SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
บทที่ ๔
เปรียบเทียบแนวคิดเรื่องการปรับพฤติกรรมมตามหลัก
ของแบนดูร่ากับการประยุกต์เรื่องกรรมเพื่อปรับ
พฤติกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนา
ในบทนี้ผู้วิจัยจะนำาเอาแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมของ
มนุษย์ตามหลักของพระพุทธศาสนากับแบนดูร่ามาเปรียบเทียบกัน
ว่ามีประเด็นใดบ้างที่เหมือนกัน และต่างกัน ตามหัวข้อที่ได้ทำาการ
ศึกษาวิเคราะห์ในบทที่ ๒ และ ๓ ดังนี้ คือ ความหมายของ
พฤติกรรม ประเภทของพฤติกรรม แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรม
ของมนุษย์ และการพัฒนาพฤติกรรมของมนุษย์ ตามลำาดับ
๔.๑ ความหมายของพฤติกรรมของแบนดูร่ากับพระพุทธ
ศสานา
ความเหมือนกัน
พฤติกรรมระหว่าง พระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่มี
ความหมายเหมือนกัน คือ หมายถึง การกระทำากิจกรรมต่างๆ ที่
สามารถมองเห็นได้ถึงแม้พฤติกรรมบางอย่างที่ไม่สามารถมองเห็น
ได้แต่ศาสตร์สมัยใหม่ก็มีเครื่องมือวัดได้ในฝ่ายของพระพุทธ
ศาสนาก็สามารถสัมผัสได้ด้วยใจของผู้มีคุณวิเศษคือผู้ได้ปรวิชาน
นอภิญญาที่สามารถรู้วาระจิตของคนอื่นได้นอกจากนี้ มีความ
เหมือนกันอีกอย่าง คือ การกระทำาที่ประกอบด้วยเจตนาหรือการก
ระทำาที่เป็นไปด้วยความจงใจ การกระทำาโดยผ่านทางทวารทั้ง ๓
คือ กายทวาร การกระทำาทางกาย วจีทวาร การกระทำาทางวาจา
และมโนทวาร การคิดด้วยใจ
ความต่างกัน
พฤติกรรมตามศาสตร์สมัยใหม่มีความหมายต่างกันกับ
พระพุทธศาสนาโดยมุ่งไปที่พฤติกรรมเปิดเผยที่เป็นองค์รวมคือมี
ขอบเขตเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงแคบกว่าดังที่ได้เสนอไปข้างต้น
๔.๒ ประเภทของพฤติกรรมของแบนดูร่ากับพระพุทธศสา
นา
ความเหมือนกัน
ทั้งพระพุทธศาสนาและศาสตร์สมัยใหม่ได้แยกประเภท
ของพฤติกรรมออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ คือ พฤติกรรมภายนอก
กับพฤติกรรมภายใน ถึงแม้พระพุทธศาสนาจะแบ่งแหล่งที่เกิด
ของกรรมออกเป็น ๓ ทาง คือ ทางกาย ทางวาจา และทางใจ
ก็ตาม เมื่อพิจารณาสรุปแล้วก็ย่อลงเป็น ๒ ประเภทเหมือนกับ
ศาสตร์สมัยใหม่คือ พฤติกรรมทางกาย และวาจา จัดเป็น
พฤติกรรมภายนอก พฤติกรรมทางใจ จัดเป็นพฤติกรรมภายใน
ส่วนแนวคิดของแบนดูร่ายิ่งใกล้เคียงกับพระพุทธศาสนา
เพราะแบนดูร่าเน้นพฤติกรรมทางใจเป็นสำาคัญเช่นเดียวกับ
พระพุทธศาสนาที่ถือว่ากรรมทางใจสำาคัญที่สุด
ความต่างกัน
ศาสตร์สมัยใหม่โดยทั่วไปรวมทั้งแบนดูร่าด้วยได้ทำาการ
ศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ที่มีผลในปัจจุบันคือสังเกตเห็นได้ด้วยตา
เปล่าไม่ได้ศึกษาลึกลงไปถึงเหตุที่ทำาให้เกิดพฤติกรรมในปัจจุบัน
และผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคตในภพชาติต่อไป แต่พระพุทธ
ศาสนาศึกษาครบทั้ง ๓ กาล คือเหตุในอดีตกาลที่ทำาให้เกิดผลใน
ปัจจุบันและจะเกิดในอนาคตทั้งในภพนี้และภพหน้า
๔. ๓. แนวทัศนะเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ตามหลักของ
แบนดูร่ากับพระพุทธศาสนา
ความเหมือนกัน
ทั้งพระพุทธศาสนาและแบนดูร่า มีแนวคิดเกี่ยวกับ
พฤติกรรมเหมือนกันตรงที่องค์ประกอบ ๓ ส่วนประกอบกัน
กำาหนดกันและกัน มีอิทธิพลต่อกัน กล่าวคือ แบนดูร่า มองว่า
พฤติกรรมมนุษย์เกิดจากสิ่งแวดล้อมและบุคคล ทั้ง ๓ อย่างนี้มี
ความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงถึงกันและกันเป็นลูกโซ่ สอดคล้องกับ
ทัศนะของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับเหตุ ปัจจัย และผล และ
สอดคล้องกับหลักปฏิจจสมุปบาทที่กรรมแต่ละอย่างมีความเกี่ยว
116
เนื่องกันและกัน เช่น เวทนาเป็นปัจจัยให้เกิดตัณหา เป็นปัจจัยให้
เกิดอุปาทาน ในทางกลับกัน อุปาทานก็เป็นปัจจัยในเกิดตัณหา
ตัณหาก็เป็นปัจจัยให้เกิดเวทนาได้เช่นเดียวกัน
แบนดูร่ามีความเชื่อว่า พฤติกรรมของคนเรานั้น ไม่ได้
เกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากปัจจัยทางสภาพแวดล้อมแต่
เพียงอย่างเดียว แต่มีปัจจัยส่วนบุคคล (ปัญญา ชีวภาพ และสิ่ง
ภายในอื่น ๆ) ร่วมด้วย และการร่วมของปัจจัยส่วนบุคคลนั้นจะ
ต้องร่วมกันในลักษณะที่กำาหนดซึ่งกันและกัน (Reciprocal
Determinism) กับปัจจัยทางด้านพฤติกรรมและสภาพแวดล้อม
สอดคล้องกับพระพุทธศาสนา ที่เน้นกรรมทางใจหรือมโนกรรม
เป็นสำาคัญ การกระทำาทุกอย่างล้วนออกมาจากใจทั้งนั้น
แบนดูร่ามองว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นตั้งแต่ได้เห็นตัวแบบแล้ว
แม้ยังไม่ได้แสดงออกมา ก็ตาม สอดคล้องกับพระพุทธศาสนา
ที่ว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อตาเห็นรูปแล้วเกิดจักษุวิญญาณคือความ
รู้ทางตา จากนั้นความรู้อันนั้นก็จะถูกส่งไปเก็บในภวังคจิตรอ
โอกาสให้ผลเมื่อถึงคราวที่เหมาะสม
ความต่างกัน
ความต่างกันระหว่างแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรม
หรือบ่อเกิดพฤติกรรมของแบนดูร่ากับพระพุทธศาสนา ตรงที่แบน
ดูร่ามองว่า พฤติกรรมเกิดจากประสบการณ์สิ่งแวดล้อมและบุคคล
ซึ่งเน้นที่ตัวบุคคลแต่ไม่ได้ลงลึกถึงรายละเอียดว่า เหตุที่ทำาให้
บุคคลแสดงพฤติกรรมออกมานั้นคืออะไร หมายความว่า อะไรอยู่
เบื้องหลังพฤติกรรมเหล่านั้น
ส่วนพระพุทธศาสนาศึกษาลึกลงไปถึงสาเหตุของกรรม
อย่างชัดเจนว่า ตัณหา กับฉันทะเป็นสาเหตุของกรรม ซึ่งสาเหตุ
เหล่านี้ก็คือองค์ประกอบบุคคลในทัศนะของแบนดูร่านั่นเอง เพียง
แต่แบนดูร่าได้อธิบายไว้โดยรวมว่า องค์ประกอบบุคคล ได้แก่
ปัญญา ชีวภาพ และสิ่งภายในอื่น ๆ ซึ่งสิ่งภายในอื่น ๆ นี้แหละที่
พระพุทธศาสนาเรียกว่า “สังขาร” การปรุงแต่งภายใน เป็นบ่อเกิด
ของกรรม คือการกระทำาของมนุษย์
๔.๔ เปรียบเทียบแนวคิดเรื่องการปรับพฤติกรรมตามหลัก
ของแบนดูร่ากับการประยุกต์เรื่องกรรมเพื่อปรับ
117
พฤติกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนา
การพัฒนาพฤติกรรมตาม
หลักแบนดูร่า
การพัฒนากรรมตามหลัก
พระพุทธศาสนา
แนวคิดของการเรียนรู้โดย
การสังเกต
ก. กระบวนการความเอาใจใส่
ข. กระบวนการจดจำา
ค. กระบวนการแสดงพฤติกรรม
เหมือนตัวอย่าง
หลักธรรมที่สอดคล้องกับ
แนวคิดของการเรียนรู้โดย
การสังเกต
ก. สมาธิ
ข. สัญญา
ค. อินทรีย์ ๕ พละ ๕
แนวคิดการกำากับตนเอง
ก. กระบวนการการสังเกต
ตนเอง
ข. กระบวนการตัดสิน
ค. การแสดงปฏิกิริยาต่อตนเอง
หลักธรรมที่สอดคล้องกับ
แนวคิดการกำากับตนเอง
ก. สติ สัมปชัญญะ
ข. หลักการตัดสินพระธรรมวินัย
๘ ประการ
ค. อายตนะ ๑๒ อย่าง
แนวทางของการรับรู้ความ
สามารถของตนเอง
ก. ประสบการณ์ที่ประสบความ
สำาเร็จ
ข. การใช้ตัวแบบ
ค. การใช้คำาพูดชักจูง
ง. การกระตุ้นทางอารมณ์
หลักธรรมที่สอดคล้องกับ
แนวทางของการรับรู้ความ
สามารถของตนเอง
ก. จริต ๖
ข. บุคคลาธิษฐาน และ
ธรรมาธิษฐาน
ค. ลีลาการสอน หรือเทศนาวิธี
๔ ประการ
118
ง. ฉันทะ
๔.๔.๑ เปรียบเทียบแนวคิดการเรียนรู้โดยการ
สังเกต
ก. กระบวนการความใส่ใจ (attentional processes)
ความเหมือนกัน
กระบวนการใส่ใจทั้งของแบนดูร่าและพระพุทธศาสนา
ต้องใช้ “ ”สมาธิ ความตั้งใจมุ่งมั่นจดจ่ออยู่กับสิ่งที่กำาลังทำาอยู่ไม่ว่า
สิ่งนั้นจะเป็นอะไรก็ตาม จะเป็นเรื่องเล็กน้อย ปานกลาง หรือเป็น
เรื่องใหญ่ขนาดไหนก็ตาม เช่น การศึกษาเล่าเรียน หน้าที่การงาน
ต่างๆ เป็นต้น กิจกรรม เหล่านี้จะไม่ประสบความสำาเร็จเลย ถ้าผู้
เรียน ผู้รับผิดไม่มีความตั้งใจ ไม่ใส่ใจจดจ่อ ไม่ใช้ความเพียร
พยายาม ไม่ใช้ปัญญาพินิจพิจารณาหาอุบายวิธีที่จะทำาให้
กิจกรรมของตนสำาเร็จ
ความต่างกัน
กระบวนการใส่ใจของแบนดูร่า เน้นให้ผู้เรียนรับรู้ส่วน
ประกอบสำาคัญของพฤติกรรมของ ผู้ที่เป็นตัวแบบ องค์ประกอบที่
สำาคัญของตัวแบบ เช่น ผู้ที่มีเกียรติสูง มีความสามารถสูง
หน้าตาดี รวมทั้งการแต่งตัว การมีอำานาจ ที่จะให้รางวัล หรือ
ลงโทษ ผู้เรียนแบบต้องมีความใส่ใจลักษณะเหล่านี้ของผู้เป็นแบบ
ถ้าไม่ใส่ใจตัวแบบก็จะไม่ มีความหมายกับผู้เลียนแบบ
ส่วนหลัก อิทธิบาทสมาธิ ๔ คือ ฉันทสมาธิ วิริยสมาธิ
จิตตสมาธิ วิมังสาสมาธิ เป็นกระบวนธรรมที่เกิดขึ้นจากการฝึกฝน
อบรมตนเองอยู่ตลอดจนเกิดความชำานาญ กลายเป็นอุปนิสัย ไม่ได้
มีเป้าหมายอยู่ที่ตัวแบบใดตัวแบบหนึ่ง เป็นหลักสากลที่ผู้ปฏิบัติ
ตามจะได้รับผลคือความสำาเร็จเหมือนกัน จะต่างกันแต่ผลของ
ความสำาเร็จที่มาจากกิจกรรมที่ต่างกัน เช่น บางคนอาจจะประสบ
ความสำาเร็จในเรื่องการศึกษาเล่าเรียน บางคนอาจจะประสบความ
สำาเร็จในเรื่องหน้าที่การงาน เป็นต้น
119
สรุปได้ว่า กระบวนความใส่ใจของแบนดูร่ากับอิทธิบาท
สมาธิ ๔ มีความเหมือนกันและต่างกันเล็กน้อย ที่เหมือนกันคือ
ต้องมีความพอใจ ชอบใจในสิ่งที่ทำาก่อน ที่ต่างกันคือกระบวนการ
ใส่ใจของแบนดูร่าเป็นการใส่ใจที่ จะจดจำาบุคลิกลักษณะตลอดจน
ความสามารถพิเศษต่างๆ ของตัวแบบที่เขาจะเลียนแบบ ส่วน
หลักอิทธิบาทสมาธิ เป็นหลักสากลทั่วไปใช้ได้กับกิจการงานทั่วไป
ที่จะต้องทำาให้ประสบความสำาเร็จตาม เป้าหมายที่ตั้งไว้ ไม่ใช่
เป็นการเลียนแบบบุคลิกลักษณะของคนใดคนหนึ่ง
ข. กระบวนการจดจำา (retention processes)
ความเหมือนกัน
กระบวนการจดจำาของแบนดูร่าและพระพุทธศาสนา
ประกอบด้วยกระบวนการสำาคัญ ๓ กระบวนการเช่นเดียวกัน
คือ การนำาข้อมูลเข้าสู่จิตใจ การบันทึกข้อมูล การแสดง
ข้อมูลความจำาออามาให้ปรากฏ การนำาข้อมูลเข้าสู่จิตใจเป็นก
ระบวนการที่ทำาการเปลี่ยนสิ่งเร้าหรือสิ่งกระตุ้นภายนอกให้อยู่
ในรูปแบบที่จิตใจสามารถเข้าใจสิ่งเร้าหรือสิ่งกระตุ้นนั้นได้
และข้อมูลความจำารูปแบบนั้นจะสามารถนำาไปใช้ในขั้นตอนถัด
ไปได้ ขั้นตอนต่อไปคือการบันทึกข้อมูลความจำาไว้ในจิตใจ
เป็นกระบวนการจัดเก็บข้อมูลความจำาจากขั้นตอนแรกเพื่อให้
ข้อมูลความจำายังคงอยู่และสามารถนำากลับมาใช้ได้ในโอกาส
ต่อไป ขั้นตอนต่อไปคือการแสดงข้อมูลความจำาออกมาให้
ปรากฏกเป็นกระบวนการค้นหาข้อมูลความจำานั้นว่าเป็นข้อมูล
ที่ต้องการ จากนั้นจึงนำาข้อมูลนั้นกลับมาให้ปรากฏต่อจิตใจ
ยกตัวอย่างเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้นเปรียบเทียบกับการบันทึก
ข้อมูล (save data) ของ คอมพิวเตอร์ที่เคยใช้โปรแกรมการพิมพ์
งาน เช่น โปรแกรม ไมโครซอฟต์เวิร์ด (Microsoft Word)
เป็นต้น ก่อนจะบันทึกข้อมูลผู้พิมพ์ต้องตั้งชื่อไฟล์ที่พิมพ์เสียก่อน
เพื่อเป็นการช่วยจำาว่าไฟล์นี้ชื่ออะไร เกี่ยวกับงานประเภทไหน จาก
นั้นจึงบันทึกข้อมูลลงบนสื่อบันทึกข้อมูล เช่น จานเก็บความจำาหรือ
ฮาดดิ๊ส (harddisk) หรือแผ่นซีดีเปล่าสำาหรับบันทึกข้อมูล เป็นต้น
เมื่อต้องการใช้ข้อมูลที่เคยพิมพ์และบันทึกเก็บไว้ ก็เปิดแฟ้มข้อมูล
นั้นด้วยการค้นหาชื่อแฟ้มที่ใช้เก็บไฟล์นั้น จากนั้นข้อมูลที่ได้พิมพ์
120
ไว้ในไฟล์นั้นก็จะปรากฏให้เห็นทางจอคอมพิวเตอร์ กระบวนการ
ตั้งแต่การเปิดแฟ้มข้อมูลเก่าจนถึงการปรากฏของข้อมูลให้เห็นทาง
จอคอมพิวเตอร์ เปรียบได้กับการแสดงข้อมูลความจำาออกมาให้
ปรากฏในกระบวนการจำา
ความต่างกัน
กระบวนการจดจำาของแบนดูร่ากับพระพุทธศาสนาโดย
องค์รวมเหมือนกัน ต่างกันแต่เพียงรายละเอียดของการอธิบาย
และกระบวนการจดจำาของพระพุทธศาสนามีความซับซ้อน
มากกว่า คือ นอกจากจะมีสัญญา เป็นหลักในการจำาแล้วยังมี
สติ เข้ามาช่วยระลึกด้วย ข้อมูลที่จิตรับเข้ามานั้นแบนดูร่าเรียก
ว่า สิ่งเร้าหรือสิ่งกระตุ้นภายนอก พระพุทธศาสนาเรียกว่า
อารมณ์หรืออายตนะภายนอก การเปลี่ยนรหัสข้อมูลเพื่อง่ายต่อ
การจดจำาหลังจากบันทึกไว้ของแบนดูร่า กระบวนการนี้ทาง
พระพุทธศาสนาเรียกว่า การกระทบ หรือผัสสะ จึงจะมีความ
รู้สึก หรือวิญญาณ เรียกตามทวารที่กระทบ เช่น กระทบทาง
ตา เกิดความรู้สึกทางตา เรียกว่า จักขุวิญญาณ กระทบทางหู
เกิดความรู้สึกทางหู เรียกว่า โสตวิญญาณ ที่เก็บความจำา
แบนดูร่าไม่ได้กล่าวถึงว่าข้อมูลที่ทำาการบันไว้นั้นไปอยู่ที่ใด
หรือจะบอกว่าไปอยู่ในจิตใต้สำานึกตามหลักของจิตวิทยาสมัย
ใหม่ก็ได้ แต่พระพุทธศาสนาเรียกที่ตรงนั้นว่า ภวังคจิต การนำา
ความรู้ที่จดจำาไว้ออกมาใช้หรือออกมาปรากฏ พระพุทธศาสนา
เรียกว่า สติ การระลึกได้
ค. กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมือนกับตัวแบบ
(Reproduction Process)
ความเหมือนกัน
เหมือนกันตรงที่กระบวนการทั้งสองต้องอาศัยความพร้อม
ทางด้านร่างกายและจิตใจของผู้เรียนเป็นสำาคัญ ถ้าผู้เรียนยังไม่
พร้อมทางร่างกายและจิตใจก็ไม่สามารถจะแสดงพฤติกรรมให้
เหมือนกับตัวแบบได้ ความพร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจ
พระพุทธศาสนาเรียกว่า อินทรีย์ ๕ พละ ๕ คือ สัทธา วิริยะ สติ
อินทรีย์ ๕ พละ ๕ ทั้งสองหลักธรรมนี้มีองค์ธรรมเหมือนกัน คือ
121
สมาธิ ปัญญา มีความแก่กล้าพอที่จะแสดงพฤติกรรมให้เหมือน
ตัวแบบได้ เพราะว่า กระบวนการนี้เป็นขั้นลงมือปฏิบัติ คือผู้เรียน
ต้องเลียนแบบให้เหมือนตัวแบบ ถ้าผู้เรียนยังมีอินทรีย์อ่อน หรือ
ภาษาทางจิตวิทยาที่แบนดูร่าใช้ก็คือยังไม่มีความพร้อมทางด้าน
ร่างกาย สติปัญญาและจิตใจ ก็จะไม่สามารถแสดงพฤติกรรม
เหมือนกับตัวแบบได้ถ้าผู้เรียนมีอินทรีย์แก่กล้าคือมีความพร้อมทั้ง
ทางร่างกายสติปัญญา และจิตใจ ก็จะสามารถเลียนแบบได้เหมือน
กับตัวแบบ หรืออาจจะทำาได้ดีกว่าตัวแบบก็ได้ บางคนอาจจะทำาได้
เท่ากับตัวแบบ บางคนอาจจะทำาได้ไม่เหมือนเพียงแต่มี ความ
คล้ายคลึงก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ พร้อมของอินทรีย์ภายในตน
ของแต่ละคนนั่นเอง
ความต่างกัน
ต่างกันตรงที่กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมือนกับตัว
แบบของแบนดูร่ามุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถแสดงพฤติกรรมได้
เหมือนกับตัวแบบที่เขาเห็นซึ่งถ้าเขาแสดงพฤติกรรมได้เหมือน
แล้วจะทำาให้เขามีพฤติกรรมที่พึงประสงค์กว่าเดิม สังคมจะได้คน
ดีมีความประพฤติดีเพิ่มขึ้น ส่วนหลักอินทรีย์ ๕ พละ ๕ใน
พระพุทธศาสนามีเป้าหมายมากไปกว่านั้น คือเป็นหลักธรรมเครื่อง
วัดความพร้อมและบ่งชี้ความก้าวหน้า ช้าหรือเร็วของบุคคลใน
การปฏิบัติธรรม หลักอินทรีย์ ๕ นี้มีไว้สำาหรับเพื่อปรับอินทรีย์ของ
ผู้ปฏิบัติธรรม เมื่อปรับอินทรีย์ทั้ง ๕ นี้ให้เสมอกันแล้วการปฏิบัติ
ธรรมจึงจะก้าวหน้า ท่านจัดไว้เป็นคู่ ๆ ดังนี้ จัดสัทธาคู่กับ
ปัญญา จัดวิริยะคู่กับสมาธิ ส่วนสติไม่มีคู่และไม่จำาต้องคู่กับ
อินทรีย์ใดก็ได้ สติมีมากเท่าไหร่ยิ่งดี นอกจากนี้การที่ผู้ปฏิบัติมี
อินทรีย์อ่อน มีอินทรีย์แก่กล้าก็มีผลต่อการบรรลุธรรมด้วย กล่าว
คือพระอริยบุคคลผู้มีอินทรีย์กับผู้มีอินทรีย์แก่กล้าเมื่อได้บรรลุ
คุณธรรมชั้นเดียวกัน จะมีอานุภาพมากน้อยต่างกัน อย่างเช่น
ลำาดับของพระโสดาบัน เป็นต้น นอกจากนี้ผู้มีอินทรีย์อ่อนก็จะได้
สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา เพียงแต่เปลี่ยนชื่อตามหมวดธรรมเท่านั้น
คือเอาองค์ธรรมเหล่านี้ไม่นำาหน้าชื่อหมวดธรรม เช่น สัทธินทรีย์ สัทธาพละ
เป็นต้น ดูรายละเอียดใน สำ.ม. (บาลี) ๑๙/๔๗๑-๔๙๔/๑๑๗-๑๒๔, สำ.ม
. (ไทย) ๑๙/๔๗๑-๔๙๔/๑๘๖-๒๐๐,
ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธิ. (ไทย) หน้า ๒๒๖-๒๒๗.
พระโสดาบันจัดตามลำาดับผู้มีอินทรีย์อ่อนกับผู้มีอินทรีย์แก่กล้า
122
บรรลุช้ากว่าผู้มีอินทรีย์แก่กล้า
ง. กระบวนการจูงใจ (Motivation Process)
ความเหมือนกัน
เหมือนกันตรงที่กระบวนการทั้งสองใช้วิธีให้รางวัลแก่ผู้ทำา
ดีและลงโทษผู้ที่ทำาไม่ดี หรือกล่าวยกย่องสรรเสริญผู้ที่ทำาดี กล่าว
ตำาหนิติเตียนผู้ที่ทำาไม่ดี พระพุทธศาสนามีพระพุทธพจน์บทนี้ว่า
“นิคฺคณฺเห นิคฺคหารหำ ”ข่มบุคคลที่ควรข่ม “ปคฺคณฺเห ปคฺคหารหำ
”ยกย่องคนที่ควรยกย่อง การให้รางวัลและการลงโทษจะมีผลต่อ
การแสดงพฤติกรรมของผู้เรียนในเชิงบวก กล่าวคือ ผู้ที่แสดงพฤติ
กรรมนั้นๆ แล้วได้รับรางวัลจะทำาให้เขาแสดงพฤติกรรมนั้นๆ อีก
เช่น นักเรียนทำาความสะอาดห้องเรียนแล้วได้รางวัลจากครู ได้รับ
การยกย่องสรรเสริญในหมู่เพื่อนด้วยกัน เขาก็จะแสดงพฤติกรรม
นั้นอีก เพราะทำาแล้วได้รับรางวัลและคำาสรรเสริญ ในกรณีตรง
ข้ามกัน ถ้าผู้แสดงพฤติกรรมถูกลงโทษ ถูกตำาหนิติเตียน เขาก็ไม่
แสดงพฤติกรรมนั้นอีก หรือถ้าอดไม่ได้หรือมีความจำาเป็นต้อง
แสดง เขาก็จะแสดงพฤติกรรมน้อยครั้งลง และมีแนวโน้มจะไม่
ดังนี้ พระโสดาบันประเภทธัมมานุสารี มีอินทรีย์แก่กว่า พระโสดาบัน
ประเภทสัทธานุสารี
จัดตามลำาดับการเกิดในภพต่อไป
๑. พระโสดาบันประเทภสัตตักขัตตุปรมะ หมายถึงพระโสดาบันผู้
ละสังโยชน์เบื้องตำ่า ๓ ประการได้แล้ว เป็นผู้ไม่ตกไปในอบาย ๔ มี
ความแน่นอนที่จะตรัสรู้มรรค ๓ เบื้องสูง เมื่อจะเกิดในภพใหม่เป็นเทวดา
หรือมนุษย์ก็เกิดได้ไม่เกิน ๗ ครั้ง
๒. พระโสดาบันประเภทโกลังโกละ หมายถึงพระโสดาบันผู้เมื่อจะ
เกิดในภพใหม่เป็นเทวดาหรือมนุษย์ก็เกิดได้ ๒ หรือ ๓ ภพ และถ้าเกิด
เป็นมนุษย์ก็ไม่เกิดในตระกูลตำ่า คือเกิดในตระกูลที่มีโภคสมบัติมากเท่านั้น
๓. พระโสดบันประเภทเอกพีชะ หมายถึงผู้มีพืชคืออัตภาพเดียว
คือเกิดอีกครั้งเดียวก็จะบรรลุพระอรหัต ดูรายละเอียดใน สำ.ม. (บาลี)
๑๙/๔๘๒/๑๒๑, สำ.ม. (ไทย) ๑๙/๔๘๒/๒๙๓, องฺ.ทุก. (บาลี)
๒๐/๘๘/๑๔๖, องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๘๘/๓๑๕,
ดูรายละเอียดในเรื่องพระปัญจวัคคีย์ใน ธัมมจักกัปปวัตนสูตร และ
อนัตตลักขณสูตร จะเห็นว่า พระอัญญาโกณฑัญญะมีอินทรีย์แก่กล้ากว่า
จึงได้ดวงตาเห็นธรรมก่อนเพื่อน วิ.มหา. (บาลี) ๔/๑๓/ วิ.มหา. (ไทย)
๔/๑๓/๑๒, ๔/๒๐/๑๖.
ดูรายละเอียด ขุ. ชา. (ไทย) ๒๗/๑๙/๕๙๗.
123
แสดงพฤติกรรมนั้นๆ อีกต่อไป
ความต่างกัน
ที่ต่างกันคือแรงจูงใจของแบนดูร่า เป็นสิ่งของและคำา
ยกย่อง อาจจะมีการให้ตำาแหน่งอื่นๆ ด้วยก็ได้แต่เท่าที่เห็นในงาน
วิจับของเขาเป็นการให้รางวัลเป็นสิ่งของและคำา ทางพระพุทธ
ศาสนาพระพุทธองค์เป็นผู้ยกย่องสรรเสริญเอง ทรงตำาหนิติเตียน
เอง ปฏิบัติแบบตรงไปตรงมาไม่เลือกปฏิบัติ และการยกย่อง
สรรเสริญบุคคลพระองค์ไม่ได้พิจารณาเฉพาะผลของพฤติกรรม
ในปัจจุบันเท่านั้นยังนำาเอาผลของพฤติกรรมในอดีตมาพิจารณา
ด้วย เช่น การแต่งตั้งอัครสาวก เป็นต้น ในตอนแรกมีพวกภิกษุติ
เตียนพระองค์ว่า แต่งตั้งเพราะเห็นแก่หน้า มีความลำาเอียง แต่
พระองค์ได้ให้เหตุผลว่า ตำาแหน่งนี้เป็นของท่านทั้งสองนี้เพราะได้
ตั้งความปรารถนาไว้ในอดีตชาตินานมาแล้ว
ตัวอย่างของการตำาหนิคนที่ควรตำาหนิ เช่น เรื่องพระฉัน
นะ ซึ่งเป็นอำามาตย์คนสนิทของพระองค์ เป็นสหายของพระองค์
ด้วย ตอนที่พระองค์เสด็จออกผนวช ก็ได้นายฉันนะในตอนนั้น
เป็นเพื่อนตามเสด็จ ภายหลังนายฉันนะออกบวชแล้วแสดงความที่
ตนเป็นคนสนิทของพระพุทธเจ้าตอนเป็นเจ้าชายสิทธัตถะ
ประพฤติตนไม่เหมาะสมเป็นคนว่ายากสอนยากใครบอกสอนไม่
เชื่อฟัง ทำาอะไรตามใจตนเอง จนถึงบั้นปลายชีวิตของ
พระพุทธเจ้า ขณะใกล้จะปรินิพพาน พระอานนท์ทูลถามพระพุทธ
องค์ว่า จะทำาอย่างไรกับพระฉันนะ พระองค์บอกให้สงฆ์ลงพรหม
ทัณฑ์แก่พระฉันนะ จนในที่สุดพระฉันนะก็ได้สติยอมปฏิบัติตาม
มติของสงฆ์กลายมาเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่ายได้บรรลุเป็นพระอรหันต์
ในที่สุด
จากตัวอย่างเหล่านี้จะเห็นว่า กระบวนการจูงใจของแบนดู
ร่ากับพระพุทธศาสนามีความคล้ายกันต่างกันแต่อุบายวิธีการนำา
เสนอ ของแบนดูร่าเน้นไปที่กลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนหรือกลุ่มวัย
ดดูรายละเอียด ขุ. ธ.อ. (ไทย) ๑/๘/๔๖-๖๒.
พรหมทัณฑ์ คือ การที่คณะสงฆ์ปล่อยให้พระฉันนะว่ากล่าว หรือ
ทำาอะไรตามใจชอบ คณะสงฆ์ไม่ยุ่งเกี่ยวด้วย ดูรายละเอียดใน วิ.จู. (บาลี)
๗/๔๔๕/๑๖๓-๑๖๕, วิ.จู. (ไทย) ๗/๔๔๕/๓๘๖-๓๘๙.
124
รุ่น ส่วนในพระพุทธศาสนานำาเสนอเพื่อคนทุกกลุ่ม ไม่ได้จัดกลุ่ม
๔.๔.๒. เปรียบเทียบแนวทางการกำากับตนเอง
(Self-Regulation)
ก. กระบวนการสังเกตของตนเอง (Self observation)
ความเหมือนกัน
ที่เหมือนกันคือ ทุกคนต้องรู้ตัวอยู่เสมอว่า กำาลังทำาอะไร
อยู่ แบนดูร่าบอกว่าบุคคลไม่มีอิทธิพลใดๆ ต่อการกระทำาของตัว
เองถ้าเขาไม่สนใจว่าเขากำาลังทำาอะไรอยู่ จุดเริ่มต้นสำาคัญของ
การกำากับตนเองคือบุคคลจะต้องรู้ว่าตนเองกำาลังทำาอะไรอยู่
เพราะความสำาเร็จจากการกำากับตนเองนั้นส่วนหนึ่งมาจากความ
ชัดเจนสมำ่าเสมอและแม่นยำาของการสังเกตและบันทึกตนเอง
พระพุทธศาสนามีหลัก สติ สัมปชัญญะ เป็นตัวเตือนให้
ระลึกอยู่ตลอดเวลา การที่คนจะสังเกตตนเองได้ต้องมีสติ ความ
ระลึกได้ คือมีความระลึกได้อยู่ ๓ ขณะ คือ ขณะก่อนทำา ขณะ
ก่อนพูด ขณะก่อนคิด ถ้าบุคคลมีสติระลึกได้อย่างนี้จะทำาให้การ
ทำางานหรือทำากิจกรรมอื่นใดไม่ผิดพลาด สติสามารถควบคุมความ
รู้สึกต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาได้ เพราะสติอยู่แยกตำาแหน่งกับความรู้สึก
เป็นคนละส่วนกัน ส่วนสัมปชัญญะ คือความรู้สึกตัวอยู่ตลอดเวลา
ขณะที่กำาลังทำา กำาลังพูด กำาลังคิด
ความต่างกัน
ที่ต่างกันคือเป้าหมายและวิธีการของการสังเกตตนเอง
แบนดูร่า มีเป้าหมายเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมขั้นพื้น
ฐานทั่วไปของผู้สังเกตตนเอง ให้ผู้เรียนมีความตื่นตัวอยู่ตลอด
เวลา ส่วนพระพุทธศาสนามีเป้าหมายให้เกิดการเปลี่ยน
พฤติกรรม ๓ ขั้น คือขั้นพื้นฐาน ขั้นกลาง และขั้นสูง ขั้นพื้นฐาน
มุ่งให้ผู้เรียนมีสติสัมปชัญญะอยู่ตลอดเวลาไม่ให้หลงลืม เมื่อไม่
ที.ปา. (บาลี) ๑๑/๑๐๙-๓๑๐/ ที.ปา. (ไทย)
๑๑/๑๐๙-๓๑๐/๗๙-๔๓๓.
สม สุจิรา, ทวาร 6 ศาสตร์แห่งการรู้ทันตนเอง, พิมพ์ครั้งที่
๗, (กรุงเทพมหานคร : สำานักพิมพ์อมรินทร์, ๒๕๕๐), หน้า ๒๑.
ที. สี. (ไทย) ๙/๒๑๔/๗๓.
125
หลงลืมก็ไม่ทำาให้การงานที่ทำาอยู่เกิดความเสียหายแก่ตนเองและผู้
อื่น พระพุทธองค์ตรัสสรรเสริญคุณของสติไว้หลายอย่างหลาย
ประการ เช่น ตรัสว่า “สติมีความสำาคัญมากจำาปรารถนาในกิจทั้ง
ปวงเปรียบเหมือนเกลือที่จำาเป็นต่อการปรุงอาหารทุกชนิดและ
เปรียบเหมือนมหาอำามาตย์ผู้เชี่ยวชาญในราชกิจของพระราชาทุก
”อย่าง “สติเป็นเครื่องกั้นกระแสคือกิเลสทั้งหลาย ” ทันตแพทย์สม
สุจิรา อธิบายว่า “สติอยู่แยกตำาแหน่งกับความรู้สึกเป็นคนละส่วน
กัน เมื่อปฏิบัติจนเห็นความเข้มแข็งว่องไวของสติ เราจะรู้ได้ทันที
ว่า ความรู้สึกต่างๆ ที่ผุดขึ้นมา ไม่ว่ารัก โลภ โกรธ หลง ทั้งหมด
”นี้สามารถควบคุมได้ด้วยการใช้สติ
สรุปได้ว่ากระบวนการสังเกตของตนเองของแบนดูร่ากับ
พระพุทธศาสนาเหมือนกันคือต้องมีความระลึกรู้และมีความรู้สึกตัว
ทั่วพร้อมอยู่ตลอดเวลา ต่างกันแต่เป้าหมายและวิธีการปฏิบัติ
ข. กระบวนการตัดสิน (Judgment Process)
ความเหมือนกัน
ที่เหมือนกันคือการตัดสินของแบนดูร่าและพระพุทธ
ศาสนาเป็นการชี้วัดความผิดความถูกทำาให้รู้ว่าพฤติกรรมอย่าง
ไหน พฤติกรรมอย่างไหนผิด จะได้นำามาปรับปรุงแก้ไขให้ถูก
ต้อง แบนดูร่าบอกว่า ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตตนเองนั้นจะมีผล
ต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนไม่มากนัก ถ้าปราศจาก
กระบวนการตัดสิน ถ้าข้อมูลดังกล่าวนั้นเป็นที่พึงพอใจหรือไม่พึง
วิสุทฺธิมคฺค. (บาลี) ๑/๑๖๕, ตสฺมา สา โลณธูปนำ วิย
สพฺพพฺยญฺชเนสุ สพฺพกมฺมิกอมจฺโจ วิย จ สพฺพราชกิจฺเจสุ สพฺพตฺถ
อิจฺฉิตพฺพา ฯ เตนาห สติ จ ปน สพฺพตฺถิกา วุตฺตา ภควตา กึการณา
จิตฺตำ หิ สติปฏิสรณำ อารกฺขปจฺจุปฏฺานา จ สติ น วินา สติยา จิตฺตสฺส ปคฺ
คหนิคฺคโห โหตีติ ฯ
ขุ. ธ. (บาลี) ๒๕/๔๒๕/๕๓๐, ขุ. ธ. (ไทย) ๒๕/๑๐๔๒/๗๔๖, วิ
สุทฺธิมคฺค. (บาลี) ๑/๘,
โสตานำ สำวรำ พฺรูมิ เกน โสตา ปิถิยฺยเร
ยานิ โสตานิ โลกสฺมึ (อชิตาติ ภควา) สติ เตสำ นิวารณำ
โสตานำ สำวรำ พฺรูมิ ปญฺญาเยเต ปิถิยฺยเร ฯ
สม สุจิรา, ทวาร 6 ศาสตร์แห่งการรู้ทันตนเอง, พิมพ์ครั้งที่
๗, (กรุงเทพมหานคร : สำานักพิมพ์อมรินทร์, ๒๕๕๐), หน้า ๒๑.
126
พอใจ โดยอาศัยมาตรฐานส่วนบุคคลที่ได้มาจากการถูกสอน
โดยตรง การประเมิน ปฏิกิริยาตอบสนองทางสังคมต่อพฤติกรรม
นั้นๆ และจากการสังเกตตัวแบบการจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ความต่างกัน
ที่ต่างกันคือการตัดสินพฤติกรรมของแบนดูร่าเป็นการ
ตัดสินความถูก ความผิด เหมาะสม ไม่เหมาะสม พึงประสงค์หรือ
ไม่พึงประสงค์เกี่ยวกับพฤติกรรมอย่างเดียว อาศัยองค์ประกอบ ๔
อย่าง คือ ๑. มาตรฐานส่วนบุคคล ที่ได้จากการถูกสอนโดยตรง
การประเมินหรือสังเกตตัวแบบ ๒. การเปรียบเทียบกับกลุ่มอ้างอิง
ทางสังคม ๓. การให้คุณค่าของกิจกรรม สูง,กลาง,ตำ่า ๔. การ
อนุมานความสามารถการกระทำา พิจารณาแหล่งภายในและแหล่ง
ภายนอกตน
ส่วนกระบวนการตัดสินในทางพระพุทธศาสนา เป็นการ
ตัดสินความผิด ความถูกของพระธรรมวินัยที่คนยึดเอาเป็น
แนวทางในการศึกษาและปฏิบัติ ที่มีผลกระทบต่อตนเองและสังคม
เพราะถ้าถือเอาธรรมที่ผิดมาสอนคนอื่น หรือมาปฏิบัติเองก็จะไม่
ได้บรรลุตามที่ปรารถนา ในพระพุทธศาสนาพระพุทธองค์ได้วาง
หลักการตัดสินไว้ ๒ ชุด ชุดที่ ๑ เรียกว่าหลักการตัดสินพระธรรม
วินัยมี ๘ ประการ ชุดที่ ๒ เรียกว่า มหาปเทส ๔ มี ๒ ประเภท
หลักการตัดสินพระธรรมวินัย ๘ ประการคือ ๑. เป็นไปเพื่อคลาย
ความกำาหนัด ๒. เป็นไปเพื่อความพราก ๓. เป็นไปเพื่อการไม่สะสม ๔. เป็น
ไปเพื่อความมักน้อย ๕. เป็นไปเพื่อความสันโดษ ๖. เป็นไปเพื่อความสงัด
๗. เป็นไปเพื่อปรารภความเพียร ๘. เป็นไปเพื่อความเป็นคนเลี้ยงง่าย ดูราย
ละเอียดใน วิ.จู. (ไทย) ๗/๔๐๖/๓๒๓-๓๒๔. และในบทที่ ๓ ตอนว่าด้วย
กระบวนการตัดสิน
มหาปเทส ๔ ที่เป็นหลักการตัดสินพระวินัย คือ๑. สิ่งใดที่ไม่ได้
ห้ามไว้ว่า ไม่ควร ถ้าอนุโลมเข้ากับสิ่งไม่ควร สิ่งนั้นไม่ควร ๒. สิ่งใดที่ไม่ได้
ห้ามไว้ว่า ไม่ควร ถ้าอนุโลมเข้ากับสิ่งที่ควร สิ่งนั้นควร ๓. สิ่งใดที่ไม่ได้
อนุญาตไว้ว่า ควร ถ้าอนุโลมเข้ากับสิ่งไม่ควร สิ่งนั้นไม่ควร ๔. สิ่งใดที่ไม่
ได้อนุญาตไว้ว่า ควร ถ้าอนุโลมเข้ากับสิ่งที่ควร สิ่งนั้นควร ดูรายละเอียดใน
วิ. ม. (ไทย) ๕/๓๐๔/๑๓๙-๑๔๐.
ส่วนมหาปเทส ๔ ในพระสูตรพระองค์ตั้งไว้เพื่อเป็นเครื่องตัดสินตัว
เองว่า เป็นผู้ปฏิบัติถูกต้องตามธรรมที่พระองค์ได้สั่งสอนหรือไม่ หรือเพื่อ
ตัดสินตัวเองว่า ได้ปฏิบัติธรรมถึงขั้นไหนแล้ว มหาปเทส ๔ เหล่านั้นสรุป
127
ประเภทที่ ๑ เป็นหลักการตัดสินพระวินัย ประเภทที่ ๒ เป็นหลัก
การตัดสินพระธรรม ถ้าธรรมเหล่าใดตรงข้ามกับหลักการตัดสิน
พระธรรมวินัยทั้ง ๘ นี้ และตรงข้ามกับหลักมหาปเทส ๔ ทั้ง ๒
ประเภทนี้ ให้ถือว่าไม่ใช่ธรรมไม่ใช่วินัยที่พระพุทธองค์สั่งสอน
และทรงประสงค์
สรุปได้ว่า สาเหตุที่นำาหลักการตัดสินพระธรรมวินัย ๘
ประการ และหลักมหาปเทส ๔ มาศึกษาเปรียบเทียบกับหลักการ
ตัดสินของแบนดูร่า เพราะเป็นการตัดสินเหมือนกันต่างกันแต่
หลักการตัดสินในพระพุทธศาสนาเป็นการตัดสินเชิงนามธรรม แต่
หลักการตัดสินของแบนดูร่าเป็นการตัดสินเชิงรูปธรรมเป็นการ
ตัดสินพฤติกรรมของบุคคลที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาระดับหนึ่งแล้ว
ถ้าจะให้สอดคล้องกันจริงๆ หลักการตัดสินของแบนดูร่าก็เหมือน
กับการที่ผู้ปฏิบัติธรรมได้ปฏิบัติไปสักระยะหนึ่งแล้วอาจารย์
ที่ทำาการสอนจึงเรียกไปสอบอารมณ์เพื่อจะตัดสินว่าการปฏิบัติ
ก้าวหน้าเป็นที่น่าพอใจหรือไม่ ถ้าไม่มีการสอบอารมณ์ การปฏิบัติ
ก็จะไม่ก้าวหน้า เป็นการช่วยผู้ปฏิบัติอีกทางหนึ่ง
ค. การแสดงปฏิกิริยาต่อตนเอง (Self-Reaction)
ความเหมือนกัน
ที่เหมือนกันคือสามารถรู้ทันอารมณ์ที่เกิดขึ้นกับตัวเองและ
สามารถควบคุมปรับพฤติกรรมให้เหมาะสมกับสถานการณ์ไม่
แสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ออกมาให้ปรากฏต่อหน้า
สาธารณชน การแสดงปฏิกิริยาต่อตนเองตามหลักของแบนดูร่า
ขึ้นอยู่กับสิ่งล่อใจ ส่วนมาตรฐานภายในตนเองจะทำาหน้าที่เป็น
เกณฑ์ที่ทำาให้บุคคลวางระดับการแสดงออก หมายความว่าบุคคล
จะแสดงปฏิกิริยาต่อตนเอง ต้องมีองค์ประกอบ ๒ อย่าง คือ สิ่งล่อ
ใจความได้ดังนี้ ข้อที่ ๑ กล่าวอ้างพระพุทธเจ้าว่า ตนเองได้ฟังมาไดรับมา
ต่อหน้าพระพักตร์ของพระองค์ ว่า ธรรมเหล่านี้เป็นธรรมเป็นวินัย ของ
พระพุทธเจ้า พวกท่านทั้งหลายจงถือเอา รับเอา ข้อที่ ๒ กล่าวอ้างถึงคณะ
สงฆ์ ผู้เป็นหหุสูตร ทรงธรรม ทรงวินัย(รายละเอียดเหมือนกับข้อที่ ๑) ข้อที่
๓ กล่าวอ้างพระเถระหลายรูป ที่เป็นพหูสูตร ทรงธรรม ทรงวินัย ข้อที่ ๔
กล่าวอ้างพระเถระรูปเดียวที่เป็นพหูสูตร ทรงธรรม ทรงวินัย
128
ใจภายนอก และมาตรฐานภายในตนเอง
การแสดงปฏิกิริยาต่อตนเองในทางพระพุทธศาสนา มีองค์
ประกอบ ๒ อย่างเช่นกัน คือ อารมณ์ภายนอกหรืออายตนะ
ภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่น รส สิ่งที่ต้องกาย (โผฏฐัพพะ) เข้า
มากระทบกับมาตรฐานภายในตนเอง คืออายตนะภายใน ได้แก่
ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ถ้าอารมณ์ภายนอกมีคุณภาพเท่ากันหรือ
ใกล้เคียงกันกับมาตรฐานภายใน การแสดงออกหรือการวางตัวก็
จะเสมอกันดูงดงามพอเหมาะพอดี
ยกตัวอย่างเช่น นาย ก. เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี
คบกับ นางสาว ข. ซึ่งเป็นนักศึกษาระดับเดียวกัน ทั้งสองคนนี้
ถือว่าเป็นสิ่งล่อใจของกันและกัน และมีมาตรฐานภายในคือ
อายตนะภายในใกล้เคียงกัน การวางตัวหรือการแสดงปฏิกิริยาต่อ
ตนเองของพวกเขาก็จะอยู่ในระดับเสมอกัน ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะไม่
วางตัวสูงเกินไปหรือตำ่าเกินไป
ความต่างกัน
การแสดงปฏิกิริยาต่อตนเอง ของแบนดูร่า มุ่งเน้นการปรับ
พฤติกรรมในเชิงบวกหรือพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ส่วนอายตนะ
ภายนอก (สิ่งล่อใจหรืออารมณ์) กับอายตนะภายใน (มาตรฐาน
ภายใน)ในพระพุทธศาสนา มุ่งเน้นการรู้เท่าทันตนเองต่ออารมณ์
ที่มากระทบกับอายตนะภายในแล้วมีความรู้สึกกับจิตใจ ด้วยการมี
สติสัมปชัญญะกำากับอยู่แล้วแสดงปฏิกิริยาออกมาอย่างเหมาะสม
๔.๔.๓. เปรียบเทียบแนวคิดของการรับรู้ความ
สามารถของตนเอง
ก. ประสบการณ์ที่ประสบความสำาเร็จ (Mastery
Experiences)
ความเหมือนกัน
ที่เหมือนกันคือผู้ที่มีประสบการณ์ที่ประสบความสำาเร็จใน
อดีต จะสร้างความมั่นใจแก่ตนเองในการที่จะมุ่งมั่นตั้งใจประกอบ
A, Bandura, Social Learning theory, (Englewood
Cliffs, New Jersey, Prentice-Hall, Inc., 1997), p.82.
129
กิจกรรมที่ตนทำำอยู่ในปัจจุบันโดยไม่หวั่นไหวและย่อท้อเพรำะมี
แรงจูงใจมำจำกควำมสำำเร็จที่เคยทำำมำในอดีตเป็นแรงสนับสนุน
ควำมต่ำงกัน
ประสบกำรณ์ที่ประสบควำมสำำเร็จตำมหลักของแบนดูร่ำ
ต่ำงจำกประสบกำรณ์ที่ประสบควำมสำำเร็จในพระพุทธศำสนำ
โดยกำรอธิบำย เป้ำหมำย และรำยละเอียด แบนดูร่ำ เชื่อว่ำ
ประสบกำรณ์ที่ประสบควำมสำำเร็จเป็นวิธีกำรที่มีประสิทธิภำพมำก
ที่สุด ในกำรพัฒนำกำรรับรู้ควำมสำมำรถของตนเอง เนื่องจำกว่ำ
เป็นประสบกำรณ์โดยตรง ควำมสำำเร็จทำำให้เพิ่มควำมสำมำรถ
ของตนเอง บุคคลจะเชื่อว่ำเขำสำมำรถที่จะทำำได้ เขำบอกว่ำ ใน
กำรที่จะพัฒนำกำรรับรู้ควำมสำมำรถของตนเองนั้น จำำเป็นที่จะ
ต้องฝึกให้เขำมีทักษะเพียงพอที่จะประสบควำมสำำเร็จได้พร้อม ๆ
กับกำรทำำให้เขำรับรู้ว่ำ เขำมีควำมสำมำรถจะกระทำำเช่นนั้น จะ
ทำำให้เขำใช้ทักษะที่ได้รับกำรฝึกได้อย่ำงมีประสิทธิภำพมำกที่สุด
บุคคลที่รับรู้ว่ำตนเองมีควำมสำมำรถนั้น จะไม่ยอมแพ้อะไรง่ำยๆ
แต่จะพยำมทำำงำนต่ำงๆเพื่อให้บรรลุถึงเป้ำหมำย
ประสบกำรณ์ที่ประสบควำมสำำเร็จ ในทำงพระพุทธ
ศำสนำ ได้แก่ จริต ๖ คือควำมประพฤติจนเคยชินเป็นนิสัยที่
แสดงออกมำโดยไม่ได้ตั้งใจ จนกลำยเป็นบุคลิกของแต่ละคน
เช่น คนรำคจริต จะมีนิสัยเรียบร้อย รักสวยรักงำม คนสัทธำจริต
จะมีนิสัยเชื่อง่ำย ถ้ำไม่มีปัญญำกำำกับก็อำจจะกลำยเป็นคนเชื่อ
งมงำยก็ได้ จริตทั้ง ๖ ประกำรนี้มีควำมสอดคล้องกับหัวข้อว่ำ
ประสบกำรณ์ที่ประสบควำมสำำเร็จ เพรำะจริต คือควำมเคยชินของ
บุคคล คนที่เคยประสบควำมสำำเร็จในอดีตย่อมจะรู้ดีว่ำ ในช่วง
เวลำนั้นๆ ตนได้ทำำอะไรบ้ำง และทำำด้วยวิธีไหน อย่ำงไร แล้วก็จะ
จดจำำเอำไว้เพื่อนำำไปประพฤติต่อในอนำคต เช่น คนรำคจริตจะ
ประสบควำมสำำเร็จในเรื่องควำมงำม ควำมละเอียดรอบคอบ
จิตใจอ่อนโยน เป็นที่รักของเจ้ำนำยและเพื่อนฝูง หรือลูกน้อง คน
พุทธิจริต เคยประสบควำมสำำเร็จในเรื่องกำรใช้ควำมคิด กำร
วำงแผน หรือทำงวิชำกำรต่ำงๆ คนเหล่ำนี้ก็จะคิดถึง
ดูรำยละเอียดใน สมเด็จพระพุฒำจำรย์ (อำจ อำสภมหำเถร),
คัมภีร์วิสุทธิมรรค, พิมพ์ครั้งที่ ๔, (กรุงเทพมหำนคร : ประยูรวงศ์พริ้น
ติ้ง, ๒๕๔๖), หน้ำ ๑๗๘-๑๘๒.
130
ประสบกำรณ์ที่ผ่ำนมำแล้วนำำไปพัฒนำปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรม
ของตนให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
ข. โดยกำรใช้ตัวแบบ (Modeling)
ควำมเหมือนกัน
ที่เหมือนกันคือใช้สิ่งที่เป็นรูปธรรมและนำมธรรมเป็นตัว
แบบ เช่น แบนดูร่ำ ใช้ตุ๊กตำเป็นตัวแบบ ใช้คุณสมบัติพิเศษต่ำงๆ
ของบุคคลที่เป็นตัวแบบ ช่วยเสริมควำมน่ำเชื่อถือของตัวแบบด้วย
ใช้สัญลักษณ์แทนตัวบุคคลด้วย ในทำงพระพุทธศำสนำก็เช่น
เดียวกัน บำงครั้งพระพุทธองค์ทรงใช้บุคคลเป็นสื่อหรือเป็น
ตัวอย่ำงในกำรอธิบำยธรรมะ บำงครั้งพระองค์ทรงใช้สิ่งแวดล้อม
ที่อยู่ใกล้ตัวที่เกี่ยวข้องกับเนื้อสำระที่กำำลังแสดง เช่น พระองค์ใช้
ต้นตำลยอดด้วนเป็นตัวอย่ำงในกำรอธิบำยเรื่องกำรละเมิด
สิกขำบทของภิกษุว่ำ ผู้ละเมิดปำรำชิกสิกขำบทเป็นผู้อำภัพใน
พระพุทธศำสนำไม่สำมำรถจะบรรลุมรรคผลนิพพำนได้ เหมือนกับ
ตำลยอดด้วนไม่สำมำรถที่จะงอกงำมต่อไปได้
ควำมต่ำงกัน
ที่ต่ำงกันคือกำรใช้ตัวแบบของแบนดูร่ำเพื่อจุดประสงค์ที่
จะเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ที่มีควำมกลัวต่อสิ่งต่ำงๆ เช่น เด็กกลัว
สัตว์เลี้ยงในบ้ำน มีแมว สุนัข เป็นต้น เขำก็จะนำำเด็กที่กลัวไปดู
เด็กคนอื่นที่มีวัยใกล้เคียงกันที่ไม่กลัวแมวกำำลังเล่นกับแมวอยู่ให้
เด็กคนที่กลัวได้เห็น เพื่อจะให้เด็กเกิดควำมกล้ำขึ้นมำว่ำ เขำก็
สำมำรถเล่นกับแมวได้ เป็นต้น
ในทำงพระพุทธศำสนำใช้ตัวแบบเพื่อปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมของบุคคลทั่วไปมีเป้ำหมำยตั้งแต่ระดับขั้นพื้นฐำนจนถึง
ระดับสูงสุดคือบรรลุมรรคผลเป็นอริยบุคคล
ค. กำรใช้คำำพูดชักจูง (Verbal Persuasion)
ควำมเหมือนกัน
ที่เหมือนกันคือเป็นกำรใช้คำำพูดชักจูงให้ผู้เรียนหรือผู้ฟัง
เกิดควำมกระตือรือร้น เกิดควำมกล้ำหำญ เกิดควำมร่ำเริงใจ มี
131
ควำมเห็นคล้อยตำมคำำพูดอยำกนำำกลับไปปฏิบัติให้เกิดผลแก่
ตนเองและสังคม
ควำมต่ำงกัน
ที่ต่ำงกันคือแบนดูร่ำ กล่ำวว่ำ กำรใช้คำำพูดชักจูงต้องทำำ
ร่วมกันกับกระบวนกำรอื่นๆจึงจะได้ผล เช่น กระบวนกำร
พัฒนำกำรรับรู้ควำมสำมำรถของตนเอง กำรใช้ตัวแบบ
ประสบกำรณ์ที่ประสบควำมสำำเร็จ เป็นต้น วิธีกำรเหล่ำนี้จะค่อย ๆ
สร้ำงควำมสำมำรถให้กับบุคคลอย่ำงค่อยเป็นค่อยไปและให้เกิด
ควำมสำำเร็จตำมลำำดับขั้นตอน ก็ย่อมที่จะได้ผลดีในกำรพัฒนำกำร
รับรู้ควำมสำมำรถของตน
พระพุทธศำสนำใช้หลักลีลำกำรสอน หรือเทศนำวิธี ๔
อย่ำง คือ ๑. สันทัสสนำ ชี้แจงให้เห็นชัด ๒. สมำทปนำ ชวนให้
อยำกรับเอำไปปฏิบัติ ๓. สมุตเตชนำ เร้ำใจให้อำจหำญแกล้ว
กล้ำ ๔. สัมปหังสนำ ปลอบชโลมใจ ให้สดชื่นร่ำเริง
ง. กำรกระตุ้นทำงอำรมณ์ (emotional arousal)
ควำมเหมือนกัน
ที่เหมือนกันคือ ช่วยให้ผู้เรียนหรือผู้ฟังเกิดควำมตื่นตัว มี
กำำลังใจที่จะพัฒนำตัวเองให้ก้ำวหน้ำต่อไป กำรกระตุ้นทำงอำ
รมณ์ตำมหลักของแบนดูร่ำ มีผลต่อกำรรับรู้ควำมสำมำรถของ
ตนเองในสภำพที่ถูกขมขู่ ในกำรตัดสินถึงควำมวิตกกังวล และ
ควำมเครียดของคนเรำบำงส่วนจะขึ้นอยู่กับกำรกระตุ้นทำงสรีระ
กำรกระตุ้นทำงอำรมณ์ ในทำงพระพุทธศำสนำได้ศึกษำ
เรื่อง ฉันทะ ควำมพอใจ ชอบใจในกำรทำำกิจกรรมที่สร้ำงสรรค์ ที่
วิ.มหำ. (บำลี) ๑/๒๒-๒๔,๒๙๐/๑๓-๔,๒๒๒, วิ.ภิกฺขุนี. (บำลี)
๓/๗๘๓/๗๒-๓,วิ.ม. (บำลี)
๔/๒๙,๘๙-๙๐,๑๐๕,๑๓๒,๑๓๗/๒๕,๑๐๖-๗,๑๒๐,๑๔๖,๑๕๐,วิ.ม.
(บำลี) ๕/๒๗๐,๒๗๖,๒๘๐-๑,๒๘๘,
๒๙๔,๒๙๘,๓๓๗/๓๘,๔๕,๕๐,๕๒,๖๕,๗๔,๘๑,๑๓๙, วิ.จู. (บำลี)
๖/๓๓,๑๙๒/๔๓-๔,๒๒๕,วิ.จู. (บำลี)
๗/๒๖๐,๒๖๘-๙,๔๐๔,๔๔๕/๒๑,๓๓-๔,๒๓๗,๒๘๒, ที.สี. (บำลี)
๙/๓๔๔,๓๕๘/๑๔๐,๑๕๐.
132
เป็นประโยชน์ ได้แก่ ฉันทะที่มำในหมวดธรรมอิทธิบำท ๔
สัมมัปปธำน ๔ ไม่ใช่ ฉันทะ ใช้เป็นคำำไวพจน์ของตัณหำ คือควำม
อยำกซึ่งเป็นควำมหมำยในเชิงลบ
ควำมต่ำงกัน
ที่ต่ำงกันคือ กำรกระตุ้นทำงอำรมณ์ตำมหลักของแบนดูร่ำ
เป็นกำรกระตุ้นให้เกิดควำมคำดหวังในควำมสำำเร็จที่จะเกิดขึ้น จุด
อ่อนก็คือถ้ำผู้ถูกกระตุ้นไม่พึงพอใจหรือเกิดควำมกลัว ก็จะกระตุ้น
ให้เกิดควำมกลัวมำกขึ้น บุคคลก็จะเกิดประสบกำรณ์ของควำมล้ม
เหลว อันจะทำำให้กำรรับรู้เกี่ยวกับควำมสำมำรถของตนตำ่ำลง
ในทำงพระพุทธศำสนำ กำรกระตุ้นอำรมณ์ด้วยฉันทะมี
๒ ลักษณะ คือถ้ำเป็นกำรกระตุ้นอำรมร์ด้วยฉันทะ ที่มีควำมหมำย
เป็นไวพจน์ของตัณหำ จะทำำให้แสดงพฤติกรรมเป็นไปในทำงลบ
คือจะทำำให้ทำำด้วยควำมโลภ ละโมบ อยำกได้ไม่รู้จักพอ จะก่อ
ทุกข์ให้แก่ตนเองและคนอื่นเป็นวงกว้ำงตำมที่ตนเกี่ยวข้อง เช่น
นักกำรเมือง หรือรัฐมนตรีที่มีหน้ำที่รับผิดชอบต่อคนทั้งประเทศ
กำรกระทำำด้วยอำำนำจของควำมละโมบโลภมำกของเขำก็จะสร้ำง
ควำมเดือดร้อนแก่คนทั้งประเทศเหมือนกัน นัยตรงกันข้ำมถ้ำ
เป็นกำรกระตุ้นอำรมณ์ด้วยฉันทะ ที่เป็นกัตตุกัมยตำฉันทะ คือ
ควำมพอใจ ควำมชอบใจใคร่จะทำำสิ่งที่เป็นประโยชน์ผลที่ตำมมำ
ก็จะสร้ำงควำมสุขให้แก่ผู้ทำำและผู้อื่นที่เกี่ยวข้องด้วยเช่นกัน
กำรกระตุ้นอำรมณ์ด้วยฉันทะในข้อหลังนี้จึงเป็นที่พึงปรำรถนำ
ตำมหลักพระพุทธศำสนำ
ในสัมมัปปธำน ๔ ไม่มีคำำว่ำ ฉันทะ ปรำกฏอยู่ในหมวดธรรม
แต่มีปรำกฏในตอนอธิบำยขยำยควำมว่ำ “ข้อที่ภิกษุในธรรมวินัยนี้สร้ำง
ฉันทะ พยำยำม ปรำรภควำมเพียร ประคองจิตมุ่งมั่นเพื่อป้องกันบำป
อกุศลธรรมที่ยังไม่เกิดมิให้เกิดขึ้น ฯลฯ เพื่อละบำปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้น
แล้ว ฯลฯ เพื่อทำำบำปอกุศลธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นมิให้เกิดขึ้น ฯลฯ สร้ำง
ฉันทะ พยำยำม ปรำรภควำมเพียร ประคองจิต มุ่งมั่นเพื่อควำมดำำรงอยู่
ไม่เลือนหำย ภิยโยภำพ ไพบูลย์ เจริญเต็มที่แห่งกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว”
ดูรำยละเอียดใน ที.ปำ. (ไทย) ๑๑/๓๐๖/๒๗๗, อภิ.วิ. (ไทย)
๓๕/๒๐๕/๑๗๒.
สมโภชน์ เอี่ยมสุภำษิต, ทฤษฎีและเทคนิคกำรปรับ
พฤติกรรม, หน้ำ ๕๙ - ๖๐.
133
134

More Related Content

What's hot

คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์Cholthicha JaNg
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้eubeve
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
โครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpointโครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpointtapatss
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Maesinee Fuguro
 

What's hot (14)

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
โครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpointโครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpoint
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
รูปแบบ Powerpoint
รูปแบบ Powerpointรูปแบบ Powerpoint
รูปแบบ Powerpoint
 

Viewers also liked

Democratische basis open data
Democratische basis open dataDemocratische basis open data
Democratische basis open dataArjan Fassed
 
Classroom rules
Classroom rulesClassroom rules
Classroom rulesEric Cruz
 
Regular verbs webquest
Regular verbs webquestRegular verbs webquest
Regular verbs webquestTeachernan
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๘
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๘แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๘
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๘วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
O novo desenvolvedor android conceitos básicos e a comunidade em joão pessoa
O novo desenvolvedor android conceitos básicos e a comunidade em joão pessoaO novo desenvolvedor android conceitos básicos e a comunidade em joão pessoa
O novo desenvolvedor android conceitos básicos e a comunidade em joão pessoaMessias Batista
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Transnational political identities
Transnational political identitiesTransnational political identities
Transnational political identitiesvgrinb
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Vita di don orione in italiano (1)
Vita di don orione in italiano (1)Vita di don orione in italiano (1)
Vita di don orione in italiano (1)adamoa4
 
ios 5 arc完全指南
ios 5 arc完全指南ios 5 arc完全指南
ios 5 arc完全指南lambokini
 
ประเภทของกฏหมาย
ประเภทของกฏหมายประเภทของกฏหมาย
ประเภทของกฏหมายnongnoon
 
EUROSAI meeting 26 October 2016, Amsterdam
EUROSAI meeting 26 October 2016, AmsterdamEUROSAI meeting 26 October 2016, Amsterdam
EUROSAI meeting 26 October 2016, AmsterdamArjan Fassed
 
Dulceeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeee
DulceeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeDulceeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeee
Dulceeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeejaviera1696
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Roots of independence
Roots of independenceRoots of independence
Roots of independencevgrinb
 

Viewers also liked (20)

Democratische basis open data
Democratische basis open dataDemocratische basis open data
Democratische basis open data
 
พระพุทธศาสนาในสหรัฐ
พระพุทธศาสนาในสหรัฐพระพุทธศาสนาในสหรัฐ
พระพุทธศาสนาในสหรัฐ
 
Classroom rules
Classroom rulesClassroom rules
Classroom rules
 
04essay
04essay04essay
04essay
 
Regular verbs webquest
Regular verbs webquestRegular verbs webquest
Regular verbs webquest
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๘
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๘แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๘
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๘
 
O novo desenvolvedor android conceitos básicos e a comunidade em joão pessoa
O novo desenvolvedor android conceitos básicos e a comunidade em joão pessoaO novo desenvolvedor android conceitos básicos e a comunidade em joão pessoa
O novo desenvolvedor android conceitos básicos e a comunidade em joão pessoa
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
 
Transnational political identities
Transnational political identitiesTransnational political identities
Transnational political identities
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
 
Vita di don orione in italiano (1)
Vita di don orione in italiano (1)Vita di don orione in italiano (1)
Vita di don orione in italiano (1)
 
Log
LogLog
Log
 
ios 5 arc完全指南
ios 5 arc完全指南ios 5 arc完全指南
ios 5 arc完全指南
 
Used to
Used toUsed to
Used to
 
03essay
03essay03essay
03essay
 
ประเภทของกฏหมาย
ประเภทของกฏหมายประเภทของกฏหมาย
ประเภทของกฏหมาย
 
EUROSAI meeting 26 October 2016, Amsterdam
EUROSAI meeting 26 October 2016, AmsterdamEUROSAI meeting 26 October 2016, Amsterdam
EUROSAI meeting 26 October 2016, Amsterdam
 
Dulceeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeee
DulceeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeDulceeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeee
Dulceeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeeee
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
Roots of independence
Roots of independenceRoots of independence
Roots of independence
 

Similar to บทที่ ๔ (จริง)

Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersofia-m15
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersoh26
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋Kaekea Bio
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมpimporn454
 

Similar to บทที่ ๔ (จริง) (20)

บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)
 
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
 
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 

บทที่ ๔ (จริง)

  • 1. บทที่ ๔ เปรียบเทียบแนวคิดเรื่องการปรับพฤติกรรมมตามหลัก ของแบนดูร่ากับการประยุกต์เรื่องกรรมเพื่อปรับ พฤติกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนา ในบทนี้ผู้วิจัยจะนำาเอาแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมของ มนุษย์ตามหลักของพระพุทธศาสนากับแบนดูร่ามาเปรียบเทียบกัน ว่ามีประเด็นใดบ้างที่เหมือนกัน และต่างกัน ตามหัวข้อที่ได้ทำาการ ศึกษาวิเคราะห์ในบทที่ ๒ และ ๓ ดังนี้ คือ ความหมายของ พฤติกรรม ประเภทของพฤติกรรม แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรม ของมนุษย์ และการพัฒนาพฤติกรรมของมนุษย์ ตามลำาดับ ๔.๑ ความหมายของพฤติกรรมของแบนดูร่ากับพระพุทธ ศสานา ความเหมือนกัน พฤติกรรมระหว่าง พระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่มี ความหมายเหมือนกัน คือ หมายถึง การกระทำากิจกรรมต่างๆ ที่ สามารถมองเห็นได้ถึงแม้พฤติกรรมบางอย่างที่ไม่สามารถมองเห็น ได้แต่ศาสตร์สมัยใหม่ก็มีเครื่องมือวัดได้ในฝ่ายของพระพุทธ ศาสนาก็สามารถสัมผัสได้ด้วยใจของผู้มีคุณวิเศษคือผู้ได้ปรวิชาน นอภิญญาที่สามารถรู้วาระจิตของคนอื่นได้นอกจากนี้ มีความ เหมือนกันอีกอย่าง คือ การกระทำาที่ประกอบด้วยเจตนาหรือการก ระทำาที่เป็นไปด้วยความจงใจ การกระทำาโดยผ่านทางทวารทั้ง ๓ คือ กายทวาร การกระทำาทางกาย วจีทวาร การกระทำาทางวาจา และมโนทวาร การคิดด้วยใจ ความต่างกัน พฤติกรรมตามศาสตร์สมัยใหม่มีความหมายต่างกันกับ พระพุทธศาสนาโดยมุ่งไปที่พฤติกรรมเปิดเผยที่เป็นองค์รวมคือมี ขอบเขตเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงแคบกว่าดังที่ได้เสนอไปข้างต้น
  • 2. ๔.๒ ประเภทของพฤติกรรมของแบนดูร่ากับพระพุทธศสา นา ความเหมือนกัน ทั้งพระพุทธศาสนาและศาสตร์สมัยใหม่ได้แยกประเภท ของพฤติกรรมออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ คือ พฤติกรรมภายนอก กับพฤติกรรมภายใน ถึงแม้พระพุทธศาสนาจะแบ่งแหล่งที่เกิด ของกรรมออกเป็น ๓ ทาง คือ ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ก็ตาม เมื่อพิจารณาสรุปแล้วก็ย่อลงเป็น ๒ ประเภทเหมือนกับ ศาสตร์สมัยใหม่คือ พฤติกรรมทางกาย และวาจา จัดเป็น พฤติกรรมภายนอก พฤติกรรมทางใจ จัดเป็นพฤติกรรมภายใน ส่วนแนวคิดของแบนดูร่ายิ่งใกล้เคียงกับพระพุทธศาสนา เพราะแบนดูร่าเน้นพฤติกรรมทางใจเป็นสำาคัญเช่นเดียวกับ พระพุทธศาสนาที่ถือว่ากรรมทางใจสำาคัญที่สุด ความต่างกัน ศาสตร์สมัยใหม่โดยทั่วไปรวมทั้งแบนดูร่าด้วยได้ทำาการ ศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ที่มีผลในปัจจุบันคือสังเกตเห็นได้ด้วยตา เปล่าไม่ได้ศึกษาลึกลงไปถึงเหตุที่ทำาให้เกิดพฤติกรรมในปัจจุบัน และผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคตในภพชาติต่อไป แต่พระพุทธ ศาสนาศึกษาครบทั้ง ๓ กาล คือเหตุในอดีตกาลที่ทำาให้เกิดผลใน ปัจจุบันและจะเกิดในอนาคตทั้งในภพนี้และภพหน้า ๔. ๓. แนวทัศนะเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ตามหลักของ แบนดูร่ากับพระพุทธศาสนา ความเหมือนกัน ทั้งพระพุทธศาสนาและแบนดูร่า มีแนวคิดเกี่ยวกับ พฤติกรรมเหมือนกันตรงที่องค์ประกอบ ๓ ส่วนประกอบกัน กำาหนดกันและกัน มีอิทธิพลต่อกัน กล่าวคือ แบนดูร่า มองว่า พฤติกรรมมนุษย์เกิดจากสิ่งแวดล้อมและบุคคล ทั้ง ๓ อย่างนี้มี ความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงถึงกันและกันเป็นลูกโซ่ สอดคล้องกับ ทัศนะของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับเหตุ ปัจจัย และผล และ สอดคล้องกับหลักปฏิจจสมุปบาทที่กรรมแต่ละอย่างมีความเกี่ยว 116
  • 3. เนื่องกันและกัน เช่น เวทนาเป็นปัจจัยให้เกิดตัณหา เป็นปัจจัยให้ เกิดอุปาทาน ในทางกลับกัน อุปาทานก็เป็นปัจจัยในเกิดตัณหา ตัณหาก็เป็นปัจจัยให้เกิดเวทนาได้เช่นเดียวกัน แบนดูร่ามีความเชื่อว่า พฤติกรรมของคนเรานั้น ไม่ได้ เกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากปัจจัยทางสภาพแวดล้อมแต่ เพียงอย่างเดียว แต่มีปัจจัยส่วนบุคคล (ปัญญา ชีวภาพ และสิ่ง ภายในอื่น ๆ) ร่วมด้วย และการร่วมของปัจจัยส่วนบุคคลนั้นจะ ต้องร่วมกันในลักษณะที่กำาหนดซึ่งกันและกัน (Reciprocal Determinism) กับปัจจัยทางด้านพฤติกรรมและสภาพแวดล้อม สอดคล้องกับพระพุทธศาสนา ที่เน้นกรรมทางใจหรือมโนกรรม เป็นสำาคัญ การกระทำาทุกอย่างล้วนออกมาจากใจทั้งนั้น แบนดูร่ามองว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นตั้งแต่ได้เห็นตัวแบบแล้ว แม้ยังไม่ได้แสดงออกมา ก็ตาม สอดคล้องกับพระพุทธศาสนา ที่ว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อตาเห็นรูปแล้วเกิดจักษุวิญญาณคือความ รู้ทางตา จากนั้นความรู้อันนั้นก็จะถูกส่งไปเก็บในภวังคจิตรอ โอกาสให้ผลเมื่อถึงคราวที่เหมาะสม ความต่างกัน ความต่างกันระหว่างแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรม หรือบ่อเกิดพฤติกรรมของแบนดูร่ากับพระพุทธศาสนา ตรงที่แบน ดูร่ามองว่า พฤติกรรมเกิดจากประสบการณ์สิ่งแวดล้อมและบุคคล ซึ่งเน้นที่ตัวบุคคลแต่ไม่ได้ลงลึกถึงรายละเอียดว่า เหตุที่ทำาให้ บุคคลแสดงพฤติกรรมออกมานั้นคืออะไร หมายความว่า อะไรอยู่ เบื้องหลังพฤติกรรมเหล่านั้น ส่วนพระพุทธศาสนาศึกษาลึกลงไปถึงสาเหตุของกรรม อย่างชัดเจนว่า ตัณหา กับฉันทะเป็นสาเหตุของกรรม ซึ่งสาเหตุ เหล่านี้ก็คือองค์ประกอบบุคคลในทัศนะของแบนดูร่านั่นเอง เพียง แต่แบนดูร่าได้อธิบายไว้โดยรวมว่า องค์ประกอบบุคคล ได้แก่ ปัญญา ชีวภาพ และสิ่งภายในอื่น ๆ ซึ่งสิ่งภายในอื่น ๆ นี้แหละที่ พระพุทธศาสนาเรียกว่า “สังขาร” การปรุงแต่งภายใน เป็นบ่อเกิด ของกรรม คือการกระทำาของมนุษย์ ๔.๔ เปรียบเทียบแนวคิดเรื่องการปรับพฤติกรรมตามหลัก ของแบนดูร่ากับการประยุกต์เรื่องกรรมเพื่อปรับ 117
  • 4. พฤติกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนา การพัฒนาพฤติกรรมตาม หลักแบนดูร่า การพัฒนากรรมตามหลัก พระพุทธศาสนา แนวคิดของการเรียนรู้โดย การสังเกต ก. กระบวนการความเอาใจใส่ ข. กระบวนการจดจำา ค. กระบวนการแสดงพฤติกรรม เหมือนตัวอย่าง หลักธรรมที่สอดคล้องกับ แนวคิดของการเรียนรู้โดย การสังเกต ก. สมาธิ ข. สัญญา ค. อินทรีย์ ๕ พละ ๕ แนวคิดการกำากับตนเอง ก. กระบวนการการสังเกต ตนเอง ข. กระบวนการตัดสิน ค. การแสดงปฏิกิริยาต่อตนเอง หลักธรรมที่สอดคล้องกับ แนวคิดการกำากับตนเอง ก. สติ สัมปชัญญะ ข. หลักการตัดสินพระธรรมวินัย ๘ ประการ ค. อายตนะ ๑๒ อย่าง แนวทางของการรับรู้ความ สามารถของตนเอง ก. ประสบการณ์ที่ประสบความ สำาเร็จ ข. การใช้ตัวแบบ ค. การใช้คำาพูดชักจูง ง. การกระตุ้นทางอารมณ์ หลักธรรมที่สอดคล้องกับ แนวทางของการรับรู้ความ สามารถของตนเอง ก. จริต ๖ ข. บุคคลาธิษฐาน และ ธรรมาธิษฐาน ค. ลีลาการสอน หรือเทศนาวิธี ๔ ประการ 118
  • 5. ง. ฉันทะ ๔.๔.๑ เปรียบเทียบแนวคิดการเรียนรู้โดยการ สังเกต ก. กระบวนการความใส่ใจ (attentional processes) ความเหมือนกัน กระบวนการใส่ใจทั้งของแบนดูร่าและพระพุทธศาสนา ต้องใช้ “ ”สมาธิ ความตั้งใจมุ่งมั่นจดจ่ออยู่กับสิ่งที่กำาลังทำาอยู่ไม่ว่า สิ่งนั้นจะเป็นอะไรก็ตาม จะเป็นเรื่องเล็กน้อย ปานกลาง หรือเป็น เรื่องใหญ่ขนาดไหนก็ตาม เช่น การศึกษาเล่าเรียน หน้าที่การงาน ต่างๆ เป็นต้น กิจกรรม เหล่านี้จะไม่ประสบความสำาเร็จเลย ถ้าผู้ เรียน ผู้รับผิดไม่มีความตั้งใจ ไม่ใส่ใจจดจ่อ ไม่ใช้ความเพียร พยายาม ไม่ใช้ปัญญาพินิจพิจารณาหาอุบายวิธีที่จะทำาให้ กิจกรรมของตนสำาเร็จ ความต่างกัน กระบวนการใส่ใจของแบนดูร่า เน้นให้ผู้เรียนรับรู้ส่วน ประกอบสำาคัญของพฤติกรรมของ ผู้ที่เป็นตัวแบบ องค์ประกอบที่ สำาคัญของตัวแบบ เช่น ผู้ที่มีเกียรติสูง มีความสามารถสูง หน้าตาดี รวมทั้งการแต่งตัว การมีอำานาจ ที่จะให้รางวัล หรือ ลงโทษ ผู้เรียนแบบต้องมีความใส่ใจลักษณะเหล่านี้ของผู้เป็นแบบ ถ้าไม่ใส่ใจตัวแบบก็จะไม่ มีความหมายกับผู้เลียนแบบ ส่วนหลัก อิทธิบาทสมาธิ ๔ คือ ฉันทสมาธิ วิริยสมาธิ จิตตสมาธิ วิมังสาสมาธิ เป็นกระบวนธรรมที่เกิดขึ้นจากการฝึกฝน อบรมตนเองอยู่ตลอดจนเกิดความชำานาญ กลายเป็นอุปนิสัย ไม่ได้ มีเป้าหมายอยู่ที่ตัวแบบใดตัวแบบหนึ่ง เป็นหลักสากลที่ผู้ปฏิบัติ ตามจะได้รับผลคือความสำาเร็จเหมือนกัน จะต่างกันแต่ผลของ ความสำาเร็จที่มาจากกิจกรรมที่ต่างกัน เช่น บางคนอาจจะประสบ ความสำาเร็จในเรื่องการศึกษาเล่าเรียน บางคนอาจจะประสบความ สำาเร็จในเรื่องหน้าที่การงาน เป็นต้น 119
  • 6. สรุปได้ว่า กระบวนความใส่ใจของแบนดูร่ากับอิทธิบาท สมาธิ ๔ มีความเหมือนกันและต่างกันเล็กน้อย ที่เหมือนกันคือ ต้องมีความพอใจ ชอบใจในสิ่งที่ทำาก่อน ที่ต่างกันคือกระบวนการ ใส่ใจของแบนดูร่าเป็นการใส่ใจที่ จะจดจำาบุคลิกลักษณะตลอดจน ความสามารถพิเศษต่างๆ ของตัวแบบที่เขาจะเลียนแบบ ส่วน หลักอิทธิบาทสมาธิ เป็นหลักสากลทั่วไปใช้ได้กับกิจการงานทั่วไป ที่จะต้องทำาให้ประสบความสำาเร็จตาม เป้าหมายที่ตั้งไว้ ไม่ใช่ เป็นการเลียนแบบบุคลิกลักษณะของคนใดคนหนึ่ง ข. กระบวนการจดจำา (retention processes) ความเหมือนกัน กระบวนการจดจำาของแบนดูร่าและพระพุทธศาสนา ประกอบด้วยกระบวนการสำาคัญ ๓ กระบวนการเช่นเดียวกัน คือ การนำาข้อมูลเข้าสู่จิตใจ การบันทึกข้อมูล การแสดง ข้อมูลความจำาออามาให้ปรากฏ การนำาข้อมูลเข้าสู่จิตใจเป็นก ระบวนการที่ทำาการเปลี่ยนสิ่งเร้าหรือสิ่งกระตุ้นภายนอกให้อยู่ ในรูปแบบที่จิตใจสามารถเข้าใจสิ่งเร้าหรือสิ่งกระตุ้นนั้นได้ และข้อมูลความจำารูปแบบนั้นจะสามารถนำาไปใช้ในขั้นตอนถัด ไปได้ ขั้นตอนต่อไปคือการบันทึกข้อมูลความจำาไว้ในจิตใจ เป็นกระบวนการจัดเก็บข้อมูลความจำาจากขั้นตอนแรกเพื่อให้ ข้อมูลความจำายังคงอยู่และสามารถนำากลับมาใช้ได้ในโอกาส ต่อไป ขั้นตอนต่อไปคือการแสดงข้อมูลความจำาออกมาให้ ปรากฏกเป็นกระบวนการค้นหาข้อมูลความจำานั้นว่าเป็นข้อมูล ที่ต้องการ จากนั้นจึงนำาข้อมูลนั้นกลับมาให้ปรากฏต่อจิตใจ ยกตัวอย่างเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้นเปรียบเทียบกับการบันทึก ข้อมูล (save data) ของ คอมพิวเตอร์ที่เคยใช้โปรแกรมการพิมพ์ งาน เช่น โปรแกรม ไมโครซอฟต์เวิร์ด (Microsoft Word) เป็นต้น ก่อนจะบันทึกข้อมูลผู้พิมพ์ต้องตั้งชื่อไฟล์ที่พิมพ์เสียก่อน เพื่อเป็นการช่วยจำาว่าไฟล์นี้ชื่ออะไร เกี่ยวกับงานประเภทไหน จาก นั้นจึงบันทึกข้อมูลลงบนสื่อบันทึกข้อมูล เช่น จานเก็บความจำาหรือ ฮาดดิ๊ส (harddisk) หรือแผ่นซีดีเปล่าสำาหรับบันทึกข้อมูล เป็นต้น เมื่อต้องการใช้ข้อมูลที่เคยพิมพ์และบันทึกเก็บไว้ ก็เปิดแฟ้มข้อมูล นั้นด้วยการค้นหาชื่อแฟ้มที่ใช้เก็บไฟล์นั้น จากนั้นข้อมูลที่ได้พิมพ์ 120
  • 7. ไว้ในไฟล์นั้นก็จะปรากฏให้เห็นทางจอคอมพิวเตอร์ กระบวนการ ตั้งแต่การเปิดแฟ้มข้อมูลเก่าจนถึงการปรากฏของข้อมูลให้เห็นทาง จอคอมพิวเตอร์ เปรียบได้กับการแสดงข้อมูลความจำาออกมาให้ ปรากฏในกระบวนการจำา ความต่างกัน กระบวนการจดจำาของแบนดูร่ากับพระพุทธศาสนาโดย องค์รวมเหมือนกัน ต่างกันแต่เพียงรายละเอียดของการอธิบาย และกระบวนการจดจำาของพระพุทธศาสนามีความซับซ้อน มากกว่า คือ นอกจากจะมีสัญญา เป็นหลักในการจำาแล้วยังมี สติ เข้ามาช่วยระลึกด้วย ข้อมูลที่จิตรับเข้ามานั้นแบนดูร่าเรียก ว่า สิ่งเร้าหรือสิ่งกระตุ้นภายนอก พระพุทธศาสนาเรียกว่า อารมณ์หรืออายตนะภายนอก การเปลี่ยนรหัสข้อมูลเพื่อง่ายต่อ การจดจำาหลังจากบันทึกไว้ของแบนดูร่า กระบวนการนี้ทาง พระพุทธศาสนาเรียกว่า การกระทบ หรือผัสสะ จึงจะมีความ รู้สึก หรือวิญญาณ เรียกตามทวารที่กระทบ เช่น กระทบทาง ตา เกิดความรู้สึกทางตา เรียกว่า จักขุวิญญาณ กระทบทางหู เกิดความรู้สึกทางหู เรียกว่า โสตวิญญาณ ที่เก็บความจำา แบนดูร่าไม่ได้กล่าวถึงว่าข้อมูลที่ทำาการบันไว้นั้นไปอยู่ที่ใด หรือจะบอกว่าไปอยู่ในจิตใต้สำานึกตามหลักของจิตวิทยาสมัย ใหม่ก็ได้ แต่พระพุทธศาสนาเรียกที่ตรงนั้นว่า ภวังคจิต การนำา ความรู้ที่จดจำาไว้ออกมาใช้หรือออกมาปรากฏ พระพุทธศาสนา เรียกว่า สติ การระลึกได้ ค. กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมือนกับตัวแบบ (Reproduction Process) ความเหมือนกัน เหมือนกันตรงที่กระบวนการทั้งสองต้องอาศัยความพร้อม ทางด้านร่างกายและจิตใจของผู้เรียนเป็นสำาคัญ ถ้าผู้เรียนยังไม่ พร้อมทางร่างกายและจิตใจก็ไม่สามารถจะแสดงพฤติกรรมให้ เหมือนกับตัวแบบได้ ความพร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจ พระพุทธศาสนาเรียกว่า อินทรีย์ ๕ พละ ๕ คือ สัทธา วิริยะ สติ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ ทั้งสองหลักธรรมนี้มีองค์ธรรมเหมือนกัน คือ 121
  • 8. สมาธิ ปัญญา มีความแก่กล้าพอที่จะแสดงพฤติกรรมให้เหมือน ตัวแบบได้ เพราะว่า กระบวนการนี้เป็นขั้นลงมือปฏิบัติ คือผู้เรียน ต้องเลียนแบบให้เหมือนตัวแบบ ถ้าผู้เรียนยังมีอินทรีย์อ่อน หรือ ภาษาทางจิตวิทยาที่แบนดูร่าใช้ก็คือยังไม่มีความพร้อมทางด้าน ร่างกาย สติปัญญาและจิตใจ ก็จะไม่สามารถแสดงพฤติกรรม เหมือนกับตัวแบบได้ถ้าผู้เรียนมีอินทรีย์แก่กล้าคือมีความพร้อมทั้ง ทางร่างกายสติปัญญา และจิตใจ ก็จะสามารถเลียนแบบได้เหมือน กับตัวแบบ หรืออาจจะทำาได้ดีกว่าตัวแบบก็ได้ บางคนอาจจะทำาได้ เท่ากับตัวแบบ บางคนอาจจะทำาได้ไม่เหมือนเพียงแต่มี ความ คล้ายคลึงก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ พร้อมของอินทรีย์ภายในตน ของแต่ละคนนั่นเอง ความต่างกัน ต่างกันตรงที่กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมือนกับตัว แบบของแบนดูร่ามุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถแสดงพฤติกรรมได้ เหมือนกับตัวแบบที่เขาเห็นซึ่งถ้าเขาแสดงพฤติกรรมได้เหมือน แล้วจะทำาให้เขามีพฤติกรรมที่พึงประสงค์กว่าเดิม สังคมจะได้คน ดีมีความประพฤติดีเพิ่มขึ้น ส่วนหลักอินทรีย์ ๕ พละ ๕ใน พระพุทธศาสนามีเป้าหมายมากไปกว่านั้น คือเป็นหลักธรรมเครื่อง วัดความพร้อมและบ่งชี้ความก้าวหน้า ช้าหรือเร็วของบุคคลใน การปฏิบัติธรรม หลักอินทรีย์ ๕ นี้มีไว้สำาหรับเพื่อปรับอินทรีย์ของ ผู้ปฏิบัติธรรม เมื่อปรับอินทรีย์ทั้ง ๕ นี้ให้เสมอกันแล้วการปฏิบัติ ธรรมจึงจะก้าวหน้า ท่านจัดไว้เป็นคู่ ๆ ดังนี้ จัดสัทธาคู่กับ ปัญญา จัดวิริยะคู่กับสมาธิ ส่วนสติไม่มีคู่และไม่จำาต้องคู่กับ อินทรีย์ใดก็ได้ สติมีมากเท่าไหร่ยิ่งดี นอกจากนี้การที่ผู้ปฏิบัติมี อินทรีย์อ่อน มีอินทรีย์แก่กล้าก็มีผลต่อการบรรลุธรรมด้วย กล่าว คือพระอริยบุคคลผู้มีอินทรีย์กับผู้มีอินทรีย์แก่กล้าเมื่อได้บรรลุ คุณธรรมชั้นเดียวกัน จะมีอานุภาพมากน้อยต่างกัน อย่างเช่น ลำาดับของพระโสดาบัน เป็นต้น นอกจากนี้ผู้มีอินทรีย์อ่อนก็จะได้ สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา เพียงแต่เปลี่ยนชื่อตามหมวดธรรมเท่านั้น คือเอาองค์ธรรมเหล่านี้ไม่นำาหน้าชื่อหมวดธรรม เช่น สัทธินทรีย์ สัทธาพละ เป็นต้น ดูรายละเอียดใน สำ.ม. (บาลี) ๑๙/๔๗๑-๔๙๔/๑๑๗-๑๒๔, สำ.ม . (ไทย) ๑๙/๔๗๑-๔๙๔/๑๘๖-๒๐๐, ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธิ. (ไทย) หน้า ๒๒๖-๒๒๗. พระโสดาบันจัดตามลำาดับผู้มีอินทรีย์อ่อนกับผู้มีอินทรีย์แก่กล้า 122
  • 9. บรรลุช้ากว่าผู้มีอินทรีย์แก่กล้า ง. กระบวนการจูงใจ (Motivation Process) ความเหมือนกัน เหมือนกันตรงที่กระบวนการทั้งสองใช้วิธีให้รางวัลแก่ผู้ทำา ดีและลงโทษผู้ที่ทำาไม่ดี หรือกล่าวยกย่องสรรเสริญผู้ที่ทำาดี กล่าว ตำาหนิติเตียนผู้ที่ทำาไม่ดี พระพุทธศาสนามีพระพุทธพจน์บทนี้ว่า “นิคฺคณฺเห นิคฺคหารหำ ”ข่มบุคคลที่ควรข่ม “ปคฺคณฺเห ปคฺคหารหำ ”ยกย่องคนที่ควรยกย่อง การให้รางวัลและการลงโทษจะมีผลต่อ การแสดงพฤติกรรมของผู้เรียนในเชิงบวก กล่าวคือ ผู้ที่แสดงพฤติ กรรมนั้นๆ แล้วได้รับรางวัลจะทำาให้เขาแสดงพฤติกรรมนั้นๆ อีก เช่น นักเรียนทำาความสะอาดห้องเรียนแล้วได้รางวัลจากครู ได้รับ การยกย่องสรรเสริญในหมู่เพื่อนด้วยกัน เขาก็จะแสดงพฤติกรรม นั้นอีก เพราะทำาแล้วได้รับรางวัลและคำาสรรเสริญ ในกรณีตรง ข้ามกัน ถ้าผู้แสดงพฤติกรรมถูกลงโทษ ถูกตำาหนิติเตียน เขาก็ไม่ แสดงพฤติกรรมนั้นอีก หรือถ้าอดไม่ได้หรือมีความจำาเป็นต้อง แสดง เขาก็จะแสดงพฤติกรรมน้อยครั้งลง และมีแนวโน้มจะไม่ ดังนี้ พระโสดาบันประเภทธัมมานุสารี มีอินทรีย์แก่กว่า พระโสดาบัน ประเภทสัทธานุสารี จัดตามลำาดับการเกิดในภพต่อไป ๑. พระโสดาบันประเทภสัตตักขัตตุปรมะ หมายถึงพระโสดาบันผู้ ละสังโยชน์เบื้องตำ่า ๓ ประการได้แล้ว เป็นผู้ไม่ตกไปในอบาย ๔ มี ความแน่นอนที่จะตรัสรู้มรรค ๓ เบื้องสูง เมื่อจะเกิดในภพใหม่เป็นเทวดา หรือมนุษย์ก็เกิดได้ไม่เกิน ๗ ครั้ง ๒. พระโสดาบันประเภทโกลังโกละ หมายถึงพระโสดาบันผู้เมื่อจะ เกิดในภพใหม่เป็นเทวดาหรือมนุษย์ก็เกิดได้ ๒ หรือ ๓ ภพ และถ้าเกิด เป็นมนุษย์ก็ไม่เกิดในตระกูลตำ่า คือเกิดในตระกูลที่มีโภคสมบัติมากเท่านั้น ๓. พระโสดบันประเภทเอกพีชะ หมายถึงผู้มีพืชคืออัตภาพเดียว คือเกิดอีกครั้งเดียวก็จะบรรลุพระอรหัต ดูรายละเอียดใน สำ.ม. (บาลี) ๑๙/๔๘๒/๑๒๑, สำ.ม. (ไทย) ๑๙/๔๘๒/๒๙๓, องฺ.ทุก. (บาลี) ๒๐/๘๘/๑๔๖, องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๘๘/๓๑๕, ดูรายละเอียดในเรื่องพระปัญจวัคคีย์ใน ธัมมจักกัปปวัตนสูตร และ อนัตตลักขณสูตร จะเห็นว่า พระอัญญาโกณฑัญญะมีอินทรีย์แก่กล้ากว่า จึงได้ดวงตาเห็นธรรมก่อนเพื่อน วิ.มหา. (บาลี) ๔/๑๓/ วิ.มหา. (ไทย) ๔/๑๓/๑๒, ๔/๒๐/๑๖. ดูรายละเอียด ขุ. ชา. (ไทย) ๒๗/๑๙/๕๙๗. 123
  • 10. แสดงพฤติกรรมนั้นๆ อีกต่อไป ความต่างกัน ที่ต่างกันคือแรงจูงใจของแบนดูร่า เป็นสิ่งของและคำา ยกย่อง อาจจะมีการให้ตำาแหน่งอื่นๆ ด้วยก็ได้แต่เท่าที่เห็นในงาน วิจับของเขาเป็นการให้รางวัลเป็นสิ่งของและคำา ทางพระพุทธ ศาสนาพระพุทธองค์เป็นผู้ยกย่องสรรเสริญเอง ทรงตำาหนิติเตียน เอง ปฏิบัติแบบตรงไปตรงมาไม่เลือกปฏิบัติ และการยกย่อง สรรเสริญบุคคลพระองค์ไม่ได้พิจารณาเฉพาะผลของพฤติกรรม ในปัจจุบันเท่านั้นยังนำาเอาผลของพฤติกรรมในอดีตมาพิจารณา ด้วย เช่น การแต่งตั้งอัครสาวก เป็นต้น ในตอนแรกมีพวกภิกษุติ เตียนพระองค์ว่า แต่งตั้งเพราะเห็นแก่หน้า มีความลำาเอียง แต่ พระองค์ได้ให้เหตุผลว่า ตำาแหน่งนี้เป็นของท่านทั้งสองนี้เพราะได้ ตั้งความปรารถนาไว้ในอดีตชาตินานมาแล้ว ตัวอย่างของการตำาหนิคนที่ควรตำาหนิ เช่น เรื่องพระฉัน นะ ซึ่งเป็นอำามาตย์คนสนิทของพระองค์ เป็นสหายของพระองค์ ด้วย ตอนที่พระองค์เสด็จออกผนวช ก็ได้นายฉันนะในตอนนั้น เป็นเพื่อนตามเสด็จ ภายหลังนายฉันนะออกบวชแล้วแสดงความที่ ตนเป็นคนสนิทของพระพุทธเจ้าตอนเป็นเจ้าชายสิทธัตถะ ประพฤติตนไม่เหมาะสมเป็นคนว่ายากสอนยากใครบอกสอนไม่ เชื่อฟัง ทำาอะไรตามใจตนเอง จนถึงบั้นปลายชีวิตของ พระพุทธเจ้า ขณะใกล้จะปรินิพพาน พระอานนท์ทูลถามพระพุทธ องค์ว่า จะทำาอย่างไรกับพระฉันนะ พระองค์บอกให้สงฆ์ลงพรหม ทัณฑ์แก่พระฉันนะ จนในที่สุดพระฉันนะก็ได้สติยอมปฏิบัติตาม มติของสงฆ์กลายมาเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่ายได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ ในที่สุด จากตัวอย่างเหล่านี้จะเห็นว่า กระบวนการจูงใจของแบนดู ร่ากับพระพุทธศาสนามีความคล้ายกันต่างกันแต่อุบายวิธีการนำา เสนอ ของแบนดูร่าเน้นไปที่กลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนหรือกลุ่มวัย ดดูรายละเอียด ขุ. ธ.อ. (ไทย) ๑/๘/๔๖-๖๒. พรหมทัณฑ์ คือ การที่คณะสงฆ์ปล่อยให้พระฉันนะว่ากล่าว หรือ ทำาอะไรตามใจชอบ คณะสงฆ์ไม่ยุ่งเกี่ยวด้วย ดูรายละเอียดใน วิ.จู. (บาลี) ๗/๔๔๕/๑๖๓-๑๖๕, วิ.จู. (ไทย) ๗/๔๔๕/๓๘๖-๓๘๙. 124
  • 11. รุ่น ส่วนในพระพุทธศาสนานำาเสนอเพื่อคนทุกกลุ่ม ไม่ได้จัดกลุ่ม ๔.๔.๒. เปรียบเทียบแนวทางการกำากับตนเอง (Self-Regulation) ก. กระบวนการสังเกตของตนเอง (Self observation) ความเหมือนกัน ที่เหมือนกันคือ ทุกคนต้องรู้ตัวอยู่เสมอว่า กำาลังทำาอะไร อยู่ แบนดูร่าบอกว่าบุคคลไม่มีอิทธิพลใดๆ ต่อการกระทำาของตัว เองถ้าเขาไม่สนใจว่าเขากำาลังทำาอะไรอยู่ จุดเริ่มต้นสำาคัญของ การกำากับตนเองคือบุคคลจะต้องรู้ว่าตนเองกำาลังทำาอะไรอยู่ เพราะความสำาเร็จจากการกำากับตนเองนั้นส่วนหนึ่งมาจากความ ชัดเจนสมำ่าเสมอและแม่นยำาของการสังเกตและบันทึกตนเอง พระพุทธศาสนามีหลัก สติ สัมปชัญญะ เป็นตัวเตือนให้ ระลึกอยู่ตลอดเวลา การที่คนจะสังเกตตนเองได้ต้องมีสติ ความ ระลึกได้ คือมีความระลึกได้อยู่ ๓ ขณะ คือ ขณะก่อนทำา ขณะ ก่อนพูด ขณะก่อนคิด ถ้าบุคคลมีสติระลึกได้อย่างนี้จะทำาให้การ ทำางานหรือทำากิจกรรมอื่นใดไม่ผิดพลาด สติสามารถควบคุมความ รู้สึกต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาได้ เพราะสติอยู่แยกตำาแหน่งกับความรู้สึก เป็นคนละส่วนกัน ส่วนสัมปชัญญะ คือความรู้สึกตัวอยู่ตลอดเวลา ขณะที่กำาลังทำา กำาลังพูด กำาลังคิด ความต่างกัน ที่ต่างกันคือเป้าหมายและวิธีการของการสังเกตตนเอง แบนดูร่า มีเป้าหมายเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมขั้นพื้น ฐานทั่วไปของผู้สังเกตตนเอง ให้ผู้เรียนมีความตื่นตัวอยู่ตลอด เวลา ส่วนพระพุทธศาสนามีเป้าหมายให้เกิดการเปลี่ยน พฤติกรรม ๓ ขั้น คือขั้นพื้นฐาน ขั้นกลาง และขั้นสูง ขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนมีสติสัมปชัญญะอยู่ตลอดเวลาไม่ให้หลงลืม เมื่อไม่ ที.ปา. (บาลี) ๑๑/๑๐๙-๓๑๐/ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๑๐๙-๓๑๐/๗๙-๔๓๓. สม สุจิรา, ทวาร 6 ศาสตร์แห่งการรู้ทันตนเอง, พิมพ์ครั้งที่ ๗, (กรุงเทพมหานคร : สำานักพิมพ์อมรินทร์, ๒๕๕๐), หน้า ๒๑. ที. สี. (ไทย) ๙/๒๑๔/๗๓. 125
  • 12. หลงลืมก็ไม่ทำาให้การงานที่ทำาอยู่เกิดความเสียหายแก่ตนเองและผู้ อื่น พระพุทธองค์ตรัสสรรเสริญคุณของสติไว้หลายอย่างหลาย ประการ เช่น ตรัสว่า “สติมีความสำาคัญมากจำาปรารถนาในกิจทั้ง ปวงเปรียบเหมือนเกลือที่จำาเป็นต่อการปรุงอาหารทุกชนิดและ เปรียบเหมือนมหาอำามาตย์ผู้เชี่ยวชาญในราชกิจของพระราชาทุก ”อย่าง “สติเป็นเครื่องกั้นกระแสคือกิเลสทั้งหลาย ” ทันตแพทย์สม สุจิรา อธิบายว่า “สติอยู่แยกตำาแหน่งกับความรู้สึกเป็นคนละส่วน กัน เมื่อปฏิบัติจนเห็นความเข้มแข็งว่องไวของสติ เราจะรู้ได้ทันที ว่า ความรู้สึกต่างๆ ที่ผุดขึ้นมา ไม่ว่ารัก โลภ โกรธ หลง ทั้งหมด ”นี้สามารถควบคุมได้ด้วยการใช้สติ สรุปได้ว่ากระบวนการสังเกตของตนเองของแบนดูร่ากับ พระพุทธศาสนาเหมือนกันคือต้องมีความระลึกรู้และมีความรู้สึกตัว ทั่วพร้อมอยู่ตลอดเวลา ต่างกันแต่เป้าหมายและวิธีการปฏิบัติ ข. กระบวนการตัดสิน (Judgment Process) ความเหมือนกัน ที่เหมือนกันคือการตัดสินของแบนดูร่าและพระพุทธ ศาสนาเป็นการชี้วัดความผิดความถูกทำาให้รู้ว่าพฤติกรรมอย่าง ไหน พฤติกรรมอย่างไหนผิด จะได้นำามาปรับปรุงแก้ไขให้ถูก ต้อง แบนดูร่าบอกว่า ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตตนเองนั้นจะมีผล ต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนไม่มากนัก ถ้าปราศจาก กระบวนการตัดสิน ถ้าข้อมูลดังกล่าวนั้นเป็นที่พึงพอใจหรือไม่พึง วิสุทฺธิมคฺค. (บาลี) ๑/๑๖๕, ตสฺมา สา โลณธูปนำ วิย สพฺพพฺยญฺชเนสุ สพฺพกมฺมิกอมจฺโจ วิย จ สพฺพราชกิจฺเจสุ สพฺพตฺถ อิจฺฉิตพฺพา ฯ เตนาห สติ จ ปน สพฺพตฺถิกา วุตฺตา ภควตา กึการณา จิตฺตำ หิ สติปฏิสรณำ อารกฺขปจฺจุปฏฺานา จ สติ น วินา สติยา จิตฺตสฺส ปคฺ คหนิคฺคโห โหตีติ ฯ ขุ. ธ. (บาลี) ๒๕/๔๒๕/๕๓๐, ขุ. ธ. (ไทย) ๒๕/๑๐๔๒/๗๔๖, วิ สุทฺธิมคฺค. (บาลี) ๑/๘, โสตานำ สำวรำ พฺรูมิ เกน โสตา ปิถิยฺยเร ยานิ โสตานิ โลกสฺมึ (อชิตาติ ภควา) สติ เตสำ นิวารณำ โสตานำ สำวรำ พฺรูมิ ปญฺญาเยเต ปิถิยฺยเร ฯ สม สุจิรา, ทวาร 6 ศาสตร์แห่งการรู้ทันตนเอง, พิมพ์ครั้งที่ ๗, (กรุงเทพมหานคร : สำานักพิมพ์อมรินทร์, ๒๕๕๐), หน้า ๒๑. 126
  • 13. พอใจ โดยอาศัยมาตรฐานส่วนบุคคลที่ได้มาจากการถูกสอน โดยตรง การประเมิน ปฏิกิริยาตอบสนองทางสังคมต่อพฤติกรรม นั้นๆ และจากการสังเกตตัวแบบการจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความต่างกัน ที่ต่างกันคือการตัดสินพฤติกรรมของแบนดูร่าเป็นการ ตัดสินความถูก ความผิด เหมาะสม ไม่เหมาะสม พึงประสงค์หรือ ไม่พึงประสงค์เกี่ยวกับพฤติกรรมอย่างเดียว อาศัยองค์ประกอบ ๔ อย่าง คือ ๑. มาตรฐานส่วนบุคคล ที่ได้จากการถูกสอนโดยตรง การประเมินหรือสังเกตตัวแบบ ๒. การเปรียบเทียบกับกลุ่มอ้างอิง ทางสังคม ๓. การให้คุณค่าของกิจกรรม สูง,กลาง,ตำ่า ๔. การ อนุมานความสามารถการกระทำา พิจารณาแหล่งภายในและแหล่ง ภายนอกตน ส่วนกระบวนการตัดสินในทางพระพุทธศาสนา เป็นการ ตัดสินความผิด ความถูกของพระธรรมวินัยที่คนยึดเอาเป็น แนวทางในการศึกษาและปฏิบัติ ที่มีผลกระทบต่อตนเองและสังคม เพราะถ้าถือเอาธรรมที่ผิดมาสอนคนอื่น หรือมาปฏิบัติเองก็จะไม่ ได้บรรลุตามที่ปรารถนา ในพระพุทธศาสนาพระพุทธองค์ได้วาง หลักการตัดสินไว้ ๒ ชุด ชุดที่ ๑ เรียกว่าหลักการตัดสินพระธรรม วินัยมี ๘ ประการ ชุดที่ ๒ เรียกว่า มหาปเทส ๔ มี ๒ ประเภท หลักการตัดสินพระธรรมวินัย ๘ ประการคือ ๑. เป็นไปเพื่อคลาย ความกำาหนัด ๒. เป็นไปเพื่อความพราก ๓. เป็นไปเพื่อการไม่สะสม ๔. เป็น ไปเพื่อความมักน้อย ๕. เป็นไปเพื่อความสันโดษ ๖. เป็นไปเพื่อความสงัด ๗. เป็นไปเพื่อปรารภความเพียร ๘. เป็นไปเพื่อความเป็นคนเลี้ยงง่าย ดูราย ละเอียดใน วิ.จู. (ไทย) ๗/๔๐๖/๓๒๓-๓๒๔. และในบทที่ ๓ ตอนว่าด้วย กระบวนการตัดสิน มหาปเทส ๔ ที่เป็นหลักการตัดสินพระวินัย คือ๑. สิ่งใดที่ไม่ได้ ห้ามไว้ว่า ไม่ควร ถ้าอนุโลมเข้ากับสิ่งไม่ควร สิ่งนั้นไม่ควร ๒. สิ่งใดที่ไม่ได้ ห้ามไว้ว่า ไม่ควร ถ้าอนุโลมเข้ากับสิ่งที่ควร สิ่งนั้นควร ๓. สิ่งใดที่ไม่ได้ อนุญาตไว้ว่า ควร ถ้าอนุโลมเข้ากับสิ่งไม่ควร สิ่งนั้นไม่ควร ๔. สิ่งใดที่ไม่ ได้อนุญาตไว้ว่า ควร ถ้าอนุโลมเข้ากับสิ่งที่ควร สิ่งนั้นควร ดูรายละเอียดใน วิ. ม. (ไทย) ๕/๓๐๔/๑๓๙-๑๔๐. ส่วนมหาปเทส ๔ ในพระสูตรพระองค์ตั้งไว้เพื่อเป็นเครื่องตัดสินตัว เองว่า เป็นผู้ปฏิบัติถูกต้องตามธรรมที่พระองค์ได้สั่งสอนหรือไม่ หรือเพื่อ ตัดสินตัวเองว่า ได้ปฏิบัติธรรมถึงขั้นไหนแล้ว มหาปเทส ๔ เหล่านั้นสรุป 127
  • 14. ประเภทที่ ๑ เป็นหลักการตัดสินพระวินัย ประเภทที่ ๒ เป็นหลัก การตัดสินพระธรรม ถ้าธรรมเหล่าใดตรงข้ามกับหลักการตัดสิน พระธรรมวินัยทั้ง ๘ นี้ และตรงข้ามกับหลักมหาปเทส ๔ ทั้ง ๒ ประเภทนี้ ให้ถือว่าไม่ใช่ธรรมไม่ใช่วินัยที่พระพุทธองค์สั่งสอน และทรงประสงค์ สรุปได้ว่า สาเหตุที่นำาหลักการตัดสินพระธรรมวินัย ๘ ประการ และหลักมหาปเทส ๔ มาศึกษาเปรียบเทียบกับหลักการ ตัดสินของแบนดูร่า เพราะเป็นการตัดสินเหมือนกันต่างกันแต่ หลักการตัดสินในพระพุทธศาสนาเป็นการตัดสินเชิงนามธรรม แต่ หลักการตัดสินของแบนดูร่าเป็นการตัดสินเชิงรูปธรรมเป็นการ ตัดสินพฤติกรรมของบุคคลที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาระดับหนึ่งแล้ว ถ้าจะให้สอดคล้องกันจริงๆ หลักการตัดสินของแบนดูร่าก็เหมือน กับการที่ผู้ปฏิบัติธรรมได้ปฏิบัติไปสักระยะหนึ่งแล้วอาจารย์ ที่ทำาการสอนจึงเรียกไปสอบอารมณ์เพื่อจะตัดสินว่าการปฏิบัติ ก้าวหน้าเป็นที่น่าพอใจหรือไม่ ถ้าไม่มีการสอบอารมณ์ การปฏิบัติ ก็จะไม่ก้าวหน้า เป็นการช่วยผู้ปฏิบัติอีกทางหนึ่ง ค. การแสดงปฏิกิริยาต่อตนเอง (Self-Reaction) ความเหมือนกัน ที่เหมือนกันคือสามารถรู้ทันอารมณ์ที่เกิดขึ้นกับตัวเองและ สามารถควบคุมปรับพฤติกรรมให้เหมาะสมกับสถานการณ์ไม่ แสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ออกมาให้ปรากฏต่อหน้า สาธารณชน การแสดงปฏิกิริยาต่อตนเองตามหลักของแบนดูร่า ขึ้นอยู่กับสิ่งล่อใจ ส่วนมาตรฐานภายในตนเองจะทำาหน้าที่เป็น เกณฑ์ที่ทำาให้บุคคลวางระดับการแสดงออก หมายความว่าบุคคล จะแสดงปฏิกิริยาต่อตนเอง ต้องมีองค์ประกอบ ๒ อย่าง คือ สิ่งล่อ ใจความได้ดังนี้ ข้อที่ ๑ กล่าวอ้างพระพุทธเจ้าว่า ตนเองได้ฟังมาไดรับมา ต่อหน้าพระพักตร์ของพระองค์ ว่า ธรรมเหล่านี้เป็นธรรมเป็นวินัย ของ พระพุทธเจ้า พวกท่านทั้งหลายจงถือเอา รับเอา ข้อที่ ๒ กล่าวอ้างถึงคณะ สงฆ์ ผู้เป็นหหุสูตร ทรงธรรม ทรงวินัย(รายละเอียดเหมือนกับข้อที่ ๑) ข้อที่ ๓ กล่าวอ้างพระเถระหลายรูป ที่เป็นพหูสูตร ทรงธรรม ทรงวินัย ข้อที่ ๔ กล่าวอ้างพระเถระรูปเดียวที่เป็นพหูสูตร ทรงธรรม ทรงวินัย 128
  • 15. ใจภายนอก และมาตรฐานภายในตนเอง การแสดงปฏิกิริยาต่อตนเองในทางพระพุทธศาสนา มีองค์ ประกอบ ๒ อย่างเช่นกัน คือ อารมณ์ภายนอกหรืออายตนะ ภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่น รส สิ่งที่ต้องกาย (โผฏฐัพพะ) เข้า มากระทบกับมาตรฐานภายในตนเอง คืออายตนะภายใน ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ถ้าอารมณ์ภายนอกมีคุณภาพเท่ากันหรือ ใกล้เคียงกันกับมาตรฐานภายใน การแสดงออกหรือการวางตัวก็ จะเสมอกันดูงดงามพอเหมาะพอดี ยกตัวอย่างเช่น นาย ก. เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี คบกับ นางสาว ข. ซึ่งเป็นนักศึกษาระดับเดียวกัน ทั้งสองคนนี้ ถือว่าเป็นสิ่งล่อใจของกันและกัน และมีมาตรฐานภายในคือ อายตนะภายในใกล้เคียงกัน การวางตัวหรือการแสดงปฏิกิริยาต่อ ตนเองของพวกเขาก็จะอยู่ในระดับเสมอกัน ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะไม่ วางตัวสูงเกินไปหรือตำ่าเกินไป ความต่างกัน การแสดงปฏิกิริยาต่อตนเอง ของแบนดูร่า มุ่งเน้นการปรับ พฤติกรรมในเชิงบวกหรือพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ส่วนอายตนะ ภายนอก (สิ่งล่อใจหรืออารมณ์) กับอายตนะภายใน (มาตรฐาน ภายใน)ในพระพุทธศาสนา มุ่งเน้นการรู้เท่าทันตนเองต่ออารมณ์ ที่มากระทบกับอายตนะภายในแล้วมีความรู้สึกกับจิตใจ ด้วยการมี สติสัมปชัญญะกำากับอยู่แล้วแสดงปฏิกิริยาออกมาอย่างเหมาะสม ๔.๔.๓. เปรียบเทียบแนวคิดของการรับรู้ความ สามารถของตนเอง ก. ประสบการณ์ที่ประสบความสำาเร็จ (Mastery Experiences) ความเหมือนกัน ที่เหมือนกันคือผู้ที่มีประสบการณ์ที่ประสบความสำาเร็จใน อดีต จะสร้างความมั่นใจแก่ตนเองในการที่จะมุ่งมั่นตั้งใจประกอบ A, Bandura, Social Learning theory, (Englewood Cliffs, New Jersey, Prentice-Hall, Inc., 1997), p.82. 129
  • 16. กิจกรรมที่ตนทำำอยู่ในปัจจุบันโดยไม่หวั่นไหวและย่อท้อเพรำะมี แรงจูงใจมำจำกควำมสำำเร็จที่เคยทำำมำในอดีตเป็นแรงสนับสนุน ควำมต่ำงกัน ประสบกำรณ์ที่ประสบควำมสำำเร็จตำมหลักของแบนดูร่ำ ต่ำงจำกประสบกำรณ์ที่ประสบควำมสำำเร็จในพระพุทธศำสนำ โดยกำรอธิบำย เป้ำหมำย และรำยละเอียด แบนดูร่ำ เชื่อว่ำ ประสบกำรณ์ที่ประสบควำมสำำเร็จเป็นวิธีกำรที่มีประสิทธิภำพมำก ที่สุด ในกำรพัฒนำกำรรับรู้ควำมสำมำรถของตนเอง เนื่องจำกว่ำ เป็นประสบกำรณ์โดยตรง ควำมสำำเร็จทำำให้เพิ่มควำมสำมำรถ ของตนเอง บุคคลจะเชื่อว่ำเขำสำมำรถที่จะทำำได้ เขำบอกว่ำ ใน กำรที่จะพัฒนำกำรรับรู้ควำมสำมำรถของตนเองนั้น จำำเป็นที่จะ ต้องฝึกให้เขำมีทักษะเพียงพอที่จะประสบควำมสำำเร็จได้พร้อม ๆ กับกำรทำำให้เขำรับรู้ว่ำ เขำมีควำมสำมำรถจะกระทำำเช่นนั้น จะ ทำำให้เขำใช้ทักษะที่ได้รับกำรฝึกได้อย่ำงมีประสิทธิภำพมำกที่สุด บุคคลที่รับรู้ว่ำตนเองมีควำมสำมำรถนั้น จะไม่ยอมแพ้อะไรง่ำยๆ แต่จะพยำมทำำงำนต่ำงๆเพื่อให้บรรลุถึงเป้ำหมำย ประสบกำรณ์ที่ประสบควำมสำำเร็จ ในทำงพระพุทธ ศำสนำ ได้แก่ จริต ๖ คือควำมประพฤติจนเคยชินเป็นนิสัยที่ แสดงออกมำโดยไม่ได้ตั้งใจ จนกลำยเป็นบุคลิกของแต่ละคน เช่น คนรำคจริต จะมีนิสัยเรียบร้อย รักสวยรักงำม คนสัทธำจริต จะมีนิสัยเชื่อง่ำย ถ้ำไม่มีปัญญำกำำกับก็อำจจะกลำยเป็นคนเชื่อ งมงำยก็ได้ จริตทั้ง ๖ ประกำรนี้มีควำมสอดคล้องกับหัวข้อว่ำ ประสบกำรณ์ที่ประสบควำมสำำเร็จ เพรำะจริต คือควำมเคยชินของ บุคคล คนที่เคยประสบควำมสำำเร็จในอดีตย่อมจะรู้ดีว่ำ ในช่วง เวลำนั้นๆ ตนได้ทำำอะไรบ้ำง และทำำด้วยวิธีไหน อย่ำงไร แล้วก็จะ จดจำำเอำไว้เพื่อนำำไปประพฤติต่อในอนำคต เช่น คนรำคจริตจะ ประสบควำมสำำเร็จในเรื่องควำมงำม ควำมละเอียดรอบคอบ จิตใจอ่อนโยน เป็นที่รักของเจ้ำนำยและเพื่อนฝูง หรือลูกน้อง คน พุทธิจริต เคยประสบควำมสำำเร็จในเรื่องกำรใช้ควำมคิด กำร วำงแผน หรือทำงวิชำกำรต่ำงๆ คนเหล่ำนี้ก็จะคิดถึง ดูรำยละเอียดใน สมเด็จพระพุฒำจำรย์ (อำจ อำสภมหำเถร), คัมภีร์วิสุทธิมรรค, พิมพ์ครั้งที่ ๔, (กรุงเทพมหำนคร : ประยูรวงศ์พริ้น ติ้ง, ๒๕๔๖), หน้ำ ๑๗๘-๑๘๒. 130
  • 17. ประสบกำรณ์ที่ผ่ำนมำแล้วนำำไปพัฒนำปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรม ของตนให้ดียิ่งขึ้นต่อไป ข. โดยกำรใช้ตัวแบบ (Modeling) ควำมเหมือนกัน ที่เหมือนกันคือใช้สิ่งที่เป็นรูปธรรมและนำมธรรมเป็นตัว แบบ เช่น แบนดูร่ำ ใช้ตุ๊กตำเป็นตัวแบบ ใช้คุณสมบัติพิเศษต่ำงๆ ของบุคคลที่เป็นตัวแบบ ช่วยเสริมควำมน่ำเชื่อถือของตัวแบบด้วย ใช้สัญลักษณ์แทนตัวบุคคลด้วย ในทำงพระพุทธศำสนำก็เช่น เดียวกัน บำงครั้งพระพุทธองค์ทรงใช้บุคคลเป็นสื่อหรือเป็น ตัวอย่ำงในกำรอธิบำยธรรมะ บำงครั้งพระองค์ทรงใช้สิ่งแวดล้อม ที่อยู่ใกล้ตัวที่เกี่ยวข้องกับเนื้อสำระที่กำำลังแสดง เช่น พระองค์ใช้ ต้นตำลยอดด้วนเป็นตัวอย่ำงในกำรอธิบำยเรื่องกำรละเมิด สิกขำบทของภิกษุว่ำ ผู้ละเมิดปำรำชิกสิกขำบทเป็นผู้อำภัพใน พระพุทธศำสนำไม่สำมำรถจะบรรลุมรรคผลนิพพำนได้ เหมือนกับ ตำลยอดด้วนไม่สำมำรถที่จะงอกงำมต่อไปได้ ควำมต่ำงกัน ที่ต่ำงกันคือกำรใช้ตัวแบบของแบนดูร่ำเพื่อจุดประสงค์ที่ จะเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ที่มีควำมกลัวต่อสิ่งต่ำงๆ เช่น เด็กกลัว สัตว์เลี้ยงในบ้ำน มีแมว สุนัข เป็นต้น เขำก็จะนำำเด็กที่กลัวไปดู เด็กคนอื่นที่มีวัยใกล้เคียงกันที่ไม่กลัวแมวกำำลังเล่นกับแมวอยู่ให้ เด็กคนที่กลัวได้เห็น เพื่อจะให้เด็กเกิดควำมกล้ำขึ้นมำว่ำ เขำก็ สำมำรถเล่นกับแมวได้ เป็นต้น ในทำงพระพุทธศำสนำใช้ตัวแบบเพื่อปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของบุคคลทั่วไปมีเป้ำหมำยตั้งแต่ระดับขั้นพื้นฐำนจนถึง ระดับสูงสุดคือบรรลุมรรคผลเป็นอริยบุคคล ค. กำรใช้คำำพูดชักจูง (Verbal Persuasion) ควำมเหมือนกัน ที่เหมือนกันคือเป็นกำรใช้คำำพูดชักจูงให้ผู้เรียนหรือผู้ฟัง เกิดควำมกระตือรือร้น เกิดควำมกล้ำหำญ เกิดควำมร่ำเริงใจ มี 131
  • 18. ควำมเห็นคล้อยตำมคำำพูดอยำกนำำกลับไปปฏิบัติให้เกิดผลแก่ ตนเองและสังคม ควำมต่ำงกัน ที่ต่ำงกันคือแบนดูร่ำ กล่ำวว่ำ กำรใช้คำำพูดชักจูงต้องทำำ ร่วมกันกับกระบวนกำรอื่นๆจึงจะได้ผล เช่น กระบวนกำร พัฒนำกำรรับรู้ควำมสำมำรถของตนเอง กำรใช้ตัวแบบ ประสบกำรณ์ที่ประสบควำมสำำเร็จ เป็นต้น วิธีกำรเหล่ำนี้จะค่อย ๆ สร้ำงควำมสำมำรถให้กับบุคคลอย่ำงค่อยเป็นค่อยไปและให้เกิด ควำมสำำเร็จตำมลำำดับขั้นตอน ก็ย่อมที่จะได้ผลดีในกำรพัฒนำกำร รับรู้ควำมสำมำรถของตน พระพุทธศำสนำใช้หลักลีลำกำรสอน หรือเทศนำวิธี ๔ อย่ำง คือ ๑. สันทัสสนำ ชี้แจงให้เห็นชัด ๒. สมำทปนำ ชวนให้ อยำกรับเอำไปปฏิบัติ ๓. สมุตเตชนำ เร้ำใจให้อำจหำญแกล้ว กล้ำ ๔. สัมปหังสนำ ปลอบชโลมใจ ให้สดชื่นร่ำเริง ง. กำรกระตุ้นทำงอำรมณ์ (emotional arousal) ควำมเหมือนกัน ที่เหมือนกันคือ ช่วยให้ผู้เรียนหรือผู้ฟังเกิดควำมตื่นตัว มี กำำลังใจที่จะพัฒนำตัวเองให้ก้ำวหน้ำต่อไป กำรกระตุ้นทำงอำ รมณ์ตำมหลักของแบนดูร่ำ มีผลต่อกำรรับรู้ควำมสำมำรถของ ตนเองในสภำพที่ถูกขมขู่ ในกำรตัดสินถึงควำมวิตกกังวล และ ควำมเครียดของคนเรำบำงส่วนจะขึ้นอยู่กับกำรกระตุ้นทำงสรีระ กำรกระตุ้นทำงอำรมณ์ ในทำงพระพุทธศำสนำได้ศึกษำ เรื่อง ฉันทะ ควำมพอใจ ชอบใจในกำรทำำกิจกรรมที่สร้ำงสรรค์ ที่ วิ.มหำ. (บำลี) ๑/๒๒-๒๔,๒๙๐/๑๓-๔,๒๒๒, วิ.ภิกฺขุนี. (บำลี) ๓/๗๘๓/๗๒-๓,วิ.ม. (บำลี) ๔/๒๙,๘๙-๙๐,๑๐๕,๑๓๒,๑๓๗/๒๕,๑๐๖-๗,๑๒๐,๑๔๖,๑๕๐,วิ.ม. (บำลี) ๕/๒๗๐,๒๗๖,๒๘๐-๑,๒๘๘, ๒๙๔,๒๙๘,๓๓๗/๓๘,๔๕,๕๐,๕๒,๖๕,๗๔,๘๑,๑๓๙, วิ.จู. (บำลี) ๖/๓๓,๑๙๒/๔๓-๔,๒๒๕,วิ.จู. (บำลี) ๗/๒๖๐,๒๖๘-๙,๔๐๔,๔๔๕/๒๑,๓๓-๔,๒๓๗,๒๘๒, ที.สี. (บำลี) ๙/๓๔๔,๓๕๘/๑๔๐,๑๕๐. 132
  • 19. เป็นประโยชน์ ได้แก่ ฉันทะที่มำในหมวดธรรมอิทธิบำท ๔ สัมมัปปธำน ๔ ไม่ใช่ ฉันทะ ใช้เป็นคำำไวพจน์ของตัณหำ คือควำม อยำกซึ่งเป็นควำมหมำยในเชิงลบ ควำมต่ำงกัน ที่ต่ำงกันคือ กำรกระตุ้นทำงอำรมณ์ตำมหลักของแบนดูร่ำ เป็นกำรกระตุ้นให้เกิดควำมคำดหวังในควำมสำำเร็จที่จะเกิดขึ้น จุด อ่อนก็คือถ้ำผู้ถูกกระตุ้นไม่พึงพอใจหรือเกิดควำมกลัว ก็จะกระตุ้น ให้เกิดควำมกลัวมำกขึ้น บุคคลก็จะเกิดประสบกำรณ์ของควำมล้ม เหลว อันจะทำำให้กำรรับรู้เกี่ยวกับควำมสำมำรถของตนตำ่ำลง ในทำงพระพุทธศำสนำ กำรกระตุ้นอำรมณ์ด้วยฉันทะมี ๒ ลักษณะ คือถ้ำเป็นกำรกระตุ้นอำรมร์ด้วยฉันทะ ที่มีควำมหมำย เป็นไวพจน์ของตัณหำ จะทำำให้แสดงพฤติกรรมเป็นไปในทำงลบ คือจะทำำให้ทำำด้วยควำมโลภ ละโมบ อยำกได้ไม่รู้จักพอ จะก่อ ทุกข์ให้แก่ตนเองและคนอื่นเป็นวงกว้ำงตำมที่ตนเกี่ยวข้อง เช่น นักกำรเมือง หรือรัฐมนตรีที่มีหน้ำที่รับผิดชอบต่อคนทั้งประเทศ กำรกระทำำด้วยอำำนำจของควำมละโมบโลภมำกของเขำก็จะสร้ำง ควำมเดือดร้อนแก่คนทั้งประเทศเหมือนกัน นัยตรงกันข้ำมถ้ำ เป็นกำรกระตุ้นอำรมณ์ด้วยฉันทะ ที่เป็นกัตตุกัมยตำฉันทะ คือ ควำมพอใจ ควำมชอบใจใคร่จะทำำสิ่งที่เป็นประโยชน์ผลที่ตำมมำ ก็จะสร้ำงควำมสุขให้แก่ผู้ทำำและผู้อื่นที่เกี่ยวข้องด้วยเช่นกัน กำรกระตุ้นอำรมณ์ด้วยฉันทะในข้อหลังนี้จึงเป็นที่พึงปรำรถนำ ตำมหลักพระพุทธศำสนำ ในสัมมัปปธำน ๔ ไม่มีคำำว่ำ ฉันทะ ปรำกฏอยู่ในหมวดธรรม แต่มีปรำกฏในตอนอธิบำยขยำยควำมว่ำ “ข้อที่ภิกษุในธรรมวินัยนี้สร้ำง ฉันทะ พยำยำม ปรำรภควำมเพียร ประคองจิตมุ่งมั่นเพื่อป้องกันบำป อกุศลธรรมที่ยังไม่เกิดมิให้เกิดขึ้น ฯลฯ เพื่อละบำปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้น แล้ว ฯลฯ เพื่อทำำบำปอกุศลธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นมิให้เกิดขึ้น ฯลฯ สร้ำง ฉันทะ พยำยำม ปรำรภควำมเพียร ประคองจิต มุ่งมั่นเพื่อควำมดำำรงอยู่ ไม่เลือนหำย ภิยโยภำพ ไพบูลย์ เจริญเต็มที่แห่งกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว” ดูรำยละเอียดใน ที.ปำ. (ไทย) ๑๑/๓๐๖/๒๗๗, อภิ.วิ. (ไทย) ๓๕/๒๐๕/๑๗๒. สมโภชน์ เอี่ยมสุภำษิต, ทฤษฎีและเทคนิคกำรปรับ พฤติกรรม, หน้ำ ๕๙ - ๖๐. 133
  • 20. 134