสถานการณ์
ในชั้นเรียนโดยเรียบร้อย แต่มิได้หมายถึง ครูใช้อานาจในการปกครอง เช่น
การขู่ หรือการลงโทษ
วัตถุประสงค์ของการดูแลและควบคุมชั้นเรียน
• 1.เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้มีระเบียบวินัย
• 2.เพื่อให้มีความสามัคคีปรองดองกัน ในหมู่นักเรียน
• 3. เพื่อให้การเรียนการสอนประสบผลสาเร็จ
• 4. เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักควบคุมดูแลและปกครองตนเองตามหลักประชาธิปไตย
• 5. เพื่อให้ผู้สอนและผู้เรียนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
ปัจจัยที่ลดปัญหาการบริหารจัดการชั้นเรียน
• ความประสานสอดคล้องระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอนกับวินัย
ในชั้นเรียนและบรรยากาศห้องเรียน
• การใช้วินัยเชิงบวกและความรู้สึกเชิงบวก
• การสร้างแรงจูงใจและพลังขับเคลื่อนการเรียนรู้
ทฤษฎีและการนาไปใช้
• ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์
Abraham H. Maslow เป็นบุคคลแรกที่ได้ตั้งทฤษฎีทั่วไปเกี่ยวกับการจูงใจ
• ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต
การสอนเชิงบวก
• Wheldall and Merrett(1989) มีแนวคิดดังนี้
• 1.ครูใส่ใจสังเกตพฤติกรรมนักเรียนสม่าเสมอ
• 2.พฤติกรรมต่างๆในห้องเรียนเป็นสิ่งที่เรียนรู้ได้
• 3.การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนักเรียน ต้องมีหลักฐานและเหตุผล
• 4.ใช้จิตวิทยาจัดกิจกรรมที่ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมที่เหมาะสม
• 5.จัดห้องเรียนเอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีความสุข
ทฤษฎีและการนาไปใช้ (ต่อ)
• ท่านศาสดามุฮัมหมัด (ซ.ล.-ซ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม - ขอสรรเสริญและความศานติจงประสบ
แด่ท่าน) เป็น “บรมครู” แห่งการ ดะอวะห– การเผยแผ่การอบรม และการแนะนําสั่งสอนอย่าง
ครบวงจร ท่านเป็นศาสดาที่เปี่ยมล้นด้วยคุณลักษณะของผู้เผยแผ่ และการสอนประชาชาติที่เรียบ
ง่าย แต่แฝงเร้นด้วยคุณค่าและความหมายอย่างยิ่ง แม้แต่ท่านมุอาวียะห์ บุตรอัล-ฮะกัม อัสสุละมีย
ซึ่งเป็นซอฮาบะห์- อัครสาวกท่านหนึ่งของทานศาสดา ได้กล่าวว่า “ฉันขอสาบานว่า ฉันไม่เคยเห็น
ครูท่านใดที่สอนได้ดีกว่าท่านศาสดา และไม่เคยเห็นครูท่านใดที่ทําหนาที่อบรม ตักเตือนดีกว่า
ท่านศาสดา”
ทฤษฎีและการนาไปใช้ (ต่อ)
• เทคนิคการสอนของท่านศาสดามุฮััมหมัด (ซ.ล)
• 1. มีการสอนเชิงบูรณาการ และมีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย
• 2. สร้างแรงกระตุ้นและปลุกเร้าให้ผู้เรียนมีความสนใจอยู่เสมอ
• 3. ให้ขวัญกาลังใจแก่ผู้เรียนด้วยการกล่าวคาชมเชย และให้รางวัล
• 4. สอนและแนะนาความรู้ และความถนัดเฉพาะด้านที่เหมาะสมกับผู้เรียน
• 5. มีความเข้าใจถึงความสามารถของผู้เรียน และระดับสติปัญญาเป็นรายบุคคล
ทฤษฎีและการนาไปใช้ (ต่อ)
• 6. เอาใจใส่และถือผู้เรียนเป็นสาคัญของการเรียนรู้
• 7. คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล (ของผู้เรียน)
• 8. รู้จักใช้สื่อนวัตกรรมอย่างหลากหลาย
• 9. มีเทคนิคการนาเสนอที่เร้าความสนใจและหลากหลาย
• 10. มีความสัมพันธระหว่างบทเรียนกับเหตุการณ์ปัจจุบัน
• 11. หมั่นทบทวนความรู้ความจา และคานึงถึงความกระตือรือร้น และความพร้อมของผู้เรียน
การจัดการชั้นเรียนแนวใหม่
• ดูวีดีโอแล้วช่วยกันสรุปความรู้ที่ได้รับ
การบริหารจัดการชั้นเรียนเพื่อพัฒนา
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
1. ห้องเรียนกลับด้าน
การบริหารจัดการชั้นเรียนเพื่อพัฒนา
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (ต่อ)
• 2. ห้องเรียนเสมือน
การบริหารจัดการชั้นเรียนเพื่อพัฒนา
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (ต่อ)
• 3. ห้องเรียนอัจฉริยะ
การบริหารจัดการชั้นเรียนเพื่อพัฒนา
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (ต่อ)
•4. การบริหารจัดการห้องเรียนเชิงรุก
•5. พื้นที่การเรียนรู้ (Learning Space)
• 6. ชั่วโมงอัจฉริยะ (Genius Hour)
การบริหารจัดการชั้นเรียนเพื่อพัฒนา
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (ต่อ)
การบริหารจัดการชั้นเรียนเพื่อพัฒนา
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (ต่อ)
• 7. แอปพลิเคชันสาหรับการจัดการชั้นเรียนสาหรับครู
หลักการ 6 แอปพลิเคชัน ClassDojo
แนะนาแอปพลิเคชั่นสาหรับห้องเรียน 4.0
• ClassDojo Google Classroom Kahoot Plickers
แนะนาแอปพลิเคชั่นสาหรับห้องเรียน 4.0
• Zipgrade Prezi Padlet Seesaw Photo math
แข่งขันไต่ระดับคะแนนและความรวดเร็ว
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวอัสมะ อามีสา 635142081
นางสาวอารีนี ยูโซ๊ะ 635142093
นางสาวฮัาญาตีย์ มาน๊ะ 635142104
กลุ่ม 05 ปีการศึกษา 2563

More Related Content

What's hot

โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพCheeses 'Zee
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
Twatchai Tangutairuang
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศsutima piboon
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าChok Ke
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
Anucha Somabut
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
Ketsarin Prommajun
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
kruthai40
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
niralai
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
Choengchai Rattanachai
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
Warodom Techasrisutee
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
maerimwittayakom school
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
Supada Phuluang
 

What's hot (20)

โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 

Similar to การจัดการชั้นเรียน

Classroommanagement
ClassroommanagementClassroommanagement
Classroommanagement
Jane Nantachat
 
การบริหารจัดการชั้นเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียนการบริหารจัดการชั้นเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียนphatcom10
 
การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมJit Khasana
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
Pornpailin
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
Tawatchai Bunchuay
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
Sircom Smarnbua
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
kanidta vatanyoo
 
Hw2 201700
Hw2 201700Hw2 201700
Hw2 201700
saowana
 
กรณีศึกษา ครูสมศรี - 201700
กรณีศึกษา ครูสมศรี - 201700กรณีศึกษา ครูสมศรี - 201700
กรณีศึกษา ครูสมศรี - 201700
นะนาท นะคะ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
kanwan0429
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
kanwan0429
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5พิพัฒน์ ตะภา
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
sangkom
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
นางสาวอัมพร แสงมณี
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
guest283582b
 

Similar to การจัดการชั้นเรียน (20)

Classroommanagement
ClassroommanagementClassroommanagement
Classroommanagement
 
การบริหารจัดการชั้นเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียนการบริหารจัดการชั้นเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียน
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อม
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 
Hw2 201700
Hw2 201700Hw2 201700
Hw2 201700
 
กรณีศึกษา ครูสมศรี - 201700
กรณีศึกษา ครูสมศรี - 201700กรณีศึกษา ครูสมศรี - 201700
กรณีศึกษา ครูสมศรี - 201700
 
การเรียนรู้
การเรียนรู้การเรียนรู้
การเรียนรู้
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 

Recently uploaded

ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 

Recently uploaded (6)

ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 

การจัดการชั้นเรียน