SlideShare a Scribd company logo
1
คาชี้แจง
เอกสารประกอบการเรียน ชุด ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสมัยอยุธยาถึง
ธนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 5 มีทั้งหมด11เล่มดังต่อไปนี้
เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่าคาตาบลแม่เงิน
เล่มที่ 2 อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1(พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ในเอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่ม มีองค์ประกอบ คือ ปกนอก
ปกใน คานา สารบัญ คาชี้แจง คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน
พร้อมเฉลยคาตอบ เนื้อเรื่องแต่ละเล่ม คาอธิบายศัพท์ แบบฝึกหัดประจาเล่ม
พร้อมเฉลยคาตอบ แบบทดสอบหลังเรียนพร้อมเฉลยคาตอบและบรรณานุกรม
เอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่มใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ เล่มละ 1-2 ชั่วโมง
ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ รวมเวลาเรียน 18 ชั่วโมงใน 11 เล่ม
2
คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน
1. เอกสารประกอบการเรียน ชุด ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสมัยอยุธยา
ถึงธนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 4
ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่าคา ตาบลแม่เงิน
เป็นเอกสารประกอบการเรียนที่จะทาให้นักเรียนเกิดความรู้ และตระหนักถึง
ความสาคัญของ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณี
ของท้องถิ่น เกิดความ รักท้องถิ่น และภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง และ
รักความเป็นไทย เป็นคนดีของครอบครัวและสังคม ให้อยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข
2. ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนในเอกสารประกอบการเรียน
ชุดประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และสมัยอยุธยาถึงธนบุรี ดังนี้
2.1 ศึกษาคาชี้แจงการใช้สาระสาคัญ และจุดประสงค์การเรียนรู้
2.2 ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ ของ
นักเรียนในเรื่องที่กาลังจะเรียนว่าอยู่ในเกณฑ์ใด
2.3 ศึกษาเนื้อหาสาระประจาเล่ม และทาแบบฝึกหัด
2.4 ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ
ของนักเรียนว่าเพิ่มมากขึ้นกว่าก่อนเรียนหรือไม่
2.5 นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ มีความรับผิดชอบ
มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่เปิดดูเฉลยก่อน เมื่อเกิดปัญหาให้สอบถาม ครูผู้สอน
และหากทาคะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์สามารถกลับมาทบทวนเนื้อหาสาระ และทา
แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบใหม่จนผ่านเกณฑ์
3
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 4.1 : เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและ
ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด
ส 4.1 ป. 5/1 สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐาน
ที่หลากหลาย
ส 4.1 ป. 5/2 รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อตอบคาถาม
ทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหตุผล
4
จุดประสงค์การเรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการสื่อสาร
ใฝ่เรียนรู้ และรักความเป็นไทย
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. บอกประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านป่าคา ตาบลแม่เงินได้
2.บอกหลักฐานที่ใช้ศึกษาความเป็นมาของหมู่บ้านป่าคาตาบลแม่ เงินได้
3.ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนที่อาศัยได้อย่าง
เหมาะสม
4. เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้และรักความเป็นไทย
5
นักเรียนกาเครื่องหมาย  ทับหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
( ข้อละ 1 คะแนน )
1. ข้อใดเป็นชื่อเดิมของโรงเรียนชุมชนบ้านป่าคาแม่เงินสามัคคี
ก. โรงเรียนบ้านป่าคา
ข. โรงเรียนบ้านป่าคาแม่เงิน
ค. โรงเรียนบ้านแม่คา
ง. โรงเรียนบ้านแม่เงิน (ราษฎร์บารุง)
2. ตาบลแม่เงินมีทั้งหมดกี่หมู่บ้าน
ก. 6 หมู่บ้าน
ข. 7 หมู่บ้าน
ค. 8 หมู่บ้าน
ง. 9 หมู่บ้าน
3. ปัจจุบันใครเป็นนายกเทศมนตรีเทศบาลตาบลแม่เงิน
ก. นายสมบูรณ์ พรมอินทร์
ข. นายพิชัย จันแปงเงิน
ค. นายดารง จันแปงเงิน
ง. นายธีระ เงินสัจจา
คาชี้แจง
แบบทดสอบก่อนเรียน
เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน
6
4. หลักฐานที่บอกความเป็นมาของหมู่บ้านแม่เงิน แห่งแรกคือข้อใด
ก. สถานีอนามัย
ข. โรงเรียน
ค. วัดหรืออาราม
ง. ที่ว่าการอาเภอ
5. ข้อใด ไม่ใช่ ศาสนสถานภายในวัดวาอาราม
ก. พระอุโบสถ
ข. หอระฆัง
ค. ศาลาการเปรียญ
ง. โรงอาหาร
6. ประชากรของหมู่บ้านป่าคา ตาบลแม่เงิน ส่วนใหญ่มีอาชีพด้านใด
ก. การเกษตรกรรม
ข. การค้าขาย
ค. การรับจ้างและประมง
ง. รับราชการและอาชีพอิสระ
7. ประเพณีที่มีชื่อเสียงของชุมชนในอาเภอเชียงแสน คือข้อใด
ก. วันเข้าพรรษา
ข. วันสงกรานต์
ค. การบวชภาคฤดูร้อน
ง. การแข่งเรือพายในแม่น้าโขง
7
8. เขตบริการในการปกครองดูแลของสถานีตารวจภูธรตาบลบ้านแซว คือ
ข้อใด
ก. ตาบลแม่เงินและตาบลป่าสัก
ข. ตาบลบ้านแซวและตาบลเวียง
ค. ตาบลป่าสักและตาบลแม่เงิน
ง. ตาบลแม่เงินและตาบลบ้านแซว
9. ตาแหน่งใดเป็นตาแหน่งของผู้บริหารสูงสุดของเทศบาลตาบล
ก. นายกสภาตาบล
ข. นายกเทศมนตรี
ค. ประธานสภาตาบล
ง. นักวิชาการสภาตาบล
10.ข้อใดเป็นโบราณสถานที่สาคัญของตาบลแม่เงิน
ก. วัดเจดีย์หลวง
ข. วัดพระธาตุผาเงา
ค. วัดพระธาตุแสนคาฟู
ง. วัดพระธาตุจอมกิตติ เพื่อน ๆ ทาแบบทดสอบ
ก่อนเรียนนะคะ
8
ข้อ คาตอบ
1. ง
2. ค
3. ค
4. ค
5. ง
6. ก
7. ง
8. ง
9. ข
10. ค
เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน
เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน
เพื่อน ๆ ตรวจคาตอบนะคะ
9
บ้านป่าคา ตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เดิมก่อนที่จะ
เป็นหมู่บ้าน เป็นพื้นที่ราบป่าดงไม้ยืนต้น ผสมด้วยไม้ไผ่ และที่ว่าง มีหญ้าคา
ขึ้นเป็นหย่อมๆ อันเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้านป่าคาในเวลาต่อมา
ด้านทิศเหนือ เป็นภูเขาเตี้ยๆ สลับสูงชัน
ด้านทิศตะวันออก ติดกับแม่น้าเงิน
ด้านทิศใต้ ติดกับแม่น้าเงิน ลาดไหลลงไปถึงแม่น้ายาบ
เขตบ้านแม่เงินปัจจุบัน
ด้านทิศตะวันตก ติดกับป่าโปร่งไปจนถึงบ้านปงของ
ประวัติบ้านป่ าคา
10
จากการให้ข้อมูล พ่อหนานดวงคา จันแปงเงิน เกิดวันที่ 1 ตุลาคม 2488
อายุ70ปี พ่อน้อยชัยลังกา แม่เกี๋ยง จันแปงเงิน ผู้เป็นปู่ ย่า เล่าว่า หมู่บ้านป่าคา
เป็นป่าโปร่งกว้างมีแม่น้าสายเล็กๆ ผ่านกลางบ้าน ไหลลงจากเทือกเขาชื่อว่าห้วย
ทรายขาว (ห้วยดินขาว) มีชาวบ้านกลุ่มเล็กๆ ซึ่งเดิมอาศัยอยู่บ้านแม่เงินเป็นหลัก
ต่อจากนั้นมาจึงได้ขยายพื้นที่ทากินมายังบ้านป่าคาปัจจุบันเพราะมีพื้นที่อุดมสมบูรณ์
เหมาะแก่การเพาะปลูก ในการอพยพย้ายถิ่นฐานครั้งนั้น เกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2440
ประกอบด้วยครอบครัวหลัก คือ พ่อน้อยพิชัย และ แม่เฟย จันแปงเงิน และอีก
14 ครอบครัว พากันมารวมกัน จัดตั้งเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆกลางป่าชื่อว่า บ้านป่าคา
เป็นหมู่บ้านที่ยังขึ้นกับบ้านแม่เงินหมู่ 6ไม่มีผู้ใหญ่บ้านอยู่กันมาเหมือนพี่น้อง
ร่วมพ่อแม่เดียวกัน
11
ปี พ.ศ.2452 ได้จัดตั้งผู้ใหญ่บ้านคนแรก คือ พ่อน้อยพิชิต จันแปงเงิน
และในเวลาต่อมาอีก 3 ปี จึงได้จัดตั้งอารามขึ้น เพื่อเป็นที่พึ่งพาทางใจ ต่อมา
พัฒนาเป็นวัดป่าคาในปัจจุบันปี พ.ศ. 2455 ได้นิมนต์พระภิกษุจากวัดบ้านแม่คา
หมู่ 4 ชื่อว่า พระปัญญาป้ อมสมุทร์ เป็นเจ้าอาวาสองค์แรก ปัจจุบันมีพระณรงค์
รักษาการเจ้าอาวาสวัดป่าคาและในปี พ.ศ. 2498 ได้ก่อตั้ง โรงเรียนโดยอาศัยวัด
เป็นที่เรียน ชื่อ โรงเรียนบ้านป่าคาประชาสามัคคีและผู้ใหญ่บ้าน บ้านป่าคา
คนปัจจุบัน ชื่อ นายศรชัย ธรรมวงศ์อายุ 40 ปี
พระปัญญาป้อมสมุทร์
พ่อน้อยพิชิต จันแปงเงิน
12
ตาบลแม่เงิน ได้มีราษฎรอพยพมาจากจังหวัดลาปาง พะเยา และเชียงใหม่
โดยการนาของท้าวอาษานายแสน กันทะและนายคาปานาราษฎรประมาณ5–6
ครัวเรือน มาปลูกบ้านเรือนที่อยู่อาศัย ตั้งชื่อบ้านว่า “บ้านแม่เงิน” อยู่ในเขต
การปกครองของตาบลบ้านแซว ในปี พ.ศ.2527 ตาบลแม่เงิน ได้แยกจากเขต
การปกครองของตาบลบ้านแซว
ประวัติความเป็นมา ตาบลแม่เงิน
13
ทิศเหนือ ติดต่อ ตาบลเชียงของ อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
ทิศใต้ ติดต่อ ตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
ทิศตะวันออก ติดต่อ ตาบลเวียง อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
ทิศตะวันตก ติดต่อ สาธารณประชาธิปไตยประชาชนลาว
แผนที่ ตาบลแม่เงินโดยสังเขป
อาณาเขตตาบลแม่เงิน
14
จานวนประชากรในเขต8,447 คนและจานวนหลังคาเรือน2,563 หลังคาเรือน
ประกอบด้วย12หมู่บ้านคือหมู่ที่ 1 บ้านสันต้นเปา หมู่ที่ 2 บ้านสบยาม หมู่ที่ 3
บ้านป่าคาหมู่ที่ 4บ้านแม่คาหมู่ที่ 5บ้านปงของหมู่ที่ 6บ้านแม่เงินหมู่ที่ 7บ้านไร่
หมู่ที่ 8 บ้านป่าคาใต้หมู่ที่ 9บ้านป่าคาเหนือหมู่ที่ 10 บ้านปงของเหนือหมู่ที่ 11
บ้านธารทอง หมู่ที่ 12 บ้านแม่คาเหนือ ประกอบด้วย คนไทยพื้นเมือง ไทยลื้อ
และลาวนับถือศาสนาพุทธ
อาชีพหลักทานา ทาสวน
อาชีพเสริมรับจ้าง
1)พระธาตุแสนคาฟู 2)วัดพระธาตุม่อนต้นต้อง
3)วัดป่ายาง 4)น้าตกผาแตก
จานวนประชากรของตาบลแม่เงิน
ข้อมูลอาชีพของประชากร
แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญของตาบลแม่เงิน
15
โรงเรียนชุมชนบ้านป่าคาแม่เงินสามัคคีตั้งอยู่หมู่บ้านป่าคาหมู่8 ตาบลแม่เงิน
อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เดิมชื่อ “โรงเรียนบ้านแม่เงิน (ราษฎร์บารุง)”
ตั้งเมื่อ พ.ศ.2497 ที่บ้านแม่เงิน ต่อมาย้ายมาตั้งอยู่บ้านป่าคา เมื่อ พ.ศ. 2498 โดย
เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนชุมชนบ้านป่าคาแม่เงินสามัคคี ปีการศึกษา2534โรงเรียน
เข้าโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปัจจุบันเปิดสอนในระดับชั้นอนุบาลปีที่ 1ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3จานวน
นักเรียน281คนมีนายยงยุทธวงศ์ชัย เป็นผู้อานวยการโรงเรียน จานวนครู 20 คน
กิจกรรมเด่นของนักเรียน คือ กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง การสร้าง
ผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น กิจกรรมธนาคารขยะ และการจัดทา
โครงงานวิทยาศาสตร์
โรงเรียนชุมชนบ้านป่ าคาแม่เงินสามัคคี
16
โรงเรียนชุมชนบ้านป่าคาแม่เงินสามัคคี อยู่ห่างจากอาเภอเชียงแสน
ประมาณ 26 กิโลเมตร และห่างจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เชียงราย เขต 3 ประมาณ 56 กิโลเมตร เส้นทางคมนาคมไปยังโรงเรียน เป็น
ถนนลาดยางตลอดเส้นทาง แต่ค่อนข้างคดเคี้ยว ส่วนการติดต่อสื่อสาร สามารถ
ใช้ได้ทั้งโทรศัพท์พื้นฐาน โดยหมายเลขโทรศัพท์ ของโรงเรียน คือ 0-5318-228
นอกจากนี้ยังสามารถใช้โทรศัพท์มือถือได้
แผนที่โรงเรียนชุมชนบ้านป่ าคาแม่เงินสามัคคีโดยสังเขป
17
สถานีตารวจภูธรตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย สังกัด
สานักงานตารวจแห่งชาติ กระทรวงมหาดไทย ตั้งอยู่ที่บ้านแซว ตาบลบ้านแซว
อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ก่อตั้งเป็นเวลาประมาณ 46 ปี ล่วงมาแล้ว
เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511 ได้มีการดาเนินการก่อสร้างที่ทาการใหม่ปัจจุบันอยู่
สถานีตารวจภูธรตาบลบ้านแซว
อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
18
ในระหว่างการดาเนินงาน จึงใช้สถานที่อาคารเดิมบริการประชาชนอยู่มีเขต
บริการที่รับผิดชอบครอบคลุมไปจนถึงตาบลแม่เงิน รวมจานวนพื้นที่หมู่บ้าน
ในเขตบริการทั้งสองตาบลรวม 27 หมู่บ้าน โดยมีหัวหน้าสถานีตารวจภูธร ตาบล
บ้านแซว คือ พ.ต.ท. นิธิกร เดชบุญ มีกาลังพลทั้งหมด 33 นาย นอกจากภารกิจ
ตามขอบข่ายการบริหารจัดการตามบทบาทหน้าที่แล้ว ยังมีภารกิจเสริมที่สาคัญ
คือ การมีส่วนร่วมในการทะนุบารุงศาสนา โบราณสถาน โบราณวัตถุ
การป้ องกันดูแลความปลอดภัย สถานที่สาคัญอื่นๆ เช่น วัดพระธาตุแสนคาฟู
บ้านสันต้นเปา ตาบลแม่เงิน อนุสรณ์สถานสามผู้กล้าของพลเรือน ตารวจและ
ทหารของบ้านห้วยกว๊าน ตาบลบ้านแซว ท่าเรือพาณิชย์ริมฝั่งแม่น้าโขง อาเภอ
เชียงแสน แห่งที่ 1 และ แห่งที่ 2 ที่บ้านสบกก ตาบลบ้านแซว จังหวัดเชียงราย
คิดเป็นระยะทางจากอาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ถึงอาเภอเชียงแสน
จังหวัดเชียงราย ประมาณ 80 กิโลเมตรเศษ
สถานีตารวจภูธรตาบลบ้านแซว
อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
แผนที่สถานีตารวจภูธรตาบลบ้านแซว โดยสังเขป
19
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
สังกัดกรมส่งเสริมสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2512
เป็นระยะเวลา 45 ปี ผ่านมา เป็นที่เดิมของโรงเรียนบ้านปงของ ต่อมาโรงเรียน
บ้านปงของได้ย้ายไปสร้างในหมู่บ้านปงของ ราษฎรจึงสนับสนุนให้เป็นสถานที่
ก่อสร้างของโรงพยาบาลในเนื้อที่ 1ไร่ 2งาน เมื่อ พ.ศ. 2541เป็นระยะเวลา 16ปี
ผู้อานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลแม่เงิน คนปัจจุบัน คือ
นายวิษณุพงษ์ ยารวง มีบุคลากรทั้งหมด จานวน 7 คน สถานที่ตั้งอยู่ห่างจาก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลแม่เงิน
อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
20
อาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ประมาณ 90 กิโลเมตร มีเขตบริการที่อยู่ใน
ความรับผิดชอบของโรงพยาบาล ทั้งหมด 7 หมู่บ้าน การคมนาคมและระบุ
สาธารณูปโภคจัดว่าอยู่ในระดับดี มีความสะดวกสบาย สาหรับการติดต่อสื่อสาร
ของประชาชน และโรงพยาบาลอยู่ห่างจากตัวอาเภอเชียงแสนประมาณ 30
กิโลเมตร
21
องค์การบริหารส่วนตาบลแม่เงิน
อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
องค์การบริหารส่วนตาบลแม่เงินอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ได้ก่อตั้งขึ้น
เมื่อปี พ.ศ. 2537 นับเป็นระยะเวลาประมาณ 20 ปี ล่วงมาแล้ว เดิม อยู่ในฐานะเป็น
สภาตาบลต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นองค์การบริหารส่วนตาบลแม่เงินเมื่อปี พ.ศ.2539
และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเทศบาลตาบลแม่เงินในปี พ.ศ.2557มีนายกเทศมนตรี
เทศบาลตาบลแม่เงินคนปัจจุบันชื่อนายดารงจันแปงเงินสถานที่ก่อตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 6
ตาบล แม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอาเภอ
เชียงแสนซึ่งมีระยะทางห่างจากอาเภอเชียงแสนประมาณ 26 กิโลเมตร โดยด้านทิศ
ตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวมีแม่น้าโขง
เป็นแนวกั้นอาณาเขตทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับตาบลริมโขง อาเภอเชียงแสน
ทิศตะวันออกติดต่อกับตาบลเวียง อาเภอเชียงของและทิศใต้ติดต่อกับตาบลบ้านแซว
อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
22
พื้นที่ส่วนใหญ่ของหมู่บ้านที่อยู่ในเขตบริการของโรงเรียนชุมชนบ้าน
ป่าคาแม่เงินสามัคคี เป็นที่ราบระหว่างภูเขา สามารถใช้ทาการเกษตรได้ เกือบ
ทั้งหมดของพื้นที่มีแหล่งน้าตามธรรมชาติ เช่น คู คลอง และแหล่งน้าที่สร้างขึ้น
เช่น บ่อบาดาล บ่อน้าสระน้า ตลอดจนมีประปา ที่นาน้ามาจากภูเขา และ
น้าประปาหมู่บ้าน
ลักษณะภูมิประเทศของหมู่บ้านในเขตบริการโรงเรียน
23
ในหมู่บ้านประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทาไร่ ทานา ทาสวนผลไม้
ผักต่างๆและรับจ้างทางานในภาคเกษตร
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 63,125 ไร่ เป็นเทือกเขาติดต่อกัน 2 ลูก และเป็น ป่าโปร่งขาด
ความสมบูรณ์ ประมาณ 34,129 ไร่ เป็นป่าไม้เบญพรรณ คิดเป็นร้อยละ 62 ของ
พื้นที่ มีต้นน้าที่น้าตกไหลเป็นลาธารของตาบล จานวนหมู่บ้านทั้งหมด 12
หมู่บ้าน คือ บ้านสันต้นเปา บ้านสบยาม บ้านป่าคา บ้านแม่คาเหนือ บ้านปงของ
บ้านแม่เงิน บ้านไร่ บ้านป่าคาใต้ บ้านป่าคาเหนือบ้านปงของเหนือบ้านธารทองและ
บ้านแม่คา มีประชากรทั้งหมด 8,447 คน จานวน 2,563 ครัวเรือน มีอาชีพ
เกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ในเขตบริการของเทศบาลตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน
จังหวัดเชียงราย
เพื่อนๆมาศึกษาและเรียนรู้ประวัติ
ความเป็นมาของบ้านป่ าคากันะคะ
24
ที่ คา คาอ่าน ความหมาย
1. เกษตรกรรม กะ-เสด-ตระ-กา การเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์รวมถึง
การป่าไม้และเหมืองแร่
2. เขตบริการ เขด-บอ-ริ-กาน พื้นที่รับผิดชอบอานวยความ
สะดวก
3. ถิ่นฐาน ถิ่น-ถาน ถิ่นที่อยู่อาศัย
4. บุคลากร บุก - คะ - ลา - กอน ผู้ปฏิบัติงานตามหน้าที่ของแต่ละ
หน่วยงาน
5. เบญจพรรณ เบน-จะ-พัน ต้นไม้ต่างๆ ที่ปลูกไว้ในที่แห่ง
เดียวกัน
6. ผลิตภัณฑ์ ผะ-หลิด-ตะ-พัน สิ่งที่ได้จากการผลิต
7. พาณิชย์ พา-นิด การค้าขาย
8. ภารกิจ พา-ระ-กิด ธุระ , หน้าที่
9. เศรษฐกิจ
พอเพียง
เสด-ถะ-กิด-พอ-เพียง งานอันเกี่ยวกับการผลิตการ
จาหน่ายจ่ายแจกและการบริโภค
ใช้สอยสิ่งต่างๆของชุมชน
10. สาธารณูปโภค สา-ทา-ระ-นู-ปะ-โพก บริการสาธารณะที่จัดทาเพื่อ
อานวยประโยชน์แก่ประชาชนใน
สิ่งอุปโภคที่จาเป็นต่อการดาเนิน
ชีวิต เช่น การไฟฟ้า การประปา
คาอธิบายศัพท์
เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน
25
ที่ คา คาอ่าน ความหมาย
11. อนุสรณ์สถาน อะ-นุ-สอน-สะ-ถาน สถานที่ที่เป็นการแสดงความ
ระลึกถึง
12. อพยพ อบ – พะ – ยบ ย้ายจากถิ่นหนึ่งไปอยู่อีกถิ่นหนึ่ง
13. อาณาเขต อา – นา – เขด เขตแดนในอานาจการปกครอง
14. อาราม อา – ราม วัด
เพื่อน ๆมาทบทวนคาศัพท์กันนะครับ
26
แบบฝึกหัด
เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน
นาคาที่กาหนดให้เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (ข้อละ 1 คะแนน)
1. แม่น้าที่สาคัญที่ไหลผ่านอาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย คือ
2. ข้อมูลของหมู่บ้านป่าคาตาบลแม่เงิน จังหวัดเชียงราย ที่สามารถสืบค้น
ได้จาก
3. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่เป็นหลักฐานชั้นต้น คือ
4. การมีส่วนร่วมพัฒนาหมู่บ้านของนักเรียนได้แก่
5. การอนุรักษ์โบราณสถานหรือสาธารณสถานของชุมชน ได้แก่
6. แม่น้าที่กั้นพรมแดนระหว่างประเทศไทยและลาว คือ
7. โบราณสถานในอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ถือได้ว่าเป็น
8. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของตาบลแม่เงิน ส่วนใหญ่ เป็น
9. อาณาเขตของหมู่บ้านป่าคา ตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน ที่ติดต่อกับ
ประเทศเพื่อนบ้าน คือ
10.หมู่บ้านป่าคา ตาบลแม่เงิน
หลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์
แม่น้ากก
อาเภอเชียงแสน
จังหวัดเชียงราย
ตานานหรือสัมภาษณ์
คนรุ่นเก่าก่อน
เทือกเขา2ลูก
ไม่ทิ้งขยะและไม่ขีดเขียน
ตามฝาผนัง
แม่น้าโขง
สาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว
ศิลาจารึก
ประเทศเมียนมาร์
คาชี้แจง
ปลูกต้นไม้ใน
ที่สาธารณะ
27
แบบฝึกหัด
เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน
นาคาที่กาหนดให้เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (ข้อละ 1 คะแนน)
1. แม่น้าที่สาคัญที่ไหลผ่านอาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย คือ แม่น้ากก
2. ข้อมูลของหมู่บ้านป่าคาตาบลแม่เงิน จังหวัดเชียงราย ที่สามารถสืบค้นได้
จาก ตานานหรือสัมภาษณ์คนรุ่นเก่าก่อน
3. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่เป็นหลักฐานชั้นต้น คือ ศิลาจารึก
4. การมีส่วนร่วมพัฒนาหมู่บ้านของนักเรียนได้แก่ ปลูกต้นไม้ในที่สาธารณะ
5. การอนุรักษ์โบราณสถานหรือสาธารณสถานของชุมชน ได้แก่ ไม่ทิ้งขยะ
และไม่ขีดเขียนตามฝาผนัง
6. แม่น้าที่กั้นพรมแดนระหว่างประเทศไทยและลาว คือ แม่น้าโขง
7. โบราณสถานในอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ถือได้ว่าเป็น
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
8. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของตาบลแม่เงิน ส่วนใหญ่ เป็น เทือกเขา 2 ลูก
9. อาณาเขตของหมู่บ้านป่าคา ตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน ที่ติดต่อกับ
ประเทศเพื่อนบ้าน คือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
10.หมู่บ้านป่าคา ตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
คาชี้แจง
หลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์
แม่น้ากก
อาเภอเชียงแสน
จังหวัดเชียงราย
ตานานหรือสัมภาษณ์
คนรุ่นเก่าก่อน
เทือกเขา2ลูก
ไม่ทิ้งขยะและไม่ขีดเขียน
ตามฝาผนัง
แม่น้าโขง
สาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว
ศิลาจารึก
ประเทศเมียนมาร์
ปลูกต้นไม้ใน
ที่สาธารณะ
28
นักเรียนกาเครื่องหมาย ทับหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
(ข้อละ 1 คะแนน)
1. ประชากรของหมู่บ้านป่าคา ตาบลแม่เงิน ส่วนใหญ่มีอาชีพด้านใด
ก. การเกษตรกรรม
ข. การค้าขาย
ค. การรับจ้างและประมง
ง. รับราชการและอาชีพอิสระ
2. ประเพณีที่มีชื่อเสียงของชุมชนในอาเภอเชียงแสน คือข้อใด
ก. วันเข้าพรรษา
ข. วันสงกรานต์
ค. การบวชภาคฤดูร้อน
ง. การแข่งเรือพายในแม่น้าโขง
3. เขตบริการในการปกครองดูแลของสถานีตารวจภูธรบ้านแซว คือข้อใด
ก. ตาบลแม่เงินและตาบลป่าสัก
ข. ตาบลบ้านแซวและตาบลเวียง
ค. ตาบลป่าสักและตาบลแม่เงิน
ง. ตาบลแม่เงินและตาบลบ้านแซว
คาชี้แจง
แบบทดสอบหลังเรียน
เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน
29
4. ตาแหน่งใดเป็นตาแหน่งของผู้บริหารสูงสุดของเทศบาลตาบล
ก. นายกสภาตาบล
ข. นายกเทศมนตรี
ค. ประธานสภาตาบล
ง. นักวิชาการสภาตาบล
5. ข้อใดเป็นโบราณสถานที่สาคัญของตาบลแม่เงิน
ก. วัดเจดีย์หลวง
ข. วัดพระธาตุผาเงา
ค. วัดพระธาตุแสนคาฟู
ง. วัดพระธาตุจอมกิตติ
6. ข้อใดเป็นชื่อเดิมของโรงเรียนชุมชนบ้านป่าคาแม่เงินสามัคคี
ก. โรงเรียนบ้านป่าคา
ข. โรงเรียนบ้านป่าคาแม่เงิน
ค. โรงเรียนบ้านแม่คา
ง. โรงเรียนบ้านแม่เงิน (ราษฎร์บารุง)
7. ตาบลแม่เงินมีทั้งหมดกี่หมู่บ้าน
ก. 6 หมู่บ้าน
ข. 7 หมู่บ้าน
ค. 8 หมู่บ้าน
ง. 9 หมู่บ้าน
30
8. ปัจจุบันใครเป็นนายกเทศมนตรีเทศบาลตาบลแม่เงิน
ก. นายสมบูรณ์ พรมอินทร์
ข. นายพิชัย จันแปงเงิน
ค. นายดารง จันแปงเงิน
ง. นายธีระ เงินสัจจา
9. หลักฐานที่บอกความเป็นมาของหมู่บ้านแม่เงิน แห่งแรกคือข้อใด
ก. สถานีอนามัย
ข. โรงเรียน
ค. วัดหรืออาราม
ง. ที่ว่าการอาเภอ
10.ข้อใด ไม่ใช่ ศาสนสถานภายในวัดวาอาราม
ก. พระอุโบสถ
ข. หอระฆัง
ค. ศาลาการเปรียญ
ง. โรงอาหาร
เพื่อน ๆ ทาแบบทดสอบ
หลังเรียนนะคะ
31
ข้อ คาตอบ
1. ก
2. ง
3. ง
4. ข
5. ค
6. ง
7. ค
8. ค
9. ค
10. ง
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน
เพื่อน ๆ ตรวจคาตอบนะคะ
32
ธีระ เงินสัจจา. องค์การบริหารส่วนตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัด
เชียงราย. เชียงราย:ม.ป.พ,2555.(เอกสารอัดสาเนา)
บดินทร์ กินาวงศ์. เอกสารการศึกษาประกอบวิชาหลักสูตรท้องถิ่น
ประวัติศาสตร์เมืองเชียงราย – เชียงแสน. เชียงราย :สามัญศึกษา
จังหวัดเชียงราย, 2546.
โรงเรียนบ้านป่ าคาแม่เงินสามัคคี. (ออนไลน์)แหล่งที่มา:http://www.cpmschool.
blogspot.com/p/blog-page.html?m=1,2552.
วิษณุพงษ์ ยารวง. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน
จังหวัดเชียงราย. เชียงราย:ม.ป.พ,2554.(เอกสารอัดสาเนา)
สัมภาษณ์ ศรชัย ธรรมวงศ์. ผู้ใหญ่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน
จังหวัดเชียงราย. 16เมษายน2556.
________.พ.ต.ท.นิธิกร เดชบุญ.หัวหน้าสถานีตาบลภูธรตาบลบ้านแซว อาเภอ
เชียงแสน จังหวัดเชียงราย. 10 พฤษภาคม 2556.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียน
สาระการเรียนรู้พื้นฐานประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5.
กรุงเทพมหานคร :คุรุสภา,2547.
อาณาจักรโยนกเชียงแสน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา:http://www.nookjung.com/
travel/wpcontent/uploads/2009/08/n25.jpg. 2552.
บรรณานุกรม

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโครงการ
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโครงการบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโครงการ
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโครงการ
kasocute
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
Pitchayakarn Nitisahakul
 
แผ่นพับ พระอภัยมณี น้ำทิพย์
แผ่นพับ พระอภัยมณี น้ำทิพย์แผ่นพับ พระอภัยมณี น้ำทิพย์
แผ่นพับ พระอภัยมณี น้ำทิพย์
Namthip Apichonsewiyakun
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรม
Aor's Sometime
 
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติเรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติDuangjai Boonmeeprasert
 
พระธรรมโกศาจารย์
พระธรรมโกศาจารย์พระธรรมโกศาจารย์
พระธรรมโกศาจารย์
Krusupharat
 
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลปีการศึกษา2559
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลปีการศึกษา2559แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลปีการศึกษา2559
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลปีการศึกษา2559
palinee kotsomnuan
 
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์sirikase
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
Choengchai Rattanachai
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
Nattakarntick
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวsakuntra
 
ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolHeritagecivil Kasetsart
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
Choengchai Rattanachai
 
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์Ocean'Funny Haha
 
ลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอ
newyawong
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2Mam Chongruk
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
Chainarong Maharak
 
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
Chainarong Maharak
 

What's hot (20)

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโครงการ
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโครงการบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโครงการ
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโครงการ
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
 
แผ่นพับ พระอภัยมณี น้ำทิพย์
แผ่นพับ พระอภัยมณี น้ำทิพย์แผ่นพับ พระอภัยมณี น้ำทิพย์
แผ่นพับ พระอภัยมณี น้ำทิพย์
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรม
 
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติเรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
 
พระธรรมโกศาจารย์
พระธรรมโกศาจารย์พระธรรมโกศาจารย์
พระธรรมโกศาจารย์
 
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลปีการศึกษา2559
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลปีการศึกษา2559แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลปีการศึกษา2559
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลปีการศึกษา2559
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
 
ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lol
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
 
ลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอ
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 

Similar to เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน

เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 3  แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 3  แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
Choengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
Choengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
Choengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
Choengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหักเล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
Choengchai Rattanachai
 
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงรายเล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
Choengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
Choengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
Choengchai Rattanachai
 
หมู่ 6ส
หมู่ 6สหมู่ 6ส
หมู่ 6สbawtho
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
Choengchai Rattanachai
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
Tum Meng
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1ดุซงญอ ตำบล
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงloveonlyone
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
loveonlyone
 

Similar to เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน (20)

เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 3  แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 3  แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
 
7
77
7
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
 
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหักเล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
 
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงรายเล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
4
44
4
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
หมู่ 6ส
หมู่ 6สหมู่ 6ส
หมู่ 6ส
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
 
File
FileFile
File
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
1
11
1
 
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
 
หนึ่ง
หนึ่งหนึ่ง
หนึ่ง
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
 

เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน

  • 1. 1 คาชี้แจง เอกสารประกอบการเรียน ชุด ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสมัยอยุธยาถึง ธนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 มีทั้งหมด11เล่มดังต่อไปนี้ เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่าคาตาบลแม่เงิน เล่มที่ 2 อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญของเชียงแสน เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1(พระเจ้าอู่ทอง) เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ในเอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่ม มีองค์ประกอบ คือ ปกนอก ปกใน คานา สารบัญ คาชี้แจง คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน พร้อมเฉลยคาตอบ เนื้อเรื่องแต่ละเล่ม คาอธิบายศัพท์ แบบฝึกหัดประจาเล่ม พร้อมเฉลยคาตอบ แบบทดสอบหลังเรียนพร้อมเฉลยคาตอบและบรรณานุกรม เอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่มใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ เล่มละ 1-2 ชั่วโมง ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ รวมเวลาเรียน 18 ชั่วโมงใน 11 เล่ม
  • 2. 2 คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน 1. เอกสารประกอบการเรียน ชุด ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสมัยอยุธยา ถึงธนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่าคา ตาบลแม่เงิน เป็นเอกสารประกอบการเรียนที่จะทาให้นักเรียนเกิดความรู้ และตระหนักถึง ความสาคัญของ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณี ของท้องถิ่น เกิดความ รักท้องถิ่น และภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง และ รักความเป็นไทย เป็นคนดีของครอบครัวและสังคม ให้อยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข 2. ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนในเอกสารประกอบการเรียน ชุดประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และสมัยอยุธยาถึงธนบุรี ดังนี้ 2.1 ศึกษาคาชี้แจงการใช้สาระสาคัญ และจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.2 ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ ของ นักเรียนในเรื่องที่กาลังจะเรียนว่าอยู่ในเกณฑ์ใด 2.3 ศึกษาเนื้อหาสาระประจาเล่ม และทาแบบฝึกหัด 2.4 ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ ของนักเรียนว่าเพิ่มมากขึ้นกว่าก่อนเรียนหรือไม่ 2.5 นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ มีความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่เปิดดูเฉลยก่อน เมื่อเกิดปัญหาให้สอบถาม ครูผู้สอน และหากทาคะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์สามารถกลับมาทบทวนเนื้อหาสาระ และทา แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบใหม่จนผ่านเกณฑ์
  • 3. 3 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 : เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด ส 4.1 ป. 5/1 สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐาน ที่หลากหลาย ส 4.1 ป. 5/2 รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อตอบคาถาม ทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหตุผล
  • 4. 4 จุดประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสื่อสาร ใฝ่เรียนรู้ และรักความเป็นไทย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. บอกประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านป่าคา ตาบลแม่เงินได้ 2.บอกหลักฐานที่ใช้ศึกษาความเป็นมาของหมู่บ้านป่าคาตาบลแม่ เงินได้ 3.ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนที่อาศัยได้อย่าง เหมาะสม 4. เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้และรักความเป็นไทย
  • 5. 5 นักเรียนกาเครื่องหมาย  ทับหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ( ข้อละ 1 คะแนน ) 1. ข้อใดเป็นชื่อเดิมของโรงเรียนชุมชนบ้านป่าคาแม่เงินสามัคคี ก. โรงเรียนบ้านป่าคา ข. โรงเรียนบ้านป่าคาแม่เงิน ค. โรงเรียนบ้านแม่คา ง. โรงเรียนบ้านแม่เงิน (ราษฎร์บารุง) 2. ตาบลแม่เงินมีทั้งหมดกี่หมู่บ้าน ก. 6 หมู่บ้าน ข. 7 หมู่บ้าน ค. 8 หมู่บ้าน ง. 9 หมู่บ้าน 3. ปัจจุบันใครเป็นนายกเทศมนตรีเทศบาลตาบลแม่เงิน ก. นายสมบูรณ์ พรมอินทร์ ข. นายพิชัย จันแปงเงิน ค. นายดารง จันแปงเงิน ง. นายธีระ เงินสัจจา คาชี้แจง แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน
  • 6. 6 4. หลักฐานที่บอกความเป็นมาของหมู่บ้านแม่เงิน แห่งแรกคือข้อใด ก. สถานีอนามัย ข. โรงเรียน ค. วัดหรืออาราม ง. ที่ว่าการอาเภอ 5. ข้อใด ไม่ใช่ ศาสนสถานภายในวัดวาอาราม ก. พระอุโบสถ ข. หอระฆัง ค. ศาลาการเปรียญ ง. โรงอาหาร 6. ประชากรของหมู่บ้านป่าคา ตาบลแม่เงิน ส่วนใหญ่มีอาชีพด้านใด ก. การเกษตรกรรม ข. การค้าขาย ค. การรับจ้างและประมง ง. รับราชการและอาชีพอิสระ 7. ประเพณีที่มีชื่อเสียงของชุมชนในอาเภอเชียงแสน คือข้อใด ก. วันเข้าพรรษา ข. วันสงกรานต์ ค. การบวชภาคฤดูร้อน ง. การแข่งเรือพายในแม่น้าโขง
  • 7. 7 8. เขตบริการในการปกครองดูแลของสถานีตารวจภูธรตาบลบ้านแซว คือ ข้อใด ก. ตาบลแม่เงินและตาบลป่าสัก ข. ตาบลบ้านแซวและตาบลเวียง ค. ตาบลป่าสักและตาบลแม่เงิน ง. ตาบลแม่เงินและตาบลบ้านแซว 9. ตาแหน่งใดเป็นตาแหน่งของผู้บริหารสูงสุดของเทศบาลตาบล ก. นายกสภาตาบล ข. นายกเทศมนตรี ค. ประธานสภาตาบล ง. นักวิชาการสภาตาบล 10.ข้อใดเป็นโบราณสถานที่สาคัญของตาบลแม่เงิน ก. วัดเจดีย์หลวง ข. วัดพระธาตุผาเงา ค. วัดพระธาตุแสนคาฟู ง. วัดพระธาตุจอมกิตติ เพื่อน ๆ ทาแบบทดสอบ ก่อนเรียนนะคะ
  • 8. 8 ข้อ คาตอบ 1. ง 2. ค 3. ค 4. ค 5. ง 6. ก 7. ง 8. ง 9. ข 10. ค เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน เพื่อน ๆ ตรวจคาตอบนะคะ
  • 9. 9 บ้านป่าคา ตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เดิมก่อนที่จะ เป็นหมู่บ้าน เป็นพื้นที่ราบป่าดงไม้ยืนต้น ผสมด้วยไม้ไผ่ และที่ว่าง มีหญ้าคา ขึ้นเป็นหย่อมๆ อันเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้านป่าคาในเวลาต่อมา ด้านทิศเหนือ เป็นภูเขาเตี้ยๆ สลับสูงชัน ด้านทิศตะวันออก ติดกับแม่น้าเงิน ด้านทิศใต้ ติดกับแม่น้าเงิน ลาดไหลลงไปถึงแม่น้ายาบ เขตบ้านแม่เงินปัจจุบัน ด้านทิศตะวันตก ติดกับป่าโปร่งไปจนถึงบ้านปงของ ประวัติบ้านป่ าคา
  • 10. 10 จากการให้ข้อมูล พ่อหนานดวงคา จันแปงเงิน เกิดวันที่ 1 ตุลาคม 2488 อายุ70ปี พ่อน้อยชัยลังกา แม่เกี๋ยง จันแปงเงิน ผู้เป็นปู่ ย่า เล่าว่า หมู่บ้านป่าคา เป็นป่าโปร่งกว้างมีแม่น้าสายเล็กๆ ผ่านกลางบ้าน ไหลลงจากเทือกเขาชื่อว่าห้วย ทรายขาว (ห้วยดินขาว) มีชาวบ้านกลุ่มเล็กๆ ซึ่งเดิมอาศัยอยู่บ้านแม่เงินเป็นหลัก ต่อจากนั้นมาจึงได้ขยายพื้นที่ทากินมายังบ้านป่าคาปัจจุบันเพราะมีพื้นที่อุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก ในการอพยพย้ายถิ่นฐานครั้งนั้น เกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2440 ประกอบด้วยครอบครัวหลัก คือ พ่อน้อยพิชัย และ แม่เฟย จันแปงเงิน และอีก 14 ครอบครัว พากันมารวมกัน จัดตั้งเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆกลางป่าชื่อว่า บ้านป่าคา เป็นหมู่บ้านที่ยังขึ้นกับบ้านแม่เงินหมู่ 6ไม่มีผู้ใหญ่บ้านอยู่กันมาเหมือนพี่น้อง ร่วมพ่อแม่เดียวกัน
  • 11. 11 ปี พ.ศ.2452 ได้จัดตั้งผู้ใหญ่บ้านคนแรก คือ พ่อน้อยพิชิต จันแปงเงิน และในเวลาต่อมาอีก 3 ปี จึงได้จัดตั้งอารามขึ้น เพื่อเป็นที่พึ่งพาทางใจ ต่อมา พัฒนาเป็นวัดป่าคาในปัจจุบันปี พ.ศ. 2455 ได้นิมนต์พระภิกษุจากวัดบ้านแม่คา หมู่ 4 ชื่อว่า พระปัญญาป้ อมสมุทร์ เป็นเจ้าอาวาสองค์แรก ปัจจุบันมีพระณรงค์ รักษาการเจ้าอาวาสวัดป่าคาและในปี พ.ศ. 2498 ได้ก่อตั้ง โรงเรียนโดยอาศัยวัด เป็นที่เรียน ชื่อ โรงเรียนบ้านป่าคาประชาสามัคคีและผู้ใหญ่บ้าน บ้านป่าคา คนปัจจุบัน ชื่อ นายศรชัย ธรรมวงศ์อายุ 40 ปี พระปัญญาป้อมสมุทร์ พ่อน้อยพิชิต จันแปงเงิน
  • 12. 12 ตาบลแม่เงิน ได้มีราษฎรอพยพมาจากจังหวัดลาปาง พะเยา และเชียงใหม่ โดยการนาของท้าวอาษานายแสน กันทะและนายคาปานาราษฎรประมาณ5–6 ครัวเรือน มาปลูกบ้านเรือนที่อยู่อาศัย ตั้งชื่อบ้านว่า “บ้านแม่เงิน” อยู่ในเขต การปกครองของตาบลบ้านแซว ในปี พ.ศ.2527 ตาบลแม่เงิน ได้แยกจากเขต การปกครองของตาบลบ้านแซว ประวัติความเป็นมา ตาบลแม่เงิน
  • 13. 13 ทิศเหนือ ติดต่อ ตาบลเชียงของ อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ทิศใต้ ติดต่อ ตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ทิศตะวันออก ติดต่อ ตาบลเวียง อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ทิศตะวันตก ติดต่อ สาธารณประชาธิปไตยประชาชนลาว แผนที่ ตาบลแม่เงินโดยสังเขป อาณาเขตตาบลแม่เงิน
  • 14. 14 จานวนประชากรในเขต8,447 คนและจานวนหลังคาเรือน2,563 หลังคาเรือน ประกอบด้วย12หมู่บ้านคือหมู่ที่ 1 บ้านสันต้นเปา หมู่ที่ 2 บ้านสบยาม หมู่ที่ 3 บ้านป่าคาหมู่ที่ 4บ้านแม่คาหมู่ที่ 5บ้านปงของหมู่ที่ 6บ้านแม่เงินหมู่ที่ 7บ้านไร่ หมู่ที่ 8 บ้านป่าคาใต้หมู่ที่ 9บ้านป่าคาเหนือหมู่ที่ 10 บ้านปงของเหนือหมู่ที่ 11 บ้านธารทอง หมู่ที่ 12 บ้านแม่คาเหนือ ประกอบด้วย คนไทยพื้นเมือง ไทยลื้อ และลาวนับถือศาสนาพุทธ อาชีพหลักทานา ทาสวน อาชีพเสริมรับจ้าง 1)พระธาตุแสนคาฟู 2)วัดพระธาตุม่อนต้นต้อง 3)วัดป่ายาง 4)น้าตกผาแตก จานวนประชากรของตาบลแม่เงิน ข้อมูลอาชีพของประชากร แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญของตาบลแม่เงิน
  • 15. 15 โรงเรียนชุมชนบ้านป่าคาแม่เงินสามัคคีตั้งอยู่หมู่บ้านป่าคาหมู่8 ตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เดิมชื่อ “โรงเรียนบ้านแม่เงิน (ราษฎร์บารุง)” ตั้งเมื่อ พ.ศ.2497 ที่บ้านแม่เงิน ต่อมาย้ายมาตั้งอยู่บ้านป่าคา เมื่อ พ.ศ. 2498 โดย เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนชุมชนบ้านป่าคาแม่เงินสามัคคี ปีการศึกษา2534โรงเรียน เข้าโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปัจจุบันเปิดสอนในระดับชั้นอนุบาลปีที่ 1ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3จานวน นักเรียน281คนมีนายยงยุทธวงศ์ชัย เป็นผู้อานวยการโรงเรียน จานวนครู 20 คน กิจกรรมเด่นของนักเรียน คือ กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง การสร้าง ผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น กิจกรรมธนาคารขยะ และการจัดทา โครงงานวิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมชนบ้านป่ าคาแม่เงินสามัคคี
  • 16. 16 โรงเรียนชุมชนบ้านป่าคาแม่เงินสามัคคี อยู่ห่างจากอาเภอเชียงแสน ประมาณ 26 กิโลเมตร และห่างจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 3 ประมาณ 56 กิโลเมตร เส้นทางคมนาคมไปยังโรงเรียน เป็น ถนนลาดยางตลอดเส้นทาง แต่ค่อนข้างคดเคี้ยว ส่วนการติดต่อสื่อสาร สามารถ ใช้ได้ทั้งโทรศัพท์พื้นฐาน โดยหมายเลขโทรศัพท์ ของโรงเรียน คือ 0-5318-228 นอกจากนี้ยังสามารถใช้โทรศัพท์มือถือได้ แผนที่โรงเรียนชุมชนบ้านป่ าคาแม่เงินสามัคคีโดยสังเขป
  • 17. 17 สถานีตารวจภูธรตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย สังกัด สานักงานตารวจแห่งชาติ กระทรวงมหาดไทย ตั้งอยู่ที่บ้านแซว ตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ก่อตั้งเป็นเวลาประมาณ 46 ปี ล่วงมาแล้ว เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511 ได้มีการดาเนินการก่อสร้างที่ทาการใหม่ปัจจุบันอยู่ สถานีตารวจภูธรตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
  • 18. 18 ในระหว่างการดาเนินงาน จึงใช้สถานที่อาคารเดิมบริการประชาชนอยู่มีเขต บริการที่รับผิดชอบครอบคลุมไปจนถึงตาบลแม่เงิน รวมจานวนพื้นที่หมู่บ้าน ในเขตบริการทั้งสองตาบลรวม 27 หมู่บ้าน โดยมีหัวหน้าสถานีตารวจภูธร ตาบล บ้านแซว คือ พ.ต.ท. นิธิกร เดชบุญ มีกาลังพลทั้งหมด 33 นาย นอกจากภารกิจ ตามขอบข่ายการบริหารจัดการตามบทบาทหน้าที่แล้ว ยังมีภารกิจเสริมที่สาคัญ คือ การมีส่วนร่วมในการทะนุบารุงศาสนา โบราณสถาน โบราณวัตถุ การป้ องกันดูแลความปลอดภัย สถานที่สาคัญอื่นๆ เช่น วัดพระธาตุแสนคาฟู บ้านสันต้นเปา ตาบลแม่เงิน อนุสรณ์สถานสามผู้กล้าของพลเรือน ตารวจและ ทหารของบ้านห้วยกว๊าน ตาบลบ้านแซว ท่าเรือพาณิชย์ริมฝั่งแม่น้าโขง อาเภอ เชียงแสน แห่งที่ 1 และ แห่งที่ 2 ที่บ้านสบกก ตาบลบ้านแซว จังหวัดเชียงราย คิดเป็นระยะทางจากอาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ถึงอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ประมาณ 80 กิโลเมตรเศษ สถานีตารวจภูธรตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย แผนที่สถานีตารวจภูธรตาบลบ้านแซว โดยสังเขป
  • 19. 19 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย สังกัดกรมส่งเสริมสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2512 เป็นระยะเวลา 45 ปี ผ่านมา เป็นที่เดิมของโรงเรียนบ้านปงของ ต่อมาโรงเรียน บ้านปงของได้ย้ายไปสร้างในหมู่บ้านปงของ ราษฎรจึงสนับสนุนให้เป็นสถานที่ ก่อสร้างของโรงพยาบาลในเนื้อที่ 1ไร่ 2งาน เมื่อ พ.ศ. 2541เป็นระยะเวลา 16ปี ผู้อานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลแม่เงิน คนปัจจุบัน คือ นายวิษณุพงษ์ ยารวง มีบุคลากรทั้งหมด จานวน 7 คน สถานที่ตั้งอยู่ห่างจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
  • 20. 20 อาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ประมาณ 90 กิโลเมตร มีเขตบริการที่อยู่ใน ความรับผิดชอบของโรงพยาบาล ทั้งหมด 7 หมู่บ้าน การคมนาคมและระบุ สาธารณูปโภคจัดว่าอยู่ในระดับดี มีความสะดวกสบาย สาหรับการติดต่อสื่อสาร ของประชาชน และโรงพยาบาลอยู่ห่างจากตัวอาเภอเชียงแสนประมาณ 30 กิโลเมตร
  • 21. 21 องค์การบริหารส่วนตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย องค์การบริหารส่วนตาบลแม่เงินอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ได้ก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2537 นับเป็นระยะเวลาประมาณ 20 ปี ล่วงมาแล้ว เดิม อยู่ในฐานะเป็น สภาตาบลต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นองค์การบริหารส่วนตาบลแม่เงินเมื่อปี พ.ศ.2539 และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเทศบาลตาบลแม่เงินในปี พ.ศ.2557มีนายกเทศมนตรี เทศบาลตาบลแม่เงินคนปัจจุบันชื่อนายดารงจันแปงเงินสถานที่ก่อตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 6 ตาบล แม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอาเภอ เชียงแสนซึ่งมีระยะทางห่างจากอาเภอเชียงแสนประมาณ 26 กิโลเมตร โดยด้านทิศ ตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวมีแม่น้าโขง เป็นแนวกั้นอาณาเขตทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับตาบลริมโขง อาเภอเชียงแสน ทิศตะวันออกติดต่อกับตาบลเวียง อาเภอเชียงของและทิศใต้ติดต่อกับตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
  • 22. 22 พื้นที่ส่วนใหญ่ของหมู่บ้านที่อยู่ในเขตบริการของโรงเรียนชุมชนบ้าน ป่าคาแม่เงินสามัคคี เป็นที่ราบระหว่างภูเขา สามารถใช้ทาการเกษตรได้ เกือบ ทั้งหมดของพื้นที่มีแหล่งน้าตามธรรมชาติ เช่น คู คลอง และแหล่งน้าที่สร้างขึ้น เช่น บ่อบาดาล บ่อน้าสระน้า ตลอดจนมีประปา ที่นาน้ามาจากภูเขา และ น้าประปาหมู่บ้าน ลักษณะภูมิประเทศของหมู่บ้านในเขตบริการโรงเรียน
  • 23. 23 ในหมู่บ้านประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทาไร่ ทานา ทาสวนผลไม้ ผักต่างๆและรับจ้างทางานในภาคเกษตร ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 63,125 ไร่ เป็นเทือกเขาติดต่อกัน 2 ลูก และเป็น ป่าโปร่งขาด ความสมบูรณ์ ประมาณ 34,129 ไร่ เป็นป่าไม้เบญพรรณ คิดเป็นร้อยละ 62 ของ พื้นที่ มีต้นน้าที่น้าตกไหลเป็นลาธารของตาบล จานวนหมู่บ้านทั้งหมด 12 หมู่บ้าน คือ บ้านสันต้นเปา บ้านสบยาม บ้านป่าคา บ้านแม่คาเหนือ บ้านปงของ บ้านแม่เงิน บ้านไร่ บ้านป่าคาใต้ บ้านป่าคาเหนือบ้านปงของเหนือบ้านธารทองและ บ้านแม่คา มีประชากรทั้งหมด 8,447 คน จานวน 2,563 ครัวเรือน มีอาชีพ เกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ในเขตบริการของเทศบาลตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เพื่อนๆมาศึกษาและเรียนรู้ประวัติ ความเป็นมาของบ้านป่ าคากันะคะ
  • 24. 24 ที่ คา คาอ่าน ความหมาย 1. เกษตรกรรม กะ-เสด-ตระ-กา การเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์รวมถึง การป่าไม้และเหมืองแร่ 2. เขตบริการ เขด-บอ-ริ-กาน พื้นที่รับผิดชอบอานวยความ สะดวก 3. ถิ่นฐาน ถิ่น-ถาน ถิ่นที่อยู่อาศัย 4. บุคลากร บุก - คะ - ลา - กอน ผู้ปฏิบัติงานตามหน้าที่ของแต่ละ หน่วยงาน 5. เบญจพรรณ เบน-จะ-พัน ต้นไม้ต่างๆ ที่ปลูกไว้ในที่แห่ง เดียวกัน 6. ผลิตภัณฑ์ ผะ-หลิด-ตะ-พัน สิ่งที่ได้จากการผลิต 7. พาณิชย์ พา-นิด การค้าขาย 8. ภารกิจ พา-ระ-กิด ธุระ , หน้าที่ 9. เศรษฐกิจ พอเพียง เสด-ถะ-กิด-พอ-เพียง งานอันเกี่ยวกับการผลิตการ จาหน่ายจ่ายแจกและการบริโภค ใช้สอยสิ่งต่างๆของชุมชน 10. สาธารณูปโภค สา-ทา-ระ-นู-ปะ-โพก บริการสาธารณะที่จัดทาเพื่อ อานวยประโยชน์แก่ประชาชนใน สิ่งอุปโภคที่จาเป็นต่อการดาเนิน ชีวิต เช่น การไฟฟ้า การประปา คาอธิบายศัพท์ เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน
  • 25. 25 ที่ คา คาอ่าน ความหมาย 11. อนุสรณ์สถาน อะ-นุ-สอน-สะ-ถาน สถานที่ที่เป็นการแสดงความ ระลึกถึง 12. อพยพ อบ – พะ – ยบ ย้ายจากถิ่นหนึ่งไปอยู่อีกถิ่นหนึ่ง 13. อาณาเขต อา – นา – เขด เขตแดนในอานาจการปกครอง 14. อาราม อา – ราม วัด เพื่อน ๆมาทบทวนคาศัพท์กันนะครับ
  • 26. 26 แบบฝึกหัด เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน นาคาที่กาหนดให้เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (ข้อละ 1 คะแนน) 1. แม่น้าที่สาคัญที่ไหลผ่านอาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย คือ 2. ข้อมูลของหมู่บ้านป่าคาตาบลแม่เงิน จังหวัดเชียงราย ที่สามารถสืบค้น ได้จาก 3. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่เป็นหลักฐานชั้นต้น คือ 4. การมีส่วนร่วมพัฒนาหมู่บ้านของนักเรียนได้แก่ 5. การอนุรักษ์โบราณสถานหรือสาธารณสถานของชุมชน ได้แก่ 6. แม่น้าที่กั้นพรมแดนระหว่างประเทศไทยและลาว คือ 7. โบราณสถานในอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ถือได้ว่าเป็น 8. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของตาบลแม่เงิน ส่วนใหญ่ เป็น 9. อาณาเขตของหมู่บ้านป่าคา ตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน ที่ติดต่อกับ ประเทศเพื่อนบ้าน คือ 10.หมู่บ้านป่าคา ตาบลแม่เงิน หลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ แม่น้ากก อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ตานานหรือสัมภาษณ์ คนรุ่นเก่าก่อน เทือกเขา2ลูก ไม่ทิ้งขยะและไม่ขีดเขียน ตามฝาผนัง แม่น้าโขง สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ศิลาจารึก ประเทศเมียนมาร์ คาชี้แจง ปลูกต้นไม้ใน ที่สาธารณะ
  • 27. 27 แบบฝึกหัด เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน นาคาที่กาหนดให้เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (ข้อละ 1 คะแนน) 1. แม่น้าที่สาคัญที่ไหลผ่านอาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย คือ แม่น้ากก 2. ข้อมูลของหมู่บ้านป่าคาตาบลแม่เงิน จังหวัดเชียงราย ที่สามารถสืบค้นได้ จาก ตานานหรือสัมภาษณ์คนรุ่นเก่าก่อน 3. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่เป็นหลักฐานชั้นต้น คือ ศิลาจารึก 4. การมีส่วนร่วมพัฒนาหมู่บ้านของนักเรียนได้แก่ ปลูกต้นไม้ในที่สาธารณะ 5. การอนุรักษ์โบราณสถานหรือสาธารณสถานของชุมชน ได้แก่ ไม่ทิ้งขยะ และไม่ขีดเขียนตามฝาผนัง 6. แม่น้าที่กั้นพรมแดนระหว่างประเทศไทยและลาว คือ แม่น้าโขง 7. โบราณสถานในอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ถือได้ว่าเป็น หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 8. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของตาบลแม่เงิน ส่วนใหญ่ เป็น เทือกเขา 2 ลูก 9. อาณาเขตของหมู่บ้านป่าคา ตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน ที่ติดต่อกับ ประเทศเพื่อนบ้าน คือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 10.หมู่บ้านป่าคา ตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย คาชี้แจง หลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ แม่น้ากก อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ตานานหรือสัมภาษณ์ คนรุ่นเก่าก่อน เทือกเขา2ลูก ไม่ทิ้งขยะและไม่ขีดเขียน ตามฝาผนัง แม่น้าโขง สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ศิลาจารึก ประเทศเมียนมาร์ ปลูกต้นไม้ใน ที่สาธารณะ
  • 28. 28 นักเรียนกาเครื่องหมาย ทับหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 1 คะแนน) 1. ประชากรของหมู่บ้านป่าคา ตาบลแม่เงิน ส่วนใหญ่มีอาชีพด้านใด ก. การเกษตรกรรม ข. การค้าขาย ค. การรับจ้างและประมง ง. รับราชการและอาชีพอิสระ 2. ประเพณีที่มีชื่อเสียงของชุมชนในอาเภอเชียงแสน คือข้อใด ก. วันเข้าพรรษา ข. วันสงกรานต์ ค. การบวชภาคฤดูร้อน ง. การแข่งเรือพายในแม่น้าโขง 3. เขตบริการในการปกครองดูแลของสถานีตารวจภูธรบ้านแซว คือข้อใด ก. ตาบลแม่เงินและตาบลป่าสัก ข. ตาบลบ้านแซวและตาบลเวียง ค. ตาบลป่าสักและตาบลแม่เงิน ง. ตาบลแม่เงินและตาบลบ้านแซว คาชี้แจง แบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน
  • 29. 29 4. ตาแหน่งใดเป็นตาแหน่งของผู้บริหารสูงสุดของเทศบาลตาบล ก. นายกสภาตาบล ข. นายกเทศมนตรี ค. ประธานสภาตาบล ง. นักวิชาการสภาตาบล 5. ข้อใดเป็นโบราณสถานที่สาคัญของตาบลแม่เงิน ก. วัดเจดีย์หลวง ข. วัดพระธาตุผาเงา ค. วัดพระธาตุแสนคาฟู ง. วัดพระธาตุจอมกิตติ 6. ข้อใดเป็นชื่อเดิมของโรงเรียนชุมชนบ้านป่าคาแม่เงินสามัคคี ก. โรงเรียนบ้านป่าคา ข. โรงเรียนบ้านป่าคาแม่เงิน ค. โรงเรียนบ้านแม่คา ง. โรงเรียนบ้านแม่เงิน (ราษฎร์บารุง) 7. ตาบลแม่เงินมีทั้งหมดกี่หมู่บ้าน ก. 6 หมู่บ้าน ข. 7 หมู่บ้าน ค. 8 หมู่บ้าน ง. 9 หมู่บ้าน
  • 30. 30 8. ปัจจุบันใครเป็นนายกเทศมนตรีเทศบาลตาบลแม่เงิน ก. นายสมบูรณ์ พรมอินทร์ ข. นายพิชัย จันแปงเงิน ค. นายดารง จันแปงเงิน ง. นายธีระ เงินสัจจา 9. หลักฐานที่บอกความเป็นมาของหมู่บ้านแม่เงิน แห่งแรกคือข้อใด ก. สถานีอนามัย ข. โรงเรียน ค. วัดหรืออาราม ง. ที่ว่าการอาเภอ 10.ข้อใด ไม่ใช่ ศาสนสถานภายในวัดวาอาราม ก. พระอุโบสถ ข. หอระฆัง ค. ศาลาการเปรียญ ง. โรงอาหาร เพื่อน ๆ ทาแบบทดสอบ หลังเรียนนะคะ
  • 31. 31 ข้อ คาตอบ 1. ก 2. ง 3. ง 4. ข 5. ค 6. ง 7. ค 8. ค 9. ค 10. ง เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน เพื่อน ๆ ตรวจคาตอบนะคะ
  • 32. 32 ธีระ เงินสัจจา. องค์การบริหารส่วนตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัด เชียงราย. เชียงราย:ม.ป.พ,2555.(เอกสารอัดสาเนา) บดินทร์ กินาวงศ์. เอกสารการศึกษาประกอบวิชาหลักสูตรท้องถิ่น ประวัติศาสตร์เมืองเชียงราย – เชียงแสน. เชียงราย :สามัญศึกษา จังหวัดเชียงราย, 2546. โรงเรียนบ้านป่ าคาแม่เงินสามัคคี. (ออนไลน์)แหล่งที่มา:http://www.cpmschool. blogspot.com/p/blog-page.html?m=1,2552. วิษณุพงษ์ ยารวง. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย. เชียงราย:ม.ป.พ,2554.(เอกสารอัดสาเนา) สัมภาษณ์ ศรชัย ธรรมวงศ์. ผู้ใหญ่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย. 16เมษายน2556. ________.พ.ต.ท.นิธิกร เดชบุญ.หัวหน้าสถานีตาบลภูธรตาบลบ้านแซว อาเภอ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย. 10 พฤษภาคม 2556. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียน สาระการเรียนรู้พื้นฐานประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. กรุงเทพมหานคร :คุรุสภา,2547. อาณาจักรโยนกเชียงแสน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา:http://www.nookjung.com/ travel/wpcontent/uploads/2009/08/n25.jpg. 2552. บรรณานุกรม