SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
ในปัจจุบันเป็นยุคของกระแสโลกาภิวัตน์ที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศแบบก้าวกระโดด ซึ่งเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วย
องค์ประกอบที่สาคัญ 2 องค์ประกอบ คือ เทคโนโลยีเพื่อการประมวลผล คือ
ระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีเพื่อการเผยแพร่ คือระบบสื่อสารโทรคมนาคม
และเทคโนโลยีอื่นๆ ซึ่งแนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต สรุปได้
ดังนี้
1. ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ซึ่งในอนาคต
คาดว่าจะมีแนวโน้มการใช้งาน ดังนี้
1.1 ฮาร์ดแวร์
1.1.1 แท็บเล็ต (tablet) ได้รับความนิยมมาตั้งปี พ.ศ. 2554
และจะได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่องและสูงขึ้นในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่งไอ
แพด (iPad ของ Apple)
1.1.2 สมาร์ทโฟน (smartphone) คือ โทรศัพท์มือถือ หรือ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ มีระบบปฏิบัติการระดับสูง
ในตัว มีความยืดหยุ่นในการใช้งานสูง สามารถติดตั้งโปรแกรมได้หลากหลาย ซึ่ง
ปัจจุบันมีสมาร์ทโฟนที่ผลิตออกมากกว่า 300 รุ่นในตลาด ซึ่งมีราคาตั้งแต่ 5,000
บาทขึ้นไป ที่ได้รับความนิยมมากคือ ไอโฟน (iPhone)
1.2 ซอฟต์แวร์ แนวโน้มของซอฟต์แวร์ในอนาคตจะมีลักษณะเป็น
SaaS ที่ใช้สาหรับองค์กรธุรกิจ และ โมบายแอปพลิเคชั้นสาหรับผู้บริโภค ซึ่งมี
รายละเอียดดังนี้
1.2.1 Software as a Service (SaaS) คือ การใช้ซอฟต์แวร์
แอปพลิเคชั้นเหมือนกับการรับบริการ ซึ่งไม่ต้องมีการลงทุนซื้ออุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
และซอฟต์แวร์ใดๆ แต่สามารถใช้
งานซอฟต์แวร์ได้ตามที่ต้องการ
1.2.2 โมบายแอปพลิเคชั้น (mobile application) สาหรับ
ผู้บริโภคจะมีการเติบโตเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากมีอัตราการใช้อุปกรณ์
เคลื่อนที่ อย่างโทรศัพท์มือถือและแท็บเล็ตที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งศูนย์วิจัยกสิกรไทย
ได้วิเคราะห์ถึงสภาพการณ์ และแนวโน้มตลาดโมบายล์แอปพลิเคชั้นในประเทศ
ไทยพบว่าจะมีการเติบโตแบบก้าวกระโดด
1.3 คลาวด์คอมพิวติ้ง (cloud computing) เป็นแนวโน้มที่กาลังได้รับ
ความนิยม ซึ่งเป็นแนวคิดสาหรับแพลตฟอร์ม (platform) ของระบบคอมพิวเตอร์
ในยุคหน้า เพื่อเป็นทางเลือกให้แก่ผู้ใช้ในการลดภาระด้านการลงทุนใน
เทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งการใช้งานในระดับองค์กรธุรกิจ (corporate users)
และ ผู้ใช้ระดับส่วนบุคคล (individual users) โดยเป็นหลักการนาทรัพยากรของ
ระบบสารสนเทศ ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์มาแบ่งปันในรูปแบบการให้บริการ
(Software As A Services: SaaS) ในระดับการประมวลผลผ่านเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต
2. ระบบสื่อสารโทรคมนาคม
ระบบสื่อสารโทรคมนาคมในอนาคตจะมีการบูรณาการเข้าด้วยกันระบบ
คอมพิวเตอร์ซึ่งจะกลายเป็นเทคโนโลยีคอนเวอร์เจนซ์ (convergence) ใน
อนาคตจะมีการใช้ระบบการสื่อสารและระบบเครือข่ายในหลากหลายรูปแบบ
และที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากที่สุด คือ เครือข่ายสังคมออนไลน์ (online
social network) และการทาธุรกิจแบบโซเซียลคอมเมิร์ส (social commerce)
ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
2.1 เครือข่ายสังคมออนไลน์ (online social network) หมายถึง
เว็บไซต์ที่ให้บริการผู้ใช้ให้สามารถสร้างเว็บ โฮมเพจของตน เขียนเว็บบล็อก โพ
สต์รูปภาพ วิดีโอ ดนตรี เพลง รวมถึงการแชร์ความคิด และสามารถเชื่อมโยงไป
ยังเว็บไซต์อื่นๆ
2.2 โซเชียลคอมเมิรซ์ (Social Commerce) คือ การใช้เครือข่ายสังคม
ออนไลน์ในการค้าขาย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-
Commerce) เป็นการนาโซเชียลมีเดีย (social media) และสื่อออนไลน์แบบ
ต่างๆ มาช่วยในการสร้างการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ขายกับผู้ซื้อ ช่วยในการขาย
สินค้าออนไลน์ต่างๆ ผ่านทางเว็บไซต์
3. นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในอีก 5 ปี ข้างหน้า
บริษัทไอบีเอ็ม (IBM) ได้นาเสนอ IBM Give in Five 5 นวัตกรรมล้ายุคที่คาดว่า
จะเปลี่ยนแปลงชีวิตของเรา รวมถึงนาเสนอเทคโนโลยีใหม่ๆ ในอีก 5 ปีข้างหน้า
(พ.ศ. 2556-2560) ดังนี้
3.1 การสร้างพลังงานขึ้นเองเพื่อใช้ภายในบ้าน คือ การที่ทุกคน
สามารถสร้างพลังงานเพื่อใช้ภายในบ้านขึ้นเองได้ การเคลื่อนไหวต่างๆ ไม่ว่าจะ
เป็นการเดิน ขี่จักรยาน และสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัว เช่น ความร้อนจากคอมพิวเตอร์
จะสามารถสร้างพลังงาน ซึ่งสามารถเก็บรวบรวมและนาพลังงานสะอาดนี้มาใช้
งานภายในบ้าน สถานที่ทางาน และเมืองต่างๆ
3.2 มนุษย์จะใช้เสียงพูด ใบหน้าและดวงตาแทนรหัสผ่าน ในอนาคต
เราจะไม่ต้องใช้รหัสผ่านอีกต่อไป เพราะข้อมูลทางไบโอเมตริก (biometric) เช่น
ข้อมูลเกี่ยวกับเค้าโครงใบหน้า การสแกนม่านตา และไฟล์เสียงพูด จะถูก
ประกอบเข้าด้วยกันผ่านทางซอฟต์แวร์ เพื่อสร้างรหัสผ่านออนไลน์ ซึ่งในอนาคต
เราเพียงแต่เพียงไปถอนเงินที่ตู้เอทีเอ็มอย่างปลอดภัย เพียงแต่พูดชื่อหรือมอง
3.3 มนุษย์สามารถใช้สมองสั่งงานแลปทอป (laptop) และ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ ในขณะนี้ได้มีนักวิทยาศาสตร์ในสาขาชีวสารสนเทศ หรือไบ
โออินฟอร์เมติกส์ (Bioinformatics) กาลังทาการคุ้นคว้าวิธีการเชื่อมโยงสมอง
ของคนเข้ากับอุปกรณ์ต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ หรือสมาร์ทโฟน รวมถึงการ
ออกแบบชุดหูฟังที่มีเซ็นเซอร์พิเศษสาหรับอ่านคลื่นไฟฟ้ าสมอง รวมถึงสีหน้า
ระดับความตื่นเต้น การมีสมาธิจดจ่อและความคิดของบุคคล โดยที่ไม่จาเป็นต้อง
ขยับร่างกาย ภายใน 5 ปีข้างหน้า
3.4 ทุกคนสามารถเข้าข้อมูลต่างๆ ได้ทุกทีทุกเวลาด้วยเทคโนโลยีโม
บาย ในช่วง 5 ปีต่อจากนี้ช้องว่างระหว่างผู้ที่มีข้อมูลและผู้ที่ไม่มีข้อมูลจะลด
น้อยลงเป็นอย่างมาก เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีโมบาย ซึ่งใน
ประเทศอินเดีย บริษัทไอบีเอ็มใช้เทคโนโลยีเสียงพูดและอุปกรณ์พกพาเพื่อช่วย
ให้ชาวชนบทที่ไม่รู้หนังสือสามารถถ่ายทอดข้อมูลผ่านทางข้อความที่บันทึกไว้ใน
โทรศัพท์ และการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน
3.5 คอมพิวเตอร์จะคัดกรองข้อมูลสาคัญให้สอดคล้องกับความ
ต้องการและพฤติกรรมของผู้ใช้ ในอีก 5 ปีข้างหน้าจะการใช้เทคโนโลยีระบบ
วิเคราะห์ข้อมูลแบบเรียลไทม์ (real time) เพื่อกลั่นกรองและผนวกข้อมูลจากทุก
แง่มุมของชีวิต ตั้งแต่ข่าวสาร ไปจนถึงกีฬา การเมือง หรือแม้แต่กระทั่งเทคโนโลยี
ที่ผู้ใช้ชื่นชอบ และจะตัดโฆษณาที่ผู้รับข้อมูลไม่พึงประสงค์ออกไป พร้อมกับ
นาเสนอและแนะนาข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ผู้บริโภคอย่างแท้จริง
3.4 ทุกคนสามารถเข้าข้อมูลต่างๆ ได้ทุกทีทุกเวลาด้วยเทคโนโลยีโม
บาย ในช่วง 5 ปีต่อจากนี้ช้องว่างระหว่างผู้ที่มีข้อมูลและผู้ที่ไม่มีข้อมูลจะลด
น้อยลงเป็นอย่างมาก เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีโมบาย ซึ่งใน
ประเทศอินเดีย บริษัทไอบีเอ็มใช้เทคโนโลยีเสียงพูดและอุปกรณ์พกพาเพื่อช่วย
ให้ชาวชนบทที่ไม่รู้หนังสือสามารถถ่ายทอดข้อมูลผ่านทางข้อความที่บันทึกไว้ใน
โทรศัพท์ และการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน
3.5 คอมพิวเตอร์จะคัดกรองข้อมูลสาคัญให้สอดคล้องกับความ
ต้องการและพฤติกรรมของผู้ใช้ ในอีก 5 ปีข้างหน้าจะการใช้เทคโนโลยีระบบ
วิเคราะห์ข้อมูลแบบเรียลไทม์ (real time) เพื่อกลั่นกรองและผนวกข้อมูลจากทุก
แง่มุมของชีวิต ตั้งแต่ข่าวสาร ไปจนถึงกีฬา การเมือง หรือแม้แต่กระทั่งเทคโนโลยี
ที่ผู้ใช้ชื่นชอบ และจะตัดโฆษณาที่ผู้รับข้อมูลไม่พึงประสงค์ออกไป พร้อมกับ
นาเสนอและแนะนาข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ผู้บริโภคอย่างแท้จริง

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศpeter dontoom
 
งานนำเสนอ สารสนเทศ
งานนำเสนอ สารสนเทศงานนำเสนอ สารสนเทศ
งานนำเสนอ สารสนเทศAphison Pukon
 
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรสารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรAphison Pukon
 
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรสารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรAphison Pukon
 
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรสารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรAphison Pukon
 
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรสารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรAphison Pukon
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัสArt Asn
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1HI BO
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 

What's hot (18)

(บทที่ 2)
(บทที่ 2)(บทที่ 2)
(บทที่ 2)
 
A0141 20
A0141 20A0141 20
A0141 20
 
Chap1 new
Chap1 newChap1 new
Chap1 new
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ สารสนเทศ
งานนำเสนอ สารสนเทศงานนำเสนอ สารสนเทศ
งานนำเสนอ สารสนเทศ
 
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรสารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
 
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรสารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
 
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรสารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
 
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพรสารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
สารสนเทศ อภิสันต๋+ณัฐพร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

Similar to แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต

บทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นบทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นchaiwat vichianchai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารiamopg
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1teeraratWI
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1teeraratWI
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศKrunee Thitthamon
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องAdsurdity Master
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Similar to แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต (20)

155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นบทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
2
22
2
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

More from วีรวัฒน์ สว่างแสง

การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้นวีรวัฒน์ สว่างแสง
 
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 

More from วีรวัฒน์ สว่างแสง (11)

บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
10741756 764342770324920 1621793549_n
10741756 764342770324920 1621793549_n10741756 764342770324920 1621793549_n
10741756 764342770324920 1621793549_n
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
 
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
 
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
 
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต

  • 2. ในปัจจุบันเป็นยุคของกระแสโลกาภิวัตน์ที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศแบบก้าวกระโดด ซึ่งเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วย องค์ประกอบที่สาคัญ 2 องค์ประกอบ คือ เทคโนโลยีเพื่อการประมวลผล คือ ระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีเพื่อการเผยแพร่ คือระบบสื่อสารโทรคมนาคม และเทคโนโลยีอื่นๆ ซึ่งแนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต สรุปได้ ดังนี้
  • 3. 1. ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ซึ่งในอนาคต คาดว่าจะมีแนวโน้มการใช้งาน ดังนี้ 1.1 ฮาร์ดแวร์ 1.1.1 แท็บเล็ต (tablet) ได้รับความนิยมมาตั้งปี พ.ศ. 2554 และจะได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่องและสูงขึ้นในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่งไอ แพด (iPad ของ Apple)
  • 4. 1.1.2 สมาร์ทโฟน (smartphone) คือ โทรศัพท์มือถือ หรือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ มีระบบปฏิบัติการระดับสูง ในตัว มีความยืดหยุ่นในการใช้งานสูง สามารถติดตั้งโปรแกรมได้หลากหลาย ซึ่ง ปัจจุบันมีสมาร์ทโฟนที่ผลิตออกมากกว่า 300 รุ่นในตลาด ซึ่งมีราคาตั้งแต่ 5,000 บาทขึ้นไป ที่ได้รับความนิยมมากคือ ไอโฟน (iPhone)
  • 5. 1.2 ซอฟต์แวร์ แนวโน้มของซอฟต์แวร์ในอนาคตจะมีลักษณะเป็น SaaS ที่ใช้สาหรับองค์กรธุรกิจ และ โมบายแอปพลิเคชั้นสาหรับผู้บริโภค ซึ่งมี รายละเอียดดังนี้ 1.2.1 Software as a Service (SaaS) คือ การใช้ซอฟต์แวร์ แอปพลิเคชั้นเหมือนกับการรับบริการ ซึ่งไม่ต้องมีการลงทุนซื้ออุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ใดๆ แต่สามารถใช้ งานซอฟต์แวร์ได้ตามที่ต้องการ
  • 6. 1.2.2 โมบายแอปพลิเคชั้น (mobile application) สาหรับ ผู้บริโภคจะมีการเติบโตเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากมีอัตราการใช้อุปกรณ์ เคลื่อนที่ อย่างโทรศัพท์มือถือและแท็บเล็ตที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งศูนย์วิจัยกสิกรไทย ได้วิเคราะห์ถึงสภาพการณ์ และแนวโน้มตลาดโมบายล์แอปพลิเคชั้นในประเทศ ไทยพบว่าจะมีการเติบโตแบบก้าวกระโดด
  • 7. 1.3 คลาวด์คอมพิวติ้ง (cloud computing) เป็นแนวโน้มที่กาลังได้รับ ความนิยม ซึ่งเป็นแนวคิดสาหรับแพลตฟอร์ม (platform) ของระบบคอมพิวเตอร์ ในยุคหน้า เพื่อเป็นทางเลือกให้แก่ผู้ใช้ในการลดภาระด้านการลงทุนใน เทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งการใช้งานในระดับองค์กรธุรกิจ (corporate users) และ ผู้ใช้ระดับส่วนบุคคล (individual users) โดยเป็นหลักการนาทรัพยากรของ ระบบสารสนเทศ ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์มาแบ่งปันในรูปแบบการให้บริการ (Software As A Services: SaaS) ในระดับการประมวลผลผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต
  • 8. 2. ระบบสื่อสารโทรคมนาคม ระบบสื่อสารโทรคมนาคมในอนาคตจะมีการบูรณาการเข้าด้วยกันระบบ คอมพิวเตอร์ซึ่งจะกลายเป็นเทคโนโลยีคอนเวอร์เจนซ์ (convergence) ใน อนาคตจะมีการใช้ระบบการสื่อสารและระบบเครือข่ายในหลากหลายรูปแบบ และที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากที่สุด คือ เครือข่ายสังคมออนไลน์ (online social network) และการทาธุรกิจแบบโซเซียลคอมเมิร์ส (social commerce) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
  • 9. 2.1 เครือข่ายสังคมออนไลน์ (online social network) หมายถึง เว็บไซต์ที่ให้บริการผู้ใช้ให้สามารถสร้างเว็บ โฮมเพจของตน เขียนเว็บบล็อก โพ สต์รูปภาพ วิดีโอ ดนตรี เพลง รวมถึงการแชร์ความคิด และสามารถเชื่อมโยงไป ยังเว็บไซต์อื่นๆ 2.2 โซเชียลคอมเมิรซ์ (Social Commerce) คือ การใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ในการค้าขาย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e- Commerce) เป็นการนาโซเชียลมีเดีย (social media) และสื่อออนไลน์แบบ ต่างๆ มาช่วยในการสร้างการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ขายกับผู้ซื้อ ช่วยในการขาย สินค้าออนไลน์ต่างๆ ผ่านทางเว็บไซต์
  • 10. 3. นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในอีก 5 ปี ข้างหน้า บริษัทไอบีเอ็ม (IBM) ได้นาเสนอ IBM Give in Five 5 นวัตกรรมล้ายุคที่คาดว่า จะเปลี่ยนแปลงชีวิตของเรา รวมถึงนาเสนอเทคโนโลยีใหม่ๆ ในอีก 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2556-2560) ดังนี้ 3.1 การสร้างพลังงานขึ้นเองเพื่อใช้ภายในบ้าน คือ การที่ทุกคน สามารถสร้างพลังงานเพื่อใช้ภายในบ้านขึ้นเองได้ การเคลื่อนไหวต่างๆ ไม่ว่าจะ เป็นการเดิน ขี่จักรยาน และสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัว เช่น ความร้อนจากคอมพิวเตอร์ จะสามารถสร้างพลังงาน ซึ่งสามารถเก็บรวบรวมและนาพลังงานสะอาดนี้มาใช้ งานภายในบ้าน สถานที่ทางาน และเมืองต่างๆ
  • 11. 3.2 มนุษย์จะใช้เสียงพูด ใบหน้าและดวงตาแทนรหัสผ่าน ในอนาคต เราจะไม่ต้องใช้รหัสผ่านอีกต่อไป เพราะข้อมูลทางไบโอเมตริก (biometric) เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับเค้าโครงใบหน้า การสแกนม่านตา และไฟล์เสียงพูด จะถูก ประกอบเข้าด้วยกันผ่านทางซอฟต์แวร์ เพื่อสร้างรหัสผ่านออนไลน์ ซึ่งในอนาคต เราเพียงแต่เพียงไปถอนเงินที่ตู้เอทีเอ็มอย่างปลอดภัย เพียงแต่พูดชื่อหรือมอง 3.3 มนุษย์สามารถใช้สมองสั่งงานแลปทอป (laptop) และ โทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ ในขณะนี้ได้มีนักวิทยาศาสตร์ในสาขาชีวสารสนเทศ หรือไบ โออินฟอร์เมติกส์ (Bioinformatics) กาลังทาการคุ้นคว้าวิธีการเชื่อมโยงสมอง ของคนเข้ากับอุปกรณ์ต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ หรือสมาร์ทโฟน รวมถึงการ ออกแบบชุดหูฟังที่มีเซ็นเซอร์พิเศษสาหรับอ่านคลื่นไฟฟ้ าสมอง รวมถึงสีหน้า ระดับความตื่นเต้น การมีสมาธิจดจ่อและความคิดของบุคคล โดยที่ไม่จาเป็นต้อง ขยับร่างกาย ภายใน 5 ปีข้างหน้า
  • 12. 3.4 ทุกคนสามารถเข้าข้อมูลต่างๆ ได้ทุกทีทุกเวลาด้วยเทคโนโลยีโม บาย ในช่วง 5 ปีต่อจากนี้ช้องว่างระหว่างผู้ที่มีข้อมูลและผู้ที่ไม่มีข้อมูลจะลด น้อยลงเป็นอย่างมาก เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีโมบาย ซึ่งใน ประเทศอินเดีย บริษัทไอบีเอ็มใช้เทคโนโลยีเสียงพูดและอุปกรณ์พกพาเพื่อช่วย ให้ชาวชนบทที่ไม่รู้หนังสือสามารถถ่ายทอดข้อมูลผ่านทางข้อความที่บันทึกไว้ใน โทรศัพท์ และการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน 3.5 คอมพิวเตอร์จะคัดกรองข้อมูลสาคัญให้สอดคล้องกับความ ต้องการและพฤติกรรมของผู้ใช้ ในอีก 5 ปีข้างหน้าจะการใช้เทคโนโลยีระบบ วิเคราะห์ข้อมูลแบบเรียลไทม์ (real time) เพื่อกลั่นกรองและผนวกข้อมูลจากทุก แง่มุมของชีวิต ตั้งแต่ข่าวสาร ไปจนถึงกีฬา การเมือง หรือแม้แต่กระทั่งเทคโนโลยี ที่ผู้ใช้ชื่นชอบ และจะตัดโฆษณาที่ผู้รับข้อมูลไม่พึงประสงค์ออกไป พร้อมกับ นาเสนอและแนะนาข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ผู้บริโภคอย่างแท้จริง
  • 13. 3.4 ทุกคนสามารถเข้าข้อมูลต่างๆ ได้ทุกทีทุกเวลาด้วยเทคโนโลยีโม บาย ในช่วง 5 ปีต่อจากนี้ช้องว่างระหว่างผู้ที่มีข้อมูลและผู้ที่ไม่มีข้อมูลจะลด น้อยลงเป็นอย่างมาก เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีโมบาย ซึ่งใน ประเทศอินเดีย บริษัทไอบีเอ็มใช้เทคโนโลยีเสียงพูดและอุปกรณ์พกพาเพื่อช่วย ให้ชาวชนบทที่ไม่รู้หนังสือสามารถถ่ายทอดข้อมูลผ่านทางข้อความที่บันทึกไว้ใน โทรศัพท์ และการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน 3.5 คอมพิวเตอร์จะคัดกรองข้อมูลสาคัญให้สอดคล้องกับความ ต้องการและพฤติกรรมของผู้ใช้ ในอีก 5 ปีข้างหน้าจะการใช้เทคโนโลยีระบบ วิเคราะห์ข้อมูลแบบเรียลไทม์ (real time) เพื่อกลั่นกรองและผนวกข้อมูลจากทุก แง่มุมของชีวิต ตั้งแต่ข่าวสาร ไปจนถึงกีฬา การเมือง หรือแม้แต่กระทั่งเทคโนโลยี ที่ผู้ใช้ชื่นชอบ และจะตัดโฆษณาที่ผู้รับข้อมูลไม่พึงประสงค์ออกไป พร้อมกับ นาเสนอและแนะนาข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ผู้บริโภคอย่างแท้จริง