SlideShare a Scribd company logo
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 1
บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ได้มีครอบครัวผู้อพยบประมาณ ๓ ครอบครัวได้อพยบเดินทางรอนแรมมาจาก
อาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคามเพื่อหาทาเลที่ตั้งในการลงหลักปักฐานสร้างที่อยู่
และที่ทามาหากินแห่งใหม่โดยได้เดินทางรอนแรมมาถึงบริเวณที่ตั้งของหมู่บ้าน
หนองเต่าในปัจจุบัน โดยในสมัยนั้นมีหนองน้าขนาดใหญ่ซึ่งเป็นที่กล่าวนามใน
สมัยนี้ว่าหนองน้าหนองเต่า จึงได้ตกลงปรงใจพากันปักหลักปักฐานอยู่ที่นี้และได้
ถางป่าทาที่อยู่อาศัยและทาการเกษตรใกล้กับหนองน้า เมื่อเด็กไปเล่นในหนอง
น้าและบังเอิญได้เจอเต่าจึงได้จับเต่ามาให้ผู้ใหญ่ดู โดยผู้สูงอายุได้ถามเด็กว่าไป
จับเต่ามาแต่ใหน พวกเด็กๆ จึงตอบว่าจับมาจากหนองน้า ซึ่งในหนองน้านั้นมี
เต่ามาก จึงเป็นที่มาให้ชาวบ้านกล่าวนามหนองน้านั้นว่า “หนองเต่า”
ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย
30440
๑ ความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ตามคาบอกกล่าวของผู้สูงอายุในชุมชนพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า เมื่อประมาณ พ.ศ.๒๔๗๔
แล้วตอนนี้ยังมีเต่าให้
เราเห็นอยู่ไหมค่ะ
อ่อตอนนี้เต่าที่อยู่ในหนองเต่าได้สูญพันธุ์
หมดแล้ว เหลือก็แต่เต่าที่ชาวบ้านเอามา
ปล่อยไว้เท่านั้นแหละจ๊ะ และก็มีรูปปั่น
เต่าที่ชาวและวัดบ้านหนองเต่าได้ปั่นขึ้น
เพื่อเป็นอนุสรณ์ไว้ที่วัดบ้านหนองเต่าจ๊ะ
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 2
บ้านหนองเต่า
จะเรียกว่าหมู่บ้านแล้วจึงได้เรียกชื่อหมู่บ้านตามชื่อหนองน้าประจาหมู่บ้านนั้นว่า
หมู่บ้านหนองเต่า และได้เรียกมาจนถึงปัจจุบัน (ปัจจุบันหมู่บ้านหนองเต่าตั้งอยู่
ที่ หมู่ที่ 9 ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา
ประเทศไทย 30440) จากนั้นมาทางหมู่บ้านหนองเต่าได้ทาการเลือกตั้งผู้นา
ชุมชน(ผู้ใหญ่บ้าน) มากปกครองหมู่บ้านปัญหามาจากจานวนประชากรที่เริ่มเพิ่ม
ขึ้นมามากเลื่อยๆ ซึ่งผู้ใหญ่บ้านคนแรกของหมู่บ้านหนองเต่ามีชื่อว่า นายเหมือน
(นามสกุลไม่ระบุไว้แน่ชัด) ต่อมาไม่นานทางราชการให้หมู่บ้านหนองเต่ามีวิทฐานะ
เป็นหมู่บ้านได้สมบูรณ์ ซึ่งหลายๆ ปีต่อมาได้มีผู้ใหญ่บ้านคนใหม่เข้ามารับ
ตาแหน่งหน้าที่จากผู้ใหญ่บ้านคนก่อน ตามลาดับดังนี้
ภาพที่ 1
หนองน้าหนองเต่า
ปัจจุบันตั้งอยู่ที่
บ้านหนองเต่า
ตาบลบึงพะไล
อาเภอแก้งสนามนาง
จังหวัดนครราชสีมา
ประเทศไทย
ต่อมาเมื่อมีประชากรเพิ่มขึ้นมาหลายๆ ครอบครัวแล้ว ชาวบ้านจึงคิดว่าถึงเวลาที่
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 3
บ้านหนองเต่า
๑.๒ ทานียบผู้ใหญ่บ้านบ้านหนองเต่า
นายเหมือน (นามสกุลไม่ระบุไว้แน่ชัด) นายฮาด วงษ์ชาลี
นายจันคาน บัวมาตร นายมา ปัดทุม
นายคามี คาประพันธ์ นายอูม ดวงสุพรรณ
ไม่มีรูปภาพชัดเจน
ไม่มีรูปภาพชัดเจน ไม่มีรูปภาพชัดเจน
ไม่มีรูปภาพชัดเจน
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 4
บ้านหนองเต่า
นายทองดี พันชมพู นายคาภีร์ จันทรเสาวพักคร์
นายอานวย มีธรรม นายทองดี ธุระธรรม
(ผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน)
ไม่มีรูปภาพชัดเจน
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 5
บ้านหนองเต่า
๒ สัญลักษณ์ทางภูมิศาสตร์
๒.๑ ที่ตั้ง
บ้านหนองเต่าปัจจุบันตั่งอยู่ หมู่ที่ ๙ ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง
จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย รหัสไปรษณีย์ ๓0๔๔0
ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ 15°40'45.21" N 102°14'25.15" E
๒.๒ อานาเขตของหมู่บ้านหนองเต่า
ติดต่อกับหมู่บ้านหนองขามน้อย หมู่บ้านศาลาหนองขอน ตาบลบึงพะไล
อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดต่อกับ
หมู่บ้านหนองบัวกอง ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง
จังหวัดนคคราชสีมา ทิศเหนือติดต่อกับหมู่บ้านหัวหนอง เทศบาลตาบลบึง
สาโรง อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ทิศเหนือติดต่อกับบ้านดง
บัง ตาบลห้วยยาง อาเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา
หมู่บ้านหนองเต่า อยู่ทางทิศใต้ของที่ว่าการอาเภอแก้งสนามนาง
มีระยะทางห่างจากที่ว่าการอาเภอแก้งสนามนาง ประมาณ ๙ กิโลเมตร
แล้วคนสมัยก่อนใช้อะไรเขียน
หรือเรียนหนังสือครับ
สมัยก่อนชาวบ้านเขาก็ใช้ก้อนถ่าน
เขียนไงจ๊ะ ส่วนหนังสือเรียนก็
เรียนจากหนังสือใบลานไงจ๊ะ
บ้าหนองเต่ามีอานาเขตติดต่อกับหลายหมู่บ้าน ดังนี้ ทิสตะวันออก
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 6
บ้านหนองเต่า
๓.๑ อาชีพ
ชาวบ้านหนองเต่า ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง
จังหวัดนครราชสีมา ส่วนใหญ่มีอาชีพ ทาไร่-ทานา บางครอบครัวก็ได้ไปใช้
แรงงานอยู่ที่เมืองหลวง แต่สมัยนี้ค่านิยมของการประกอบอาชีพของชาวบ้านก็
เริ่มที่จะหายไปกับทุนนิยม โดยต่างก็พากันขายไร่-ขายนา หรือทิ้งไร่-ทิ้งนา
ไปทางานหรือไปค้าขายในเมืองหลวงหากบางครอบครัวมีลูกเด็กเล็กแดงก็จะฝาก
ลูกฝากหลานไว้กับ ตา-ยาย กว่าจะเห็นหน้ากันก็จะเห็นในงานเทศกาลต่างๆ
ของชาวหรือในปีใหม่เท่านั้น
๓.๒ การศึกษา
าวบ้านหนองเต่า ส่วนใหญ่สมัยก่อนไม่ค่อยได้รับการศึกษา เป็นเหตุ
มาจากไม่มีสถานที่เรียนหนังสือหรือสถานที่เรียนหนังอยู่ห่างไกลจากหมู่จึงไม่ค่อย
มีคนสนใจที่จะศึกษา แต่ปัญหานี้ก็เริ่มหายไปหลังจากที่ชาวบ้านและผู้นาชุมได้
จัดตั้งโรงเรียนแห่งแรกประจาหมู่บ้านขึ้นอยู่ที่ศาลาวัดบ้านหนองเต่า เปิดสอนถึง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พอชาวบ้านส่วนจบการศึกษาจากชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
แล้ว ก็ไม่ได้รับการศึกษาอีกเลยจากนั้นไม่นาน นายอาเภอบัวใหญ่
ลืมบอกไปบ้านหนองเต่ายังมี
อากาศที่ดีมาก และชาวก็มีความ
เป็นกันเองมากด้วยคับ/ค่ะ
ช
ช
๓ ลักษณะทางวัฒนธรรม
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 7
บ้านหนองเต่า
จังหวัดนครราชสีมา ในสมัยนั้นได้ให้ความสาคัญแก่การศึกษาเป็นอย่างมากจึงได้
จัดตั้งโรงเรียนใกล้บ้านให้กับบ้านหนองเต่า โดยตั้งชื่อตามชื่อหมู่บ้านว่า
โรงเรียนบ้านหนองเต่า ชาวบ้านจึงได้รับการศึกษาอีกครั้ง ซึ่งปัจจุบันโรงเรียนบ้าน
หนองเต่าเปิดสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดอยู่ที่สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมาเขต 6 กระทรวงศึกษาธิการ
๓.๓ ศาสนา
ชาวบ้านหนองเต่านับถือศาสนาพุทธ ประมาณ 99.9 เปอร์เซ้นต์ และ
นับถือศาสนาคริสต์ ประมาณ 0.1 เปอร์เซ้นต์
๓.๔ ประเพณีและความเชื่อ
๓.๔.๑ ความเชื่อ นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งหมู่บ้านหนองเต่ามา ชาวบ้านจะมักจะมี
ความเชื่อกับสิ่งที่ไม่มีตัวตนหรือไม่สามารถสัมผัสได้ อาทิเช่น เชื่อในเรื่องไสย
ศาสตร์ เชื่อในเรื่องเครื่องรางของขลัง และอื่นอีมากมาย ชาวบ้านหนองเต่ายังมี
ความเชื่อที่แปลกมากมายและไม่สารมารถสัมผัสได้
หมายเหตุ โปรดใช้วิจารณญาณ์ในการอ่าน
๓.๔.๑ ประเพณีสาคัญของหมู่บ้านหนองเต่า
ประเพณีบุญเดือนหก(บุญบังไฟ) ชาวบ้านหนองเต่าเชื่อกันว่าเมื่อปีใดฝน
แล้งหรือสภาพอากาศไม่ดีชาวบ้านมักจะจุดบังไฟขอฝนจากพญาแทน ซึ่งมีการ
จัดเป็นทุกๆ ปี
อาคารหลังแรก
ของโรงเรียน
บ้านหนองเต่า
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 8
บ้านหนองเต่า
ประเพณีบวงสรวงปู่ตาเจ้าหนองหนองเต่า(หรือที่เรียกกันว่พิธีบวงสรวงสิ่ง
ศักดิ์ศิษย์ประจาหมู่บ้านหนองเต่า) การบวงสรวงปู่ตาเจ้าหนองหนองเต่าหรือสิ่ง
ศักดิ์ศิษย์ประจาหมู่บ้านมีการประเพณีปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยโบราณ ชึ่งชาวบ้าน
มีความเชื่อว่าสิ่งศักดิ์ศิษย์จะช่วยปกป้องคุ้มครองภัยให้กับตนเองและหมู่บ้าน
หมายเหตุ โปรดใช้วิจารณญาณ์ในการอ่าน
ประเพณีบุญมหาชาติ บุญมหาชาติมีชื่อเรียกอีอย่างหนึ่งว่าบุญพระเวชสันดร
บุญมหาชาติของหมู่บ้านหนองเต่าถือได้ว่าเป็นบุญประจาปีที่ทุกคนต้องเข้าวัด
เพื่อฟังเทศมหาชาติและทาบุญตักบาตร ซึ่งบุญมหาชาตินี้เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ
เรื่องราวสมัยพุทธกาล โดยมีจุดประสงค์ของการจัดประเพณีบุญมหาชาตินี้ คือ
การได้บริจาคสิ่งของหรือถวายสิ่งของให้กับศาสนา และชาวบ้านหนองเต่าเชื่อ
อีกว่าการได้บริจาคสิ่งของในประเพณีบุญมหาชาตินี้จะทาให้ได้เป็นส่วนหนึ่งกับ
องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
หมายเหตุ โปรดใช้วิจารณญาณ์ในการอ่าน
ประเพณีบุญกระยาสาท คือ บุญประจาปีประจาหมู่บ้าน เพื่อเป็นการอุทิศ
ส่วนบุญส่วนกุศลให้กับ บิดา-มารดา หรือญาติ ผู้ล่วงลับไปแล้วและมีความเชื่อ
อีกอย่างหนึ่งว่าเป็นการปลดปล่อยวิญาณให้ไปสู่สุคติ
หมายเหตุ โปรดใช้วิจารณญาณ์ในการอ่าน
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 9
บ้านหนองเต่า
๕ สภาพเศรษฐกิจภายในชุมชนของหมู่บ้านหนองเต่า
บ้านหนองเต่าเป็นบ้านที่มีสถานะเศรษฐกิจในระดับปานกลางถึงดีหรือดี
มาก โดยมีเพียงส่วนน้อยที่ไม่มีกินหรือไม่มีที่อยู่เลย หรืออาจหาไม่ได้ในหมู่บ้าน
หนองเต่าเลย
๖ การคมนาคม
๖.๑ การเดินทาง
ชาวบ้านหนองเต่าในสมัยก่อนใช้เกวียนเป็นภาหนะที่ใช้ในการสันจร
ไป-มา โดยใช้ โค – กระบือ ในการลากหรือใช้ในการขับเคลื่อน แต่สมัย
นี้ชาวบ้านได้เปลี่ยนค่านิยมในการใช้ภาหนะในการสันจรใหม่ เป็นการใช้
รถยนต์หรือรถกระบะแทนการใช้เกวียนเพราะมีความคล่องตัวสูงและ
เคลื่อนที่ได้เร็วกว่าเกวียน
๔ สภาพความเป็นอยู่ทั่วไปและจุดเด่นของชาวบ้านหนองเต่า
ชาวบ้านหนองเต่ามีความเป็นอยู่ที่เป็นปานกลางคือไม่ดีมากหรือลาบากจนเกินไป
ส่วนใหญ่ชาวบ้านหนองจะมีครอบครัวที่ใหญ่มีญาติมิตรหรือเป็นพี่เป็นน้องกันทั้งหมู่บ้านจึง
ทาให้ชาวบ้านหนองเต่ามีความสะดวกสบายในด้านต่างๆ ไม่ว่า อาหารการกิน ของใช้
เบ็ดเตล็ดต่างๆ และมากเป็นกว่านั้นการมีน้าใจของชาวบ้าน ก็คือเมื่อเวลาชาวบ้านใกล้
เรือนเคียงมีการจัดงานอุปสมบทหรืองานมงคลต่างๆ ก็จะมีชาวบ้านอีกส่วนที่เป็นทั้งญาติ
และคนใกล้มาช่วยงานกันอย่างคับคลัง โดยที่เป็นจาเป็นต้องมีคนเรียกมาช่วยงานแต่
ชาวบ้านทุกคนมาช่วยงานด้วยความเต็มถึงแม้จะต้องเสียเวลาในการทามาหากินชาวบ้าน
หนองเต่าก็ไม่เคยบ่นว่าเลยหรือและถึงแม้จะมีรางวัลตอบแทนใดๆ ให้กับชาวบ้านแต่ก็ไม่
เรื่องสาคญสาหรับชาวบ้านเพราะชาวบ้านยึดคาว่า “การมีน้าใจเพื่อนมนุษย์และความ
เสียสละ” ดังนั้นเมื่อมีชาวบ้านต่างถิ่นหรือแขกเข้ามาเยี่ยมชมหมู่บ้านคาแรกที่เขากล่าว
ก่อนกลับส่วนใหญ่มักจะกล่าวคาว่า “ชาวบ้านหนองเต่าเป็นคนที่มีมิตรไมตรีเป็นเลิศจริงๆ
และมีน้าใจมาก”
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 10
บ้านหนองเต่า
๖.๒ เส้นทางการติดต่อ
ชาวบ้านหนองเต่าติดต่อค้าขายและสันจรไปมา โดยเดินทางผ่าน
การเดินทางทางบก เหตุผลที่ต้องเดินติดต่อค้าขายบกก็คือ
ชาวบ้านหนองเต่าไม่มีทางเลือในการเลือกใช้ทางสันจร เพราะเป็นหมู่บ้านที่
อยู่ห่างไกลจากแม่น้าหรือลาครองต่างๆ มีก็แต่ห้วยน้าเล็กใช้สาหรับทามา
หากินเท่านั้นไม่สามารถใช้เป็นเส้นทางการติอต่อค้าขายหรือสัรจรได้
๗ ปราชญ์ชาวบ้าน(ภูมิปัญญาท้องถิ่น)
นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งหมู่บ้านหนองเต่าขึ้นมา ชาวบ้านก็มีความคิดริเริ่มที่จะ
สร้างสรรค์สิ่งของต่างๆ เพื่อนามาใช้ในชีวิตประจาวัน จึงเกิดเป็นภูมิปัญญาประจา
ท้องถิ่นของหมู่บ้านหนองเต่า
การทาอุปกรณ์ต่างๆ หรืออุปกรณ์ที่ใช้ทามาหากิน อาทิเช่น อุปกรณ์ที่ใช้ใน
การจับปลา จนไปถึงยาสมุนไพรของชาวบ้าน ที่นาเอาพืชชนิดต่างมาสกัดเป็นยา
รักษาโรค ซึ่งพืชที่เป็นตัวยานั้นก็สามารถหาได้ง่ายตามท้องถิ่น
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 11
บ้านหนองเต่า
ดังนั้นก็จะสามารถสรุปได้ว่าชาวบ้านหนองเต่ามีความเชียวชาญในด้านการ
สร้างสรรค์อุปกรณ์ทามาหากินและการนาพืชมาสกัดเป็นยาสมุนไพรรักษาโรค
โดยที่ไม่ต้องพึ่งพาอาศัยเทคโนโลยีที่สินเปลือง
๘ แหล่งน้า/ทรัพยากรธรรมชาติ
บ้านหนองเต่ามีแหล่งน้าอยู่หลายแห่งด้วยกันทั้งที่เป็นแหล่งน้าที่ใช้เป็น
แหล่งน้าสาหรับอุปโภคบริโภคและแหล่งน้าที่ใช้สาหรับทามาหากินก็หลายแห่ง
เช่นกัน ชาวบ้านหนองเต่าอาศัยน้าเพื่อที่ใช้อุปโภคบริโภคโดยอาศัยน้าจาก
หนองน้าหนองเต่า เพราะมีน้าใสสะอาดไม่เหมือนหนองน้าอื่นๆ ที่เป็นแหล่งน้า
ทามาหากินก็มีสีน้าที่ขุ่นมาก
สรุปได้ว่าแหล่งประจาหมู่บ้านหนองเต่านั้นมีอยู่หลายแห่ง และมีแหล่งน้าที่
สาคัญ ๆ ชื่อว่าหนองน้าหนองเต่า ซึ่งเป็นหนองน้าที่ใช้เป็นแห่งอุปโภคบริโภค
๙ จานวนประชากร
บ้านหนองเต่ามีจานวนครัวเรือนประชากรทั้งหมด 147 ครัวเรือน
มีประชากรทั้งหมด 759 คน แบ่งเป็น
ชาย 388 คน
หญิง 371 คน
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 12
บ้านหนองเต่า
ภาคผนวก
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 13
บ้านหนองเต่า
๑0 การเปลี่ยนและการพัฒนาของหมู่บ้านหนองเต่า
บ้านหนองเต่าได้แยกออกเป็นหมู่บ้านอีกหลายหมุ่บ้านดังนี้ แยกออกเป็นหมู่บ้าน
หนองโพธิ์ หมู่ที่ 10 และบ้านหนองเต่าพัฒนาหรือบ้านหนองเต่าใหม่ หมู่ที่ 15
อันเป็นผลมาจากประชากรในหมู่บ้านมีจานวนมากขึ้นเป็นหลายเท่าตัวของคน
สมัยก่อนและที่อยู่อาศัยมีจานวนน้อยไม่พอกับการอยู่อาศัยจึงต้องมีการเพิ่ม
จานวนของที่อยู่อาศัยพอจานวนที่อยาอาศัยมีจานวนมากขึ้นแล้วทางผู้ใหญ่จึงมี
ข้อตกลงกันว่าจาเป็นต้องแยกหมู่บ้านเพิ่มขึ้น
๑๑ สถานที่ท่องเที่ยวไกล้หมู่บ้านหนองเต่า
๑ ทุ้งดอกจานบาน เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงออนุรักษ์ที่อยู่ม่ไกล้ไม่ไกล
จากหมู่บ้านมากเท่าไรนัก ทุ่งดอกจานตั้งอยู่ที่ อาเภอแก้งสนามนาง
จังหวัดนครราชสีมา
๒ ประสาทหินพิมาย ประสาทหินพิมายเป็นสถานที่ที่มีความสาคัญตั้งแต่
สมัยโบราณและได้ถือว่าเป็นมรกดกโลกอีกอย่างหนึ่ง ประสาทหินพิมายตั้งอยู่ที่
อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา
การเปลี่ยนแปลงของหมู่บ้าหนองเต่าตั้งแต่เริ่มสร้างหมู่บ้านจนถึงปัจจุบัน
สถานที่ท่องเที่ยวไกล้หมู่บ้าหนองเต่ามีดังนี้
ภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต ที่มา : http://www.learners.in.th/blogs/posts/409257
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 14
บ้านหนองเต่า
๑๒ บุคคลสาคัญและบุคคลตัวอย่างในชุใชน
บุคคลที่สร้างชื่อเสียงให้กับหมู่บ้านหนองเต่ามีอยู่หลายคนหลายอาชีพ
ดังจะยกตัวอย่างดังต่อไปนี้
๑ ส.ส.สุชาติ ภิญโญ
๒ สจ.สมชาย ภิญโญ
๑๓ แหล่งเรียนรู้/สถานที่อบรมขัดเกลาอุปนิสัย
หมู่บ้านหนองเต่ามีแหล่งเรียนรู้และสถานที่อบรมขัดเกลาอุปนิสัย
อยู่ด้วยกันหลายแห่งเช่นกัน อาทิ
๑๓.๑ วัด วัดเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านและเป็นที่ขัดเกลา
อุปนิสัยของชาวบ้านและในสมัยก่อนวัดบ้านหนองเต่าได้เป็นทั้งสถานที่
ศึกษา รวททั้งสถานที่พักอาศัยของชาวในยามวิกาล และยังเป็นสถานที่ที่ใช้
จัดงานสาคัญๆได้งานตามความจาเป็น
๑๓..๒ โรงเรียน บ้านหนองเต่าในสถานะปัจจุบันได้มีการจัดตั้ง
โรงเรียนบ้านหนองเต่า เป็นโรงเรียนประจาหมู่บ้านแทนโรงเรียนแห่งเดิมที่
อาศัยศาลาการเปรียนของวัดบ้านหนองเต่าเป็นสถานที่ใช้เรียนหนังสือ โดย
ในปัจจุบันโรงเรียนบ้านหนองเต่าได้เปิดสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เป็น
โรงเรียนขยายอาสทางการศึกษาที่พรั่งพร้อมไปด้วยบุคลลากรและอาคาร
สถานที่ต่างๆ
๑๓.๓ ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนบ้านหนองเต่า
-บ้านหนองโพธิ์-บ้านหนองเต่าพัฒนา ศูนย์พัฒนาเด็กฯเป็นสถานที่อีกแห่ง
หนึ่งที่ช่วยอบรมและขัดเกลาอุปนิส้ย โดยเป็นความรวมมือระหว่าหมู่บ้าน
หนองเต่าและองค์การบริหารส่วนตาบลบึงพะไลในการจัดตั้งขึ้น โดยมี
จุดประสงค์ในการก่อตั้งคือช่วยแบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง และช่วยอบรมและ
ขัดเกลาอุปนิสัยของเด็กก่อนที่จะได้รับการศึกษาที่สูงขึ้นในระดับชั้นต่อไป
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 15
บ้านหนองเต่า
๑๔ ภาพบรรยากาศต่างๆของหมู่บ้าหนองเต่า
ภาพที่ 2 ภาพการทามาหากินของชาวบ้านหนองเต่า
แล้วบ้านหนองเต่ามี
สวนธารณะประหมู่บ้าน
ไหมครับ
มีสิจ๊ะน้อง บ้าน
หนองเต่าก็มี
สวนธารณะประจา
หมู่บ้านเหมือนกัน
ดีจังคับ คงจะอากาศ
ร่มรืนดีมากนะครับ
ใช่จ๊ะ
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 16
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 3-4 ภาพทางเข้าหมู่บ้านหนองเต่า
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 17
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 5 การเลี้ยงสัตว์เพื่อการขาย ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งของชาวบ้าน
ภาพที่ 6 บรรยากาศตอนเย็นๆ ที่ริมหนองเต่า
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 18
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 6 อาคารหลังแรกของโรงเรียนบ้านหนองเต่า(โรงเรียนแห่งปัจจุบัน)
ภาพที่ 7 บรรยากาศทุ่งนาตอนชาวที่บ้านหนองเต่า
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 19
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 8 สบาพเรือนของคนในชุมชน
ภาพที่ 9 ชาวบ้านยังคงใช้รถไถนาเดินตามเป็นภาหนะสันจรไปมาเหมือนยังสมัยก่อน
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 20
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 10 ภาพจาลองอาคารหลังแรกของโรงเรียนบ้านหนองเต่าที่อาศัย
ศาลาวัดบ้าหนองเต่าเป็นอาคารสาหรับทาการเรียนการสอน
ภาพที่ 11 ภาพบรรยากาศของชาวบ้านที่พาลูกหลานเป็นไหนมาไหนด้วยซึ่ง
แสดงว่าพ่อแม่ไม่เคยทอดทิ้งลูกและนี่ก็เป็นอีกอย่างที่ชาวบ้านหนองเต่าทาเป็น
ประจา
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 21
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 12 ป่าไม้อันร่มรื่นของบ้านหนองเต่าซึ่งเป็นป่าไม้ที่ชาวบ้านอนุรักษ์
ไว้ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
ภาพที่ 13 ภาพการทานาขอชาวบ้านหนองเต่าในปัจจุบัน ยังยึดหลักวิถี
การทานาเหมือนสมัยก่อน
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 22
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 14 ภาพการทานาเป็นอาชีพหลักในงานทามาหากินของชาวบ้าน
หนองเต่าในปัจจุบัน
ภาพที่ 15 สภาพบ้านเรือนของชาวบ้านหนองเต่า เมื่อ 2 ปีที่แล้ว
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 23
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 16 พระอาทิตย์ตกที่ริมหนองเต่า : ถ่ายโดย สิทธิชัย ปุริมาโน
ภาพที่ 17 ท้องฟ้าสวยเหนือริมน้าหนองเต่า :ถ่ายที่บ้านหนองเต่า
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 24
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 18 แผนที่อย่างไม่เป็นทางการของหมู่บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 19 ภาพถ่ายทางอากาศของผมู่บ้านหนองเต่า จ.นครราชสีมา
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 25
บ้านหนองเต่า
บอกเล่าเรื่องเต่า
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 26
บ้านหนองเต่า
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 27
บ้านหนองเต่า
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 28
บ้านหนองเต่า
บรรณานุกรม
ขอบคุณข้อมูลบ้าหนองเต่า
ผู้ใหญ่บ้านหนองเต่าคนปัจจุบัน
ผู้ใหญ๋บ้านหนองโพธิ์คนปัจจุบัน
ผู้ใหญ่บ้านหนองเต่าพัฒนา
ขอบคุณภาพถ่ายจาก ด.ช.สิทธิชัย ปุริมาโน และด.ญ.นันทิดา ปัดทุม
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 29
บ้านหนองเต่า

More Related Content

What's hot

7 วันใน 1สัปดาห์
7 วันใน 1สัปดาห์7 วันใน 1สัปดาห์
7 วันใน 1สัปดาห์tooktik40
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
Nontaporn Pilawut
 
บทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชาบทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชา-sky Berry
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
Sircom Smarnbua
 
แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
Kruphat SriSuk
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
Krusupharat
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
Sherry Srwchrp
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
Padvee Academy
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
kruthai40
 
เรื่องราวในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่สำหรับเด็ก - สมุดระบายสี
เรื่องราวในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่สำหรับเด็ก - สมุดระบายสีเรื่องราวในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่สำหรับเด็ก - สมุดระบายสี
เรื่องราวในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่สำหรับเด็ก - สมุดระบายสี
FreeChildrenStories
 
บทคัดย่อ โครงงานIS3
บทคัดย่อ โครงงานIS3 บทคัดย่อ โครงงานIS3
บทคัดย่อ โครงงานIS3 Akawid Puangkeaw
 
การประเมินนวัตกรรมสื่อออนไลน์อาชีวศึกษา
การประเมินนวัตกรรมสื่อออนไลน์อาชีวศึกษาการประเมินนวัตกรรมสื่อออนไลน์อาชีวศึกษา
การประเมินนวัตกรรมสื่อออนไลน์อาชีวศึกษา
Prachyanun Nilsook
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
Patzuri Orz
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
Wan Wan
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ณัฐพล บัวพันธ์
 
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสันทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
7roommate
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
Nattakarntick
 

What's hot (20)

7 วันใน 1สัปดาห์
7 วันใน 1สัปดาห์7 วันใน 1สัปดาห์
7 วันใน 1สัปดาห์
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
บทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชาบทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชา
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
เรื่องราวในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่สำหรับเด็ก - สมุดระบายสี
เรื่องราวในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่สำหรับเด็ก - สมุดระบายสีเรื่องราวในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่สำหรับเด็ก - สมุดระบายสี
เรื่องราวในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่สำหรับเด็ก - สมุดระบายสี
 
บทคัดย่อ โครงงานIS3
บทคัดย่อ โครงงานIS3 บทคัดย่อ โครงงานIS3
บทคัดย่อ โครงงานIS3
 
การประเมินนวัตกรรมสื่อออนไลน์อาชีวศึกษา
การประเมินนวัตกรรมสื่อออนไลน์อาชีวศึกษาการประเมินนวัตกรรมสื่อออนไลน์อาชีวศึกษา
การประเมินนวัตกรรมสื่อออนไลน์อาชีวศึกษา
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสันทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
 

Viewers also liked

ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDocใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDocKruorawan Kongpila
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
loveonlyone
 
งานนำเสนอ1สารนี
งานนำเสนอ1สารนีงานนำเสนอ1สารนี
งานนำเสนอ1สารนีnarinpang
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theoriesjeerawan_l
 
5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชน
5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชน5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชน
5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชนWatcharin Chongkonsatit
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดSiriluk Singka
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
Suradet Sriangkoon
 

Viewers also liked (16)

ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDocใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
 
งานนำเสนอ1สารนี
งานนำเสนอ1สารนีงานนำเสนอ1สารนี
งานนำเสนอ1สารนี
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
4
44
4
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theories
 
5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชน
5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชน5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชน
5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชน
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
 
ทดสอบเด็กป2
ทดสอบเด็กป2ทดสอบเด็กป2
ทดสอบเด็กป2
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
 
2
22
2
 
3
33
3
 
5
55
5
 

Similar to ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า

เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงloveonlyone
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการfufee
 
หมู่ 6ส
หมู่ 6สหมู่ 6ส
หมู่ 6สbawtho
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
Tum Meng
 
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านเล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
หรร 'ษๅ
 
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินเล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
Choengchai Rattanachai
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
Thanawut Rattanadon
 
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญเล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
หรร 'ษๅ
 
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1ดุซงญอ ตำบล
 
พระสามพี่น้อง
พระสามพี่น้องพระสามพี่น้อง
พระสามพี่น้อง
supakitza
 
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยองประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยองJariya Bankhuntod
 
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
หรร 'ษๅ
 

Similar to ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า (15)

File
FileFile
File
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการ
 
7
77
7
 
หมู่ 6ส
หมู่ 6สหมู่ 6ส
หมู่ 6ส
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
 
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านเล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
 
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินเล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญเล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
 
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
 
พระสามพี่น้อง
พระสามพี่น้องพระสามพี่น้อง
พระสามพี่น้อง
 
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยองประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
 
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
 
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัวหนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า

  • 1. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 1 บ้านหนองเต่า ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า ได้มีครอบครัวผู้อพยบประมาณ ๓ ครอบครัวได้อพยบเดินทางรอนแรมมาจาก อาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคามเพื่อหาทาเลที่ตั้งในการลงหลักปักฐานสร้างที่อยู่ และที่ทามาหากินแห่งใหม่โดยได้เดินทางรอนแรมมาถึงบริเวณที่ตั้งของหมู่บ้าน หนองเต่าในปัจจุบัน โดยในสมัยนั้นมีหนองน้าขนาดใหญ่ซึ่งเป็นที่กล่าวนามใน สมัยนี้ว่าหนองน้าหนองเต่า จึงได้ตกลงปรงใจพากันปักหลักปักฐานอยู่ที่นี้และได้ ถางป่าทาที่อยู่อาศัยและทาการเกษตรใกล้กับหนองน้า เมื่อเด็กไปเล่นในหนอง น้าและบังเอิญได้เจอเต่าจึงได้จับเต่ามาให้ผู้ใหญ่ดู โดยผู้สูงอายุได้ถามเด็กว่าไป จับเต่ามาแต่ใหน พวกเด็กๆ จึงตอบว่าจับมาจากหนองน้า ซึ่งในหนองน้านั้นมี เต่ามาก จึงเป็นที่มาให้ชาวบ้านกล่าวนามหนองน้านั้นว่า “หนองเต่า” ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย 30440 ๑ ความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า ตามคาบอกกล่าวของผู้สูงอายุในชุมชนพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า เมื่อประมาณ พ.ศ.๒๔๗๔ แล้วตอนนี้ยังมีเต่าให้ เราเห็นอยู่ไหมค่ะ อ่อตอนนี้เต่าที่อยู่ในหนองเต่าได้สูญพันธุ์ หมดแล้ว เหลือก็แต่เต่าที่ชาวบ้านเอามา ปล่อยไว้เท่านั้นแหละจ๊ะ และก็มีรูปปั่น เต่าที่ชาวและวัดบ้านหนองเต่าได้ปั่นขึ้น เพื่อเป็นอนุสรณ์ไว้ที่วัดบ้านหนองเต่าจ๊ะ
  • 2. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 2 บ้านหนองเต่า จะเรียกว่าหมู่บ้านแล้วจึงได้เรียกชื่อหมู่บ้านตามชื่อหนองน้าประจาหมู่บ้านนั้นว่า หมู่บ้านหนองเต่า และได้เรียกมาจนถึงปัจจุบัน (ปัจจุบันหมู่บ้านหนองเต่าตั้งอยู่ ที่ หมู่ที่ 9 ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย 30440) จากนั้นมาทางหมู่บ้านหนองเต่าได้ทาการเลือกตั้งผู้นา ชุมชน(ผู้ใหญ่บ้าน) มากปกครองหมู่บ้านปัญหามาจากจานวนประชากรที่เริ่มเพิ่ม ขึ้นมามากเลื่อยๆ ซึ่งผู้ใหญ่บ้านคนแรกของหมู่บ้านหนองเต่ามีชื่อว่า นายเหมือน (นามสกุลไม่ระบุไว้แน่ชัด) ต่อมาไม่นานทางราชการให้หมู่บ้านหนองเต่ามีวิทฐานะ เป็นหมู่บ้านได้สมบูรณ์ ซึ่งหลายๆ ปีต่อมาได้มีผู้ใหญ่บ้านคนใหม่เข้ามารับ ตาแหน่งหน้าที่จากผู้ใหญ่บ้านคนก่อน ตามลาดับดังนี้ ภาพที่ 1 หนองน้าหนองเต่า ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ บ้านหนองเต่า ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย ต่อมาเมื่อมีประชากรเพิ่มขึ้นมาหลายๆ ครอบครัวแล้ว ชาวบ้านจึงคิดว่าถึงเวลาที่
  • 3. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 3 บ้านหนองเต่า ๑.๒ ทานียบผู้ใหญ่บ้านบ้านหนองเต่า นายเหมือน (นามสกุลไม่ระบุไว้แน่ชัด) นายฮาด วงษ์ชาลี นายจันคาน บัวมาตร นายมา ปัดทุม นายคามี คาประพันธ์ นายอูม ดวงสุพรรณ ไม่มีรูปภาพชัดเจน ไม่มีรูปภาพชัดเจน ไม่มีรูปภาพชัดเจน ไม่มีรูปภาพชัดเจน
  • 4. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 4 บ้านหนองเต่า นายทองดี พันชมพู นายคาภีร์ จันทรเสาวพักคร์ นายอานวย มีธรรม นายทองดี ธุระธรรม (ผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน) ไม่มีรูปภาพชัดเจน
  • 5. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 5 บ้านหนองเต่า ๒ สัญลักษณ์ทางภูมิศาสตร์ ๒.๑ ที่ตั้ง บ้านหนองเต่าปัจจุบันตั่งอยู่ หมู่ที่ ๙ ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย รหัสไปรษณีย์ ๓0๔๔0 ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ 15°40'45.21" N 102°14'25.15" E ๒.๒ อานาเขตของหมู่บ้านหนองเต่า ติดต่อกับหมู่บ้านหนองขามน้อย หมู่บ้านศาลาหนองขอน ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดต่อกับ หมู่บ้านหนองบัวกอง ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนคคราชสีมา ทิศเหนือติดต่อกับหมู่บ้านหัวหนอง เทศบาลตาบลบึง สาโรง อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ทิศเหนือติดต่อกับบ้านดง บัง ตาบลห้วยยาง อาเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา หมู่บ้านหนองเต่า อยู่ทางทิศใต้ของที่ว่าการอาเภอแก้งสนามนาง มีระยะทางห่างจากที่ว่าการอาเภอแก้งสนามนาง ประมาณ ๙ กิโลเมตร แล้วคนสมัยก่อนใช้อะไรเขียน หรือเรียนหนังสือครับ สมัยก่อนชาวบ้านเขาก็ใช้ก้อนถ่าน เขียนไงจ๊ะ ส่วนหนังสือเรียนก็ เรียนจากหนังสือใบลานไงจ๊ะ บ้าหนองเต่ามีอานาเขตติดต่อกับหลายหมู่บ้าน ดังนี้ ทิสตะวันออก
  • 6. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 6 บ้านหนองเต่า ๓.๑ อาชีพ ชาวบ้านหนองเต่า ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ส่วนใหญ่มีอาชีพ ทาไร่-ทานา บางครอบครัวก็ได้ไปใช้ แรงงานอยู่ที่เมืองหลวง แต่สมัยนี้ค่านิยมของการประกอบอาชีพของชาวบ้านก็ เริ่มที่จะหายไปกับทุนนิยม โดยต่างก็พากันขายไร่-ขายนา หรือทิ้งไร่-ทิ้งนา ไปทางานหรือไปค้าขายในเมืองหลวงหากบางครอบครัวมีลูกเด็กเล็กแดงก็จะฝาก ลูกฝากหลานไว้กับ ตา-ยาย กว่าจะเห็นหน้ากันก็จะเห็นในงานเทศกาลต่างๆ ของชาวหรือในปีใหม่เท่านั้น ๓.๒ การศึกษา าวบ้านหนองเต่า ส่วนใหญ่สมัยก่อนไม่ค่อยได้รับการศึกษา เป็นเหตุ มาจากไม่มีสถานที่เรียนหนังสือหรือสถานที่เรียนหนังอยู่ห่างไกลจากหมู่จึงไม่ค่อย มีคนสนใจที่จะศึกษา แต่ปัญหานี้ก็เริ่มหายไปหลังจากที่ชาวบ้านและผู้นาชุมได้ จัดตั้งโรงเรียนแห่งแรกประจาหมู่บ้านขึ้นอยู่ที่ศาลาวัดบ้านหนองเต่า เปิดสอนถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พอชาวบ้านส่วนจบการศึกษาจากชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 แล้ว ก็ไม่ได้รับการศึกษาอีกเลยจากนั้นไม่นาน นายอาเภอบัวใหญ่ ลืมบอกไปบ้านหนองเต่ายังมี อากาศที่ดีมาก และชาวก็มีความ เป็นกันเองมากด้วยคับ/ค่ะ ช ช ๓ ลักษณะทางวัฒนธรรม
  • 7. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 7 บ้านหนองเต่า จังหวัดนครราชสีมา ในสมัยนั้นได้ให้ความสาคัญแก่การศึกษาเป็นอย่างมากจึงได้ จัดตั้งโรงเรียนใกล้บ้านให้กับบ้านหนองเต่า โดยตั้งชื่อตามชื่อหมู่บ้านว่า โรงเรียนบ้านหนองเต่า ชาวบ้านจึงได้รับการศึกษาอีกครั้ง ซึ่งปัจจุบันโรงเรียนบ้าน หนองเต่าเปิดสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดอยู่ที่สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมาเขต 6 กระทรวงศึกษาธิการ ๓.๓ ศาสนา ชาวบ้านหนองเต่านับถือศาสนาพุทธ ประมาณ 99.9 เปอร์เซ้นต์ และ นับถือศาสนาคริสต์ ประมาณ 0.1 เปอร์เซ้นต์ ๓.๔ ประเพณีและความเชื่อ ๓.๔.๑ ความเชื่อ นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งหมู่บ้านหนองเต่ามา ชาวบ้านจะมักจะมี ความเชื่อกับสิ่งที่ไม่มีตัวตนหรือไม่สามารถสัมผัสได้ อาทิเช่น เชื่อในเรื่องไสย ศาสตร์ เชื่อในเรื่องเครื่องรางของขลัง และอื่นอีมากมาย ชาวบ้านหนองเต่ายังมี ความเชื่อที่แปลกมากมายและไม่สารมารถสัมผัสได้ หมายเหตุ โปรดใช้วิจารณญาณ์ในการอ่าน ๓.๔.๑ ประเพณีสาคัญของหมู่บ้านหนองเต่า ประเพณีบุญเดือนหก(บุญบังไฟ) ชาวบ้านหนองเต่าเชื่อกันว่าเมื่อปีใดฝน แล้งหรือสภาพอากาศไม่ดีชาวบ้านมักจะจุดบังไฟขอฝนจากพญาแทน ซึ่งมีการ จัดเป็นทุกๆ ปี อาคารหลังแรก ของโรงเรียน บ้านหนองเต่า
  • 8. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 8 บ้านหนองเต่า ประเพณีบวงสรวงปู่ตาเจ้าหนองหนองเต่า(หรือที่เรียกกันว่พิธีบวงสรวงสิ่ง ศักดิ์ศิษย์ประจาหมู่บ้านหนองเต่า) การบวงสรวงปู่ตาเจ้าหนองหนองเต่าหรือสิ่ง ศักดิ์ศิษย์ประจาหมู่บ้านมีการประเพณีปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยโบราณ ชึ่งชาวบ้าน มีความเชื่อว่าสิ่งศักดิ์ศิษย์จะช่วยปกป้องคุ้มครองภัยให้กับตนเองและหมู่บ้าน หมายเหตุ โปรดใช้วิจารณญาณ์ในการอ่าน ประเพณีบุญมหาชาติ บุญมหาชาติมีชื่อเรียกอีอย่างหนึ่งว่าบุญพระเวชสันดร บุญมหาชาติของหมู่บ้านหนองเต่าถือได้ว่าเป็นบุญประจาปีที่ทุกคนต้องเข้าวัด เพื่อฟังเทศมหาชาติและทาบุญตักบาตร ซึ่งบุญมหาชาตินี้เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ เรื่องราวสมัยพุทธกาล โดยมีจุดประสงค์ของการจัดประเพณีบุญมหาชาตินี้ คือ การได้บริจาคสิ่งของหรือถวายสิ่งของให้กับศาสนา และชาวบ้านหนองเต่าเชื่อ อีกว่าการได้บริจาคสิ่งของในประเพณีบุญมหาชาตินี้จะทาให้ได้เป็นส่วนหนึ่งกับ องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า หมายเหตุ โปรดใช้วิจารณญาณ์ในการอ่าน ประเพณีบุญกระยาสาท คือ บุญประจาปีประจาหมู่บ้าน เพื่อเป็นการอุทิศ ส่วนบุญส่วนกุศลให้กับ บิดา-มารดา หรือญาติ ผู้ล่วงลับไปแล้วและมีความเชื่อ อีกอย่างหนึ่งว่าเป็นการปลดปล่อยวิญาณให้ไปสู่สุคติ หมายเหตุ โปรดใช้วิจารณญาณ์ในการอ่าน
  • 9. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 9 บ้านหนองเต่า ๕ สภาพเศรษฐกิจภายในชุมชนของหมู่บ้านหนองเต่า บ้านหนองเต่าเป็นบ้านที่มีสถานะเศรษฐกิจในระดับปานกลางถึงดีหรือดี มาก โดยมีเพียงส่วนน้อยที่ไม่มีกินหรือไม่มีที่อยู่เลย หรืออาจหาไม่ได้ในหมู่บ้าน หนองเต่าเลย ๖ การคมนาคม ๖.๑ การเดินทาง ชาวบ้านหนองเต่าในสมัยก่อนใช้เกวียนเป็นภาหนะที่ใช้ในการสันจร ไป-มา โดยใช้ โค – กระบือ ในการลากหรือใช้ในการขับเคลื่อน แต่สมัย นี้ชาวบ้านได้เปลี่ยนค่านิยมในการใช้ภาหนะในการสันจรใหม่ เป็นการใช้ รถยนต์หรือรถกระบะแทนการใช้เกวียนเพราะมีความคล่องตัวสูงและ เคลื่อนที่ได้เร็วกว่าเกวียน ๔ สภาพความเป็นอยู่ทั่วไปและจุดเด่นของชาวบ้านหนองเต่า ชาวบ้านหนองเต่ามีความเป็นอยู่ที่เป็นปานกลางคือไม่ดีมากหรือลาบากจนเกินไป ส่วนใหญ่ชาวบ้านหนองจะมีครอบครัวที่ใหญ่มีญาติมิตรหรือเป็นพี่เป็นน้องกันทั้งหมู่บ้านจึง ทาให้ชาวบ้านหนองเต่ามีความสะดวกสบายในด้านต่างๆ ไม่ว่า อาหารการกิน ของใช้ เบ็ดเตล็ดต่างๆ และมากเป็นกว่านั้นการมีน้าใจของชาวบ้าน ก็คือเมื่อเวลาชาวบ้านใกล้ เรือนเคียงมีการจัดงานอุปสมบทหรืองานมงคลต่างๆ ก็จะมีชาวบ้านอีกส่วนที่เป็นทั้งญาติ และคนใกล้มาช่วยงานกันอย่างคับคลัง โดยที่เป็นจาเป็นต้องมีคนเรียกมาช่วยงานแต่ ชาวบ้านทุกคนมาช่วยงานด้วยความเต็มถึงแม้จะต้องเสียเวลาในการทามาหากินชาวบ้าน หนองเต่าก็ไม่เคยบ่นว่าเลยหรือและถึงแม้จะมีรางวัลตอบแทนใดๆ ให้กับชาวบ้านแต่ก็ไม่ เรื่องสาคญสาหรับชาวบ้านเพราะชาวบ้านยึดคาว่า “การมีน้าใจเพื่อนมนุษย์และความ เสียสละ” ดังนั้นเมื่อมีชาวบ้านต่างถิ่นหรือแขกเข้ามาเยี่ยมชมหมู่บ้านคาแรกที่เขากล่าว ก่อนกลับส่วนใหญ่มักจะกล่าวคาว่า “ชาวบ้านหนองเต่าเป็นคนที่มีมิตรไมตรีเป็นเลิศจริงๆ และมีน้าใจมาก”
  • 10. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 10 บ้านหนองเต่า ๖.๒ เส้นทางการติดต่อ ชาวบ้านหนองเต่าติดต่อค้าขายและสันจรไปมา โดยเดินทางผ่าน การเดินทางทางบก เหตุผลที่ต้องเดินติดต่อค้าขายบกก็คือ ชาวบ้านหนองเต่าไม่มีทางเลือในการเลือกใช้ทางสันจร เพราะเป็นหมู่บ้านที่ อยู่ห่างไกลจากแม่น้าหรือลาครองต่างๆ มีก็แต่ห้วยน้าเล็กใช้สาหรับทามา หากินเท่านั้นไม่สามารถใช้เป็นเส้นทางการติอต่อค้าขายหรือสัรจรได้ ๗ ปราชญ์ชาวบ้าน(ภูมิปัญญาท้องถิ่น) นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งหมู่บ้านหนองเต่าขึ้นมา ชาวบ้านก็มีความคิดริเริ่มที่จะ สร้างสรรค์สิ่งของต่างๆ เพื่อนามาใช้ในชีวิตประจาวัน จึงเกิดเป็นภูมิปัญญาประจา ท้องถิ่นของหมู่บ้านหนองเต่า การทาอุปกรณ์ต่างๆ หรืออุปกรณ์ที่ใช้ทามาหากิน อาทิเช่น อุปกรณ์ที่ใช้ใน การจับปลา จนไปถึงยาสมุนไพรของชาวบ้าน ที่นาเอาพืชชนิดต่างมาสกัดเป็นยา รักษาโรค ซึ่งพืชที่เป็นตัวยานั้นก็สามารถหาได้ง่ายตามท้องถิ่น
  • 11. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 11 บ้านหนองเต่า ดังนั้นก็จะสามารถสรุปได้ว่าชาวบ้านหนองเต่ามีความเชียวชาญในด้านการ สร้างสรรค์อุปกรณ์ทามาหากินและการนาพืชมาสกัดเป็นยาสมุนไพรรักษาโรค โดยที่ไม่ต้องพึ่งพาอาศัยเทคโนโลยีที่สินเปลือง ๘ แหล่งน้า/ทรัพยากรธรรมชาติ บ้านหนองเต่ามีแหล่งน้าอยู่หลายแห่งด้วยกันทั้งที่เป็นแหล่งน้าที่ใช้เป็น แหล่งน้าสาหรับอุปโภคบริโภคและแหล่งน้าที่ใช้สาหรับทามาหากินก็หลายแห่ง เช่นกัน ชาวบ้านหนองเต่าอาศัยน้าเพื่อที่ใช้อุปโภคบริโภคโดยอาศัยน้าจาก หนองน้าหนองเต่า เพราะมีน้าใสสะอาดไม่เหมือนหนองน้าอื่นๆ ที่เป็นแหล่งน้า ทามาหากินก็มีสีน้าที่ขุ่นมาก สรุปได้ว่าแหล่งประจาหมู่บ้านหนองเต่านั้นมีอยู่หลายแห่ง และมีแหล่งน้าที่ สาคัญ ๆ ชื่อว่าหนองน้าหนองเต่า ซึ่งเป็นหนองน้าที่ใช้เป็นแห่งอุปโภคบริโภค ๙ จานวนประชากร บ้านหนองเต่ามีจานวนครัวเรือนประชากรทั้งหมด 147 ครัวเรือน มีประชากรทั้งหมด 759 คน แบ่งเป็น ชาย 388 คน หญิง 371 คน
  • 12. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 12 บ้านหนองเต่า ภาคผนวก
  • 13. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 13 บ้านหนองเต่า ๑0 การเปลี่ยนและการพัฒนาของหมู่บ้านหนองเต่า บ้านหนองเต่าได้แยกออกเป็นหมู่บ้านอีกหลายหมุ่บ้านดังนี้ แยกออกเป็นหมู่บ้าน หนองโพธิ์ หมู่ที่ 10 และบ้านหนองเต่าพัฒนาหรือบ้านหนองเต่าใหม่ หมู่ที่ 15 อันเป็นผลมาจากประชากรในหมู่บ้านมีจานวนมากขึ้นเป็นหลายเท่าตัวของคน สมัยก่อนและที่อยู่อาศัยมีจานวนน้อยไม่พอกับการอยู่อาศัยจึงต้องมีการเพิ่ม จานวนของที่อยู่อาศัยพอจานวนที่อยาอาศัยมีจานวนมากขึ้นแล้วทางผู้ใหญ่จึงมี ข้อตกลงกันว่าจาเป็นต้องแยกหมู่บ้านเพิ่มขึ้น ๑๑ สถานที่ท่องเที่ยวไกล้หมู่บ้านหนองเต่า ๑ ทุ้งดอกจานบาน เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงออนุรักษ์ที่อยู่ม่ไกล้ไม่ไกล จากหมู่บ้านมากเท่าไรนัก ทุ่งดอกจานตั้งอยู่ที่ อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ๒ ประสาทหินพิมาย ประสาทหินพิมายเป็นสถานที่ที่มีความสาคัญตั้งแต่ สมัยโบราณและได้ถือว่าเป็นมรกดกโลกอีกอย่างหนึ่ง ประสาทหินพิมายตั้งอยู่ที่ อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา การเปลี่ยนแปลงของหมู่บ้าหนองเต่าตั้งแต่เริ่มสร้างหมู่บ้านจนถึงปัจจุบัน สถานที่ท่องเที่ยวไกล้หมู่บ้าหนองเต่ามีดังนี้ ภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต ที่มา : http://www.learners.in.th/blogs/posts/409257
  • 14. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 14 บ้านหนองเต่า ๑๒ บุคคลสาคัญและบุคคลตัวอย่างในชุใชน บุคคลที่สร้างชื่อเสียงให้กับหมู่บ้านหนองเต่ามีอยู่หลายคนหลายอาชีพ ดังจะยกตัวอย่างดังต่อไปนี้ ๑ ส.ส.สุชาติ ภิญโญ ๒ สจ.สมชาย ภิญโญ ๑๓ แหล่งเรียนรู้/สถานที่อบรมขัดเกลาอุปนิสัย หมู่บ้านหนองเต่ามีแหล่งเรียนรู้และสถานที่อบรมขัดเกลาอุปนิสัย อยู่ด้วยกันหลายแห่งเช่นกัน อาทิ ๑๓.๑ วัด วัดเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านและเป็นที่ขัดเกลา อุปนิสัยของชาวบ้านและในสมัยก่อนวัดบ้านหนองเต่าได้เป็นทั้งสถานที่ ศึกษา รวททั้งสถานที่พักอาศัยของชาวในยามวิกาล และยังเป็นสถานที่ที่ใช้ จัดงานสาคัญๆได้งานตามความจาเป็น ๑๓..๒ โรงเรียน บ้านหนองเต่าในสถานะปัจจุบันได้มีการจัดตั้ง โรงเรียนบ้านหนองเต่า เป็นโรงเรียนประจาหมู่บ้านแทนโรงเรียนแห่งเดิมที่ อาศัยศาลาการเปรียนของวัดบ้านหนองเต่าเป็นสถานที่ใช้เรียนหนังสือ โดย ในปัจจุบันโรงเรียนบ้านหนองเต่าได้เปิดสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เป็น โรงเรียนขยายอาสทางการศึกษาที่พรั่งพร้อมไปด้วยบุคลลากรและอาคาร สถานที่ต่างๆ ๑๓.๓ ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนบ้านหนองเต่า -บ้านหนองโพธิ์-บ้านหนองเต่าพัฒนา ศูนย์พัฒนาเด็กฯเป็นสถานที่อีกแห่ง หนึ่งที่ช่วยอบรมและขัดเกลาอุปนิส้ย โดยเป็นความรวมมือระหว่าหมู่บ้าน หนองเต่าและองค์การบริหารส่วนตาบลบึงพะไลในการจัดตั้งขึ้น โดยมี จุดประสงค์ในการก่อตั้งคือช่วยแบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง และช่วยอบรมและ ขัดเกลาอุปนิสัยของเด็กก่อนที่จะได้รับการศึกษาที่สูงขึ้นในระดับชั้นต่อไป
  • 15. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 15 บ้านหนองเต่า ๑๔ ภาพบรรยากาศต่างๆของหมู่บ้าหนองเต่า ภาพที่ 2 ภาพการทามาหากินของชาวบ้านหนองเต่า แล้วบ้านหนองเต่ามี สวนธารณะประหมู่บ้าน ไหมครับ มีสิจ๊ะน้อง บ้าน หนองเต่าก็มี สวนธารณะประจา หมู่บ้านเหมือนกัน ดีจังคับ คงจะอากาศ ร่มรืนดีมากนะครับ ใช่จ๊ะ
  • 16. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 16 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 3-4 ภาพทางเข้าหมู่บ้านหนองเต่า
  • 17. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 17 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 5 การเลี้ยงสัตว์เพื่อการขาย ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งของชาวบ้าน ภาพที่ 6 บรรยากาศตอนเย็นๆ ที่ริมหนองเต่า
  • 18. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 18 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 6 อาคารหลังแรกของโรงเรียนบ้านหนองเต่า(โรงเรียนแห่งปัจจุบัน) ภาพที่ 7 บรรยากาศทุ่งนาตอนชาวที่บ้านหนองเต่า
  • 19. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 19 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 8 สบาพเรือนของคนในชุมชน ภาพที่ 9 ชาวบ้านยังคงใช้รถไถนาเดินตามเป็นภาหนะสันจรไปมาเหมือนยังสมัยก่อน
  • 20. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 20 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 10 ภาพจาลองอาคารหลังแรกของโรงเรียนบ้านหนองเต่าที่อาศัย ศาลาวัดบ้าหนองเต่าเป็นอาคารสาหรับทาการเรียนการสอน ภาพที่ 11 ภาพบรรยากาศของชาวบ้านที่พาลูกหลานเป็นไหนมาไหนด้วยซึ่ง แสดงว่าพ่อแม่ไม่เคยทอดทิ้งลูกและนี่ก็เป็นอีกอย่างที่ชาวบ้านหนองเต่าทาเป็น ประจา
  • 21. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 21 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 12 ป่าไม้อันร่มรื่นของบ้านหนองเต่าซึ่งเป็นป่าไม้ที่ชาวบ้านอนุรักษ์ ไว้ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ภาพที่ 13 ภาพการทานาขอชาวบ้านหนองเต่าในปัจจุบัน ยังยึดหลักวิถี การทานาเหมือนสมัยก่อน
  • 22. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 22 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 14 ภาพการทานาเป็นอาชีพหลักในงานทามาหากินของชาวบ้าน หนองเต่าในปัจจุบัน ภาพที่ 15 สภาพบ้านเรือนของชาวบ้านหนองเต่า เมื่อ 2 ปีที่แล้ว
  • 23. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 23 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 16 พระอาทิตย์ตกที่ริมหนองเต่า : ถ่ายโดย สิทธิชัย ปุริมาโน ภาพที่ 17 ท้องฟ้าสวยเหนือริมน้าหนองเต่า :ถ่ายที่บ้านหนองเต่า
  • 24. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 24 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 18 แผนที่อย่างไม่เป็นทางการของหมู่บ้านหนองเต่า ภาพที่ 19 ภาพถ่ายทางอากาศของผมู่บ้านหนองเต่า จ.นครราชสีมา
  • 25. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 25 บ้านหนองเต่า บอกเล่าเรื่องเต่า …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 26. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 26 บ้านหนองเต่า …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 27. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 27 บ้านหนองเต่า
  • 28. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 28 บ้านหนองเต่า บรรณานุกรม ขอบคุณข้อมูลบ้าหนองเต่า ผู้ใหญ่บ้านหนองเต่าคนปัจจุบัน ผู้ใหญ๋บ้านหนองโพธิ์คนปัจจุบัน ผู้ใหญ่บ้านหนองเต่าพัฒนา ขอบคุณภาพถ่ายจาก ด.ช.สิทธิชัย ปุริมาโน และด.ญ.นันทิดา ปัดทุม
  • 29. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 29 บ้านหนองเต่า