SlideShare a Scribd company logo
วิชาพลังงานและสิ่งแวดล้อม
รหัสวิชา 2001-1003
3 คาบ 2 หน่วยกิต
คาอธิบายรายวิชา
• ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความหมายและประเภท
ของพลังงานและสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ของพลังงาน
และสิ่งแวดล้อมกับการดารงชีวิต ปัญหาการใช้พลังงาน
ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หลักและวิธีการอนุรักษ์
พลังงานและการจัดการสิ่งแวดล้อม การป้องกันและ
แก้ไขปัญหา พลังงานทดแทน กฎหมายและนโยบายที่
เกี่ยวข้อง
จุดประสงค์รายวิชา
• เข้าใจหลักการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
• สามารถประยุกต์ใช้หลักและวิธีการอนุรักษ์พลังงาน
และสิ่งแวดล้อมในการดาเนินชีวิตประจาวันและงาน
อาชีพ
• มีเจตคติที่ดีต่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1
ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน
ความหมายของพลังงาน
พลังงาน มาจากคาว่า พลัง และ งาน หมายถึง พลังต่าง ๆ ที่
นามาใช้ให้เกิดเป็นงาน ตามพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
พ.ศ. 2535 พลังงาน หมายถึง ความสามารถในการทางานซึ่งมีอยู่ในตัวของ
สิ่งที่อาจใช้งานได้ ได้แก่ พลังงานหมุนเวียน และพลังงานสิ้นเปลือง เช่น
เชื้อเพลิง ความร้อน ไฟฟ้า เป็นต้น
พลังงานเพื่อชีวิต
พลังงาน (Energy) เป็นสิ่งที่มนุษย์คุ้นเคยมาตั้งแต่โบราณ จนกระทั่ง
ปัจจุบัน พลังงานเป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับมนุษย์มากขึ้น การดารงชีพ และการ
ประกอบอาชีพในปัจจุบันต้องพึ่งพาการใช้พลังงานทั้งสิ้น นอกจากนี้พลังงาน
ยังมีประโยชน์ต่อความเจริญก้าวหน้า และความผาสุกของสังคมในยุคปัจจุบัน
อาจกล่าวได้ว่าพลังงานเป็นปัจจัยสาคัญต่อมนุษย์ในปัจจุบันมาก
ประโยชน์ของพลังงาน มีดังนี้
1. การผลิต
2. การสาธารณูปโภค
3. การอานวยความสะดวกในชีวิตประจาวัน
4. การขนส่ง และการสื่อสาร
5. การแพทย์
6. สินค้า
7. การทหาร
1. การผลิต
ผลผลิตทั้งทางเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมจะต้องอาศัยพลังงาน
เป็นปัจจัยในการผลิตที่สาคัญ ดังจะเห็นได้ว่าการเพาะปลูกนับตั้งแต่การเตรียม
ดิน การหว่านเมล็ด การบารุงรักษา การเก็บเกี่ยว ตลอดจนการเคลื่อนย้าย
ผลผลิตล้วนต้องใช้เครื่องจักรทั้งสิ้น ซึ่งทาให้การผลิตกระทาได้รวดเร็ว และเพิ่ม
ผลผลิตได้มากขึ้น ส่วนในอุตสาหกรรมนั้น การผลิตที่ทางานด้วยเครื่องจักร
จะต้องอาศัยพลังงานเป็นปัจจัยที่จะทาให้เครื่องจักรทางานได้ดี
2. การสาธารณูปโภค
การผลิตไฟฟ้า และประปาในปัจจุบัน จะต้องใช้พลังงานในรูปแบบ
ต่างๆ กัน เช่น การผลิตไฟฟ้าในปัจจุบันใช้พลังงานจากน้ามัน แก๊สธรรมชาติ
ถ่านหินลิกไนต์ พลังงานน้าจากเขื่อนต่าง ๆ และพลังงานในรูปแบบอื่นๆ
ไฟฟ้าจึงจัดว่าเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อสาหรับชีวิตในปัจจุบัน ที่จะทาให้บ้านเรือน
ถนนหนทางได้รับแสงสว่าง การผลิตน้าประปาก็ต้องใช้เครื่องจักร และไฟฟ้า
ในการผลิต พลังงานจึงจะเปรียบเสมือนหัวใจของการสาธารณูปโภค
3. การอานวยความสะดวกในชีวิตประจาวัน
เครื่องใช้ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน
เช่น ตู้เย็น พัดลม วิทยุ โทรทัศน์
เป็นต้น เป็นสิ่งที่อานวยความ
สะดวกแก่ชีวิตในปัจจุบัน จะต้อง
อาศัย พลังงานในรูปแบบใดรูปแบบ
หนึ่ง จึงจะทางานได้
4. การขนส่ง และการสื่อสาร
การขนส่งทั้งทางบก ทางน้า และทางอากาศ ที่พัฒนามาจนถึง
ปัจจุบันนี้ นับได้ว่าทาให้การขนส่งเคลื่อนย้ายรวดเร็วมาก ส่วนการสื่อสารยุค
ปัจจุบันที่เป็นระบบการสื่อสารผ่านดาวเทียมก็นับเป็นความสาเร็จในการ
พัฒนาพลังงาน
5. การแพทย์
ทางการแพทย์นอกจากจะประสบความสาเร็จในการค้นคว้าวิจัยจน
ทาให้เกิดวิวัฒนาการในการตรวจ และรักษาโรคในด้านต่าง ๆ แล้ว การ
เอกซเรย์ที่ใช้ตรวจรักษาคนไข้ มาเป็นเวลานาน ก็เป็นการใช้พลังงานใน
การแพทย์ นอกจากนี้ยังมีการใช้แสงในการผ่าตัดดวงตาและรักษาโรคมะเร็ง
โดยการฉายแสง
6. สินค้า
พลังงานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น น้ามันดิบ แก๊สธรรมชาติ ถ่านหิน
และแร่กัมมันตภาพรังสีนับเป็นสินค้าที่สาคัญที่ทารายได้ให้กับประเทศผู้ผลิต
เช่น ประเทศ ในตะวันออกกลาง และ แอฟริกาใต้
7. การทหาร
พลังงานได้ถูกนาไปใช้ประโยชน์ในการทหารมาเป็นเวลานาน
ประเทศที่มีอานาจทางการทหาร เช่น สหรัฐอเมริกา ล้วนเป็นประเทศที่มี
ความก้าวหน้าในการพัฒนาพลังงาน เพราะอาวุธที่ใช้ในการทาสงครามล้วนมี
พื้นฐานความรู้ และการนาพลังงานไปดัดแปลงใช้
รูปแบบของพลังงาน
1. พลังงานศักย์ หมายถึง พลังงานที่เก็บหรือแฝงในวัตถุนั้น เช่น ก้อนหิน
พลังงานศักย์ จึงทาให้โมเลกุลของมันเกาะรวมกันอยู่เป็นก้อน แบตเตอรี่รถยนต์
หรือถ่านไฟฉายก็มีพลังงานศักย์อยู่เช่นกัน พลังงานศักย์สามารถเปลี่ยนเป็น
พลังงานจลน์ได้
2. พลังงานจลน์ หมายถึง พลังงานที่มีในวัตถุ เนื่องจากการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ด้วยความเร็ว เช่น ก้อนหินตกลงสู่พื้นได้ เพราะมีพลังงานจลน์เกิดขึ้นจากการ
เคลื่อนที่ของก้อนหินนั้น
3. พลังงานภายใน หมายถึง พลังงานที่มีอยู่ในวัตถุหรือระบบจะมีการ
เปลี่ยนแปลงเมื่อวัตถุหรือระบบมีการเปลี่ยนสภาพ หรือมีการแปรรูปซึ่งจะทาให้มี
การถ่ายเทพลังงานระหว่างวัตถุหรือระบบเกิดพลังงานในรูปแบบต่าง ๆ ขึ้น ดังนี้
3.1 พลังงานกล เป็นพลังงานที่นามาใช้ประโยชน์โดยการผ่านกลไก
หรืออุปกรณ์ต่างๆ งานที่ได้จากอุปกรณ์จัดเป็นงานที่ได้จากการเคลื่อนที่โดย
จะเริ่มจากพลังงานศักย์ที่สะสมในวัตถุ
3.2 พลังงานความร้อน เมื่อวัตถุมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ จะเกิด
การถ่ายเทความร้อน ซึ่งเป็นพลังงานที่สัมผัสได้ และสามารถนามาใช้
ประโยชน์ได้ เช่น ความร้อนจากเชื้อเพลิง ความร้อนที่เกิดจากการเสียดสีของ
วัตถุ เป็นต้น
3.3 พลังงานเคมี พลังงานที่สะสมในแหล่งพลังงาน เมื่อเกิดการ
เปลี่ยนรูปหรือเกิดปฏิกิริยาเคมีจะทาให้พลังงานความร้อนออกมา แหล่ง
พลังงานที่มีพลังงานเคมีสะสมอยู่ภายในเป็นเชื้อเพลิงที่ต้องมีการเผาไหม้ จึง
จะได้พลังงานความร้อนออกมา เช่น ถ่านหิน น้ามันเตา น้ามันดิบ แก๊ส
ธรรมชาติ การบริโภคอาหารของมนุษย์ เป็นต้น
4. พลังงานไฟฟ้า แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
4.1 ไฟฟ้าสถิต เกิดจากการที่อะตอมซึ่งเป็นองค์ประกอบของวัตถุ
ทุกชนิด เกิดการสูญเสียหรือ ได้รับอิเล็กตรอน ทาให้มีจานวนไม่เท่ากับ
โปรตอน
4.2 ไฟฟ้ากระแส เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน ใน
ชีวิตประจาวัน เราใช้ประโยชน์จากไฟฟ้ากระแสเป็นส่วนใหญ่ เช่น หลอดไฟ
พัดลม ตู้เย็น เป็นต้น
แหล่งของพลังงาน
แหล่งพลังงาน หมายถึง สสารหรือวัตถุที่มีพลังงานอยู่ในตัวมัน และ
จะปล่อยพลังงานออกมาเมื่อผ่านกระบวนการแปรรูปในความสามารถในการ
ทางานได้ เช่น เชื้อเพลิง ถ่าน น้ามัน เป็นต้น เมื่อการเผาไหม้เกิดปฏิกิริยา
เคมีจะทาให้พลังงานออกมา แหล่งพลังงานจะมีมวล (Mass) มีตัวตนในขณะที่
พลังงานไม่มีมวล พลังงานที่ได้ออกมาเมื่อผ่านกระบวนการแปรรูปนี้จะมี
หลายรูปแบบ ดังนี้
การจาแนกประเภทตามแหล่งที่มา ได้แก่
1.1 แหล่งฟอสซิล (Fossil fuels) หมายถึง แหล่งพลังงานที่มีต้นกาเนิดมา
จากสินแร่ฟอสซิลธรรมชาติ เมื่อนามาใช้แล้วจะหาหรือผลิตทดแทนไม่ได้
หรือ ต้องใช้เวลานานมากจึงจะผลิตมาทดแทนได้ พลังงานที่ใช้แล้วหมดไป
พลังงานประเภทนี้ ได้แก่
1. ถ่านหิน (Coal)
2. ปิโตรเลียม (Petroleum)
3. แร่นิวเคลียร์ ( Nuclear Minerals )
4. หินน้ามัน ( Oil Shale )
1.1 แหล่งฟอสซิล
• 1.ถ่านหิน เป็นสารประกอบคาร์บอนที่เกิดจากการสะสมตัวของซากพืช
ตามธรรมชาติ สามารถแบ่งเป็นประเภทของถ่านหินชนิดต่างๆได้ตาม
ปริมาณคาร์บอนและค่าความร้อนเมื่อถูกเผา ดังนี้
• พีต (Peat) เป็นถ่านหินที่เกิดในลาดับแรกๆ ของกระบวนการเกิด
ถ่านหิน ยังคงสภาพการสะสมของซากพืช
ลิกไนต์ (Lignite) เป็นถ่านหินที่มีคุณภาพต่า ไม่ค่อยมีโครงสร้างของพืช
เหลืออยู่ เนื้อแข็ง แหล่งผลิต เช่น เหมืองแม่เมาะ จังหวัดลาปาง
1. ถ่านหิน
1.ถ่านหิน
• ซับบิทูมินัส (Subbituminous coal) เป็นถ่านหินที่มีคุณภาพ
ดีกว่าลิกไนต์ แต่ต่ากว่าบิทูมินัส แหล่งผลิต เช่น อาเภอราง จังหวัด
ลาปาง อาเภอลี้จังหวัดลาพูน
• บิทูมินัส (Bituminous coal) เป็นถ่านหินที่มีการแปรสภาพสูง
กว่าซับบิทูมินัส แหล่งผลิต ได้แก่ อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน อาเภอแม่
ระมาด จังหวัดตาก
• แอนทราไซต์ (Antracite) เป็นถ่านหินที่มีการแปรสภาพสูงสุด มีสี
ดา เนื้อแข็ง มีความวาว เป็นถ่านหินที่มีคุณภาพสูงสุด แหล่งผลิตที่
กิ่งอ.นาด้วง จ.เลย
2.ปิโตรเลียม
• เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ และอยู่ในสภาพ
อิสระ แบ่งเป็น
• แก๊สธรรมชาติ เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่รวมตัวกันโดยมีสัดส่วน
ของอะตอมที่แตกต่างกัน สามารถจาแนกได้เป็น แก๊สแห้ง แก๊สชื้น แก๊ส
ธรรมชาติเหลว
• น้ามันดิบ ประกอบด้วยไฮโดรเจน และคาร์บอน ยังมีธาตุอื่นๆ
ประกอบด้วย เช่น ไนโตรเจน ออกซิเจน เหล็ก เป็นต้น น้ามันดิบเมื่อ
นามาผ่านกระบวนการกลั่นน้ามันได้ผลิตภัณฑ์นามันต่าง ๆได้แก่ น้ามัน
เบนซิน น้ามันดีเซล น้ามันเชื้อเพลิงสาหรับเครื่องบิน น้ามันก๊าด
• 3. แร่นิวเคลียร์ เป็นแร่ที่สามารถนามาใช้ในกิจการพลังงานปรมาณู เช่น
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ แร่นิวเคลียร์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
• แร่กัมมันตรังสี ที่มีคุณสมบัติสามารถแผ่กัมมันตรังสีออกมาจากตัวเองได้
ตลอดเวลา ได้แก่ แร่ในตระกูลยูเรเนียม ตระกูลทอเรียม
• แร่ที่ไม่สามารถแผ่รังสี แต่ใช้ช่วยในการควบคุมปฏิกิริยาพลังงานปรมาณูที่
สาคัญ ได้แก่ แร่ตระกูลเบริล แร่ตระกูลโคลัมเบียน- แทนทาลัม
4.หินน้ามัน
4. หินน้ามัน มีองค์ประกอบเป็น
อินทรียสารที่เรียกว่า เคโรเจน เป็น
สารน้ามันในเนื้อหินทาให้สามารถ
จุดติดไฟได้ บางครั้งเรียกว่า หินติดไฟ
ใช้ประโยชน์ในการกลั่นเอาน้ามัน
มาใช้เป็นเชื้อเพลิง
1.2 แหล่งพลังงานหมุนเวียน ( Renewable Energy Source) หมายถึง
แหล่งพลังงานที่สามารถผลิตทดแทนได้เมื่อมีการนามาใช้ โดยใช้ระยะเวลาใน
การผลิตไม่นาน หรือมีมากจนใช้แล้วไม่หมดไปง่ายๆ ได้แก่ น้า ดวงอาทิตย์
ลม ความร้อนใต้พิภพ ชีวมวล เช่น ไม้ แกลบ ชานอ้อย เป็นต้น
2. จาแนกตามกระบวนการผลิต ได้แก่
2.1 แหล่งพลังงานปฐมภูมิ (Primary Energy Source )
2.2 แหล่งพลังงานทุติยภูมิ (Secondary Energy Source )
2.1 แหล่งพลังงานปฐมภูมิ (Primary Energy Source )
• 2.1 แหล่งพลังงานปฐมภูมิ (Primary Energy Source ) เป็นแหล่ง
พลังงานที่มีต้นกาเนิดมาจากธรรมชาติ หรือแหล่งทรัพยากรของโลกโดยไม่
ผ่านกระบวนการปรุงแต่ง หรือแปรรูปที่ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
ทางเคมี เช่น ดวงอาทิตย์ ลม น้ามันดิบ แก๊สธรรมชาติ ไม้ฟืน มูลวัว
ทั้งหมดนี้เกิดและมีตามธรรมชาติ และเมื่อนามาใช้งานก็ยังคงอยู่ในสภาพ
นั้น
2.2 แหล่งพลังงานทุติยภูมิ (Secondary Energy Source )
• 2.2 แหล่งพลังงานทุติยภูมิ (Secondary Energy Source) เป็นแหล่ง
พลังงานที่แปรรูป หรือเปลี่ยนรูปมาจากแหล่งพลังงานพวกแรก หรืออาจมี
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมีให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมในการ
นาไปใช้งาน ได้แก่ น้ามันปิโตรเลียมต่างๆ เช่น เบนซิน ดีเซล แก๊ส
เชื้อเพลิง ถ่านหิน แอลกอฮอล์ เป็นต้น ขั้นตอนของกระบวนการแปรรูป
แหล่งพลังงานเหล่านี้ จะมีการใช้พลังงาน และเกิดการสูญเสียพลังงานใน
ขั้นตอนการผลิต
หน่วยพลังงาน
แหล่งพลังงาน หรือเชื้อเพลิงที่สามารถแสดงค่าปริมาณทางกายภาพ
ได้ เช่น ถ่านหินแสดงจานวนเป็นต้น แก๊สธรรมชาติแสดงเป็นลูกบาศก์ฟุต
หรือ ลูกบาศก์เมตร
หน่วยที่ใช้วัดปริมาณพลังงานที่นิยมมี 2 หน่วย คือ
• บีทียู เป็นหน่วยวัดปริมาณพลังงานในระบบอังกฤษ 1 บีทียู หมายถึง
ปริมาณพลังงานที่ทาให้น้าที่หนัก 1 ปอนด์ มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก 14.5
องศาฟาเรนไฮต์ เป็น 15.5 องศาฟาเรนไฮต์ ที่ระดับน้าทะเลปกติ
• กิโลแคลอรี หรือ แคลอรี เป็นหน่วยวัดปริมาณพลังงานในระบบเอสไอ
• 1 กิโลแคลอรี หมายถึง ปริมาณพลังงานที่ทาให้น้าที่หนัก 1 กิโลกรัมมี
อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก 15 องศาเซลเซียส เป็น 16 องศาเซลเซียสที่
ระดับน้าทะเลปกติ
หน่วยพลังงาน
1 บีทียู = 252 แคลอรี
• นอกจากหน่วยที่นิยมใช้วัดพลังงานทั้ง 2 หน่วยดังกล่าวแล้ว
นักวิทยาศาสตร์ยังใช้หน่วยวัดพลังงานอื่น ๆ เช่น
ไดน์ (Dynes) เอริ์ก (Ergs) จูล (Joules) วัตต์ (Watt) กิโลวัตต์
(Kilo Watt) แรงม้า (Horsepower)
สรุป
พลังงานเป็นสิ่งที่สาคัญในการดารงชีวิต มีประโยชน์ต่อมนุษย์ด้าน
การผลิต การสาธารณูปโภค ในการอานวยความสะดวกในชีวิตประจาวัน การ
ขนส่ง และการสื่อสาร การแพทย์ การทหาร ตลอดจน เป็นสินค้าออกที่ทา
รายได้ให้แก่ประเทศ พลังงาน หมายถึง ความสามารถในการทางาน พลังงาน
มีหลายรูปแบบ ได้แก่ พลังงานศักย์ พลังงานจลน์ พลังงานภายใน และ
พลังงานไฟฟ้า เป็นต้น
ใบงานที่ 1
• จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
• 1. พลังงานมีประโยชน์ต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ในด้านใด
• 2. จงบอกความหมายของคาว่าพลังงาน
• 3. พลังงานมีกี่ รูปแบบ ได้แก่อะไรบ้าง
• 4.พลังงานภายในได้แก่อะไรบ้าง
• 5.ร่างกายของมนุษย์ต้องการพลังงานอะไร
ใบงานที่ 1
6. พลังงานประเภทใดใช้แล้วไม่มีวันหมด
• 7. พลังงานที่ใช้ในบ้านเรือนเป็นพลังงานรูปแบบใด
• 8. ถ่านหินที่พบในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นถ่านหินประเภทใด
• 9. แหล่งพลังงานจาแนกตามกระบวนการผลิตได้กี่ประเภท
อะไรบ้าง
• 10. 1 บีทียูมีค่ากี่แคลอรี

More Related Content

What's hot

ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
Ponpirun Homsuwan
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
พลังงานน้ำ
พลังงานน้ำพลังงานน้ำ
พลังงานน้ำ
อะลิ้ตเติ้ล นก
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
สมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงามสมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงามPornpimon Gormsang
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
Wichai Likitponrak
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
Supaluk Juntap
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศหน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศkrupornpana55
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
อัจฉรา นาคอ้าย
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
dnavaroj
 

What's hot (20)

ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
พลังงานน้ำ
พลังงานน้ำพลังงานน้ำ
พลังงานน้ำ
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
สมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงามสมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงาม
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศหน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 

Recently uploaded

Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
Postharvest Technology Innovation Center
 

Recently uploaded (6)

Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
 

บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)

  • 2. คาอธิบายรายวิชา • ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความหมายและประเภท ของพลังงานและสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ของพลังงาน และสิ่งแวดล้อมกับการดารงชีวิต ปัญหาการใช้พลังงาน ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หลักและวิธีการอนุรักษ์ พลังงานและการจัดการสิ่งแวดล้อม การป้องกันและ แก้ไขปัญหา พลังงานทดแทน กฎหมายและนโยบายที่ เกี่ยวข้อง
  • 5. ความหมายของพลังงาน พลังงาน มาจากคาว่า พลัง และ งาน หมายถึง พลังต่าง ๆ ที่ นามาใช้ให้เกิดเป็นงาน ตามพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 พลังงาน หมายถึง ความสามารถในการทางานซึ่งมีอยู่ในตัวของ สิ่งที่อาจใช้งานได้ ได้แก่ พลังงานหมุนเวียน และพลังงานสิ้นเปลือง เช่น เชื้อเพลิง ความร้อน ไฟฟ้า เป็นต้น
  • 6. พลังงานเพื่อชีวิต พลังงาน (Energy) เป็นสิ่งที่มนุษย์คุ้นเคยมาตั้งแต่โบราณ จนกระทั่ง ปัจจุบัน พลังงานเป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับมนุษย์มากขึ้น การดารงชีพ และการ ประกอบอาชีพในปัจจุบันต้องพึ่งพาการใช้พลังงานทั้งสิ้น นอกจากนี้พลังงาน ยังมีประโยชน์ต่อความเจริญก้าวหน้า และความผาสุกของสังคมในยุคปัจจุบัน อาจกล่าวได้ว่าพลังงานเป็นปัจจัยสาคัญต่อมนุษย์ในปัจจุบันมาก
  • 7. ประโยชน์ของพลังงาน มีดังนี้ 1. การผลิต 2. การสาธารณูปโภค 3. การอานวยความสะดวกในชีวิตประจาวัน 4. การขนส่ง และการสื่อสาร 5. การแพทย์ 6. สินค้า 7. การทหาร
  • 8. 1. การผลิต ผลผลิตทั้งทางเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมจะต้องอาศัยพลังงาน เป็นปัจจัยในการผลิตที่สาคัญ ดังจะเห็นได้ว่าการเพาะปลูกนับตั้งแต่การเตรียม ดิน การหว่านเมล็ด การบารุงรักษา การเก็บเกี่ยว ตลอดจนการเคลื่อนย้าย ผลผลิตล้วนต้องใช้เครื่องจักรทั้งสิ้น ซึ่งทาให้การผลิตกระทาได้รวดเร็ว และเพิ่ม ผลผลิตได้มากขึ้น ส่วนในอุตสาหกรรมนั้น การผลิตที่ทางานด้วยเครื่องจักร จะต้องอาศัยพลังงานเป็นปัจจัยที่จะทาให้เครื่องจักรทางานได้ดี
  • 9. 2. การสาธารณูปโภค การผลิตไฟฟ้า และประปาในปัจจุบัน จะต้องใช้พลังงานในรูปแบบ ต่างๆ กัน เช่น การผลิตไฟฟ้าในปัจจุบันใช้พลังงานจากน้ามัน แก๊สธรรมชาติ ถ่านหินลิกไนต์ พลังงานน้าจากเขื่อนต่าง ๆ และพลังงานในรูปแบบอื่นๆ ไฟฟ้าจึงจัดว่าเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อสาหรับชีวิตในปัจจุบัน ที่จะทาให้บ้านเรือน ถนนหนทางได้รับแสงสว่าง การผลิตน้าประปาก็ต้องใช้เครื่องจักร และไฟฟ้า ในการผลิต พลังงานจึงจะเปรียบเสมือนหัวใจของการสาธารณูปโภค
  • 10. 3. การอานวยความสะดวกในชีวิตประจาวัน เครื่องใช้ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน เช่น ตู้เย็น พัดลม วิทยุ โทรทัศน์ เป็นต้น เป็นสิ่งที่อานวยความ สะดวกแก่ชีวิตในปัจจุบัน จะต้อง อาศัย พลังงานในรูปแบบใดรูปแบบ หนึ่ง จึงจะทางานได้
  • 11. 4. การขนส่ง และการสื่อสาร การขนส่งทั้งทางบก ทางน้า และทางอากาศ ที่พัฒนามาจนถึง ปัจจุบันนี้ นับได้ว่าทาให้การขนส่งเคลื่อนย้ายรวดเร็วมาก ส่วนการสื่อสารยุค ปัจจุบันที่เป็นระบบการสื่อสารผ่านดาวเทียมก็นับเป็นความสาเร็จในการ พัฒนาพลังงาน
  • 12. 5. การแพทย์ ทางการแพทย์นอกจากจะประสบความสาเร็จในการค้นคว้าวิจัยจน ทาให้เกิดวิวัฒนาการในการตรวจ และรักษาโรคในด้านต่าง ๆ แล้ว การ เอกซเรย์ที่ใช้ตรวจรักษาคนไข้ มาเป็นเวลานาน ก็เป็นการใช้พลังงานใน การแพทย์ นอกจากนี้ยังมีการใช้แสงในการผ่าตัดดวงตาและรักษาโรคมะเร็ง โดยการฉายแสง
  • 13. 6. สินค้า พลังงานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น น้ามันดิบ แก๊สธรรมชาติ ถ่านหิน และแร่กัมมันตภาพรังสีนับเป็นสินค้าที่สาคัญที่ทารายได้ให้กับประเทศผู้ผลิต เช่น ประเทศ ในตะวันออกกลาง และ แอฟริกาใต้
  • 14. 7. การทหาร พลังงานได้ถูกนาไปใช้ประโยชน์ในการทหารมาเป็นเวลานาน ประเทศที่มีอานาจทางการทหาร เช่น สหรัฐอเมริกา ล้วนเป็นประเทศที่มี ความก้าวหน้าในการพัฒนาพลังงาน เพราะอาวุธที่ใช้ในการทาสงครามล้วนมี พื้นฐานความรู้ และการนาพลังงานไปดัดแปลงใช้
  • 15. รูปแบบของพลังงาน 1. พลังงานศักย์ หมายถึง พลังงานที่เก็บหรือแฝงในวัตถุนั้น เช่น ก้อนหิน พลังงานศักย์ จึงทาให้โมเลกุลของมันเกาะรวมกันอยู่เป็นก้อน แบตเตอรี่รถยนต์ หรือถ่านไฟฉายก็มีพลังงานศักย์อยู่เช่นกัน พลังงานศักย์สามารถเปลี่ยนเป็น พลังงานจลน์ได้ 2. พลังงานจลน์ หมายถึง พลังงานที่มีในวัตถุ เนื่องจากการเคลื่อนที่ของวัตถุ ด้วยความเร็ว เช่น ก้อนหินตกลงสู่พื้นได้ เพราะมีพลังงานจลน์เกิดขึ้นจากการ เคลื่อนที่ของก้อนหินนั้น 3. พลังงานภายใน หมายถึง พลังงานที่มีอยู่ในวัตถุหรือระบบจะมีการ เปลี่ยนแปลงเมื่อวัตถุหรือระบบมีการเปลี่ยนสภาพ หรือมีการแปรรูปซึ่งจะทาให้มี การถ่ายเทพลังงานระหว่างวัตถุหรือระบบเกิดพลังงานในรูปแบบต่าง ๆ ขึ้น ดังนี้
  • 16. 3.1 พลังงานกล เป็นพลังงานที่นามาใช้ประโยชน์โดยการผ่านกลไก หรืออุปกรณ์ต่างๆ งานที่ได้จากอุปกรณ์จัดเป็นงานที่ได้จากการเคลื่อนที่โดย จะเริ่มจากพลังงานศักย์ที่สะสมในวัตถุ 3.2 พลังงานความร้อน เมื่อวัตถุมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ จะเกิด การถ่ายเทความร้อน ซึ่งเป็นพลังงานที่สัมผัสได้ และสามารถนามาใช้ ประโยชน์ได้ เช่น ความร้อนจากเชื้อเพลิง ความร้อนที่เกิดจากการเสียดสีของ วัตถุ เป็นต้น 3.3 พลังงานเคมี พลังงานที่สะสมในแหล่งพลังงาน เมื่อเกิดการ เปลี่ยนรูปหรือเกิดปฏิกิริยาเคมีจะทาให้พลังงานความร้อนออกมา แหล่ง พลังงานที่มีพลังงานเคมีสะสมอยู่ภายในเป็นเชื้อเพลิงที่ต้องมีการเผาไหม้ จึง จะได้พลังงานความร้อนออกมา เช่น ถ่านหิน น้ามันเตา น้ามันดิบ แก๊ส ธรรมชาติ การบริโภคอาหารของมนุษย์ เป็นต้น
  • 17. 4. พลังงานไฟฟ้า แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 4.1 ไฟฟ้าสถิต เกิดจากการที่อะตอมซึ่งเป็นองค์ประกอบของวัตถุ ทุกชนิด เกิดการสูญเสียหรือ ได้รับอิเล็กตรอน ทาให้มีจานวนไม่เท่ากับ โปรตอน 4.2 ไฟฟ้ากระแส เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน ใน ชีวิตประจาวัน เราใช้ประโยชน์จากไฟฟ้ากระแสเป็นส่วนใหญ่ เช่น หลอดไฟ พัดลม ตู้เย็น เป็นต้น
  • 18. แหล่งของพลังงาน แหล่งพลังงาน หมายถึง สสารหรือวัตถุที่มีพลังงานอยู่ในตัวมัน และ จะปล่อยพลังงานออกมาเมื่อผ่านกระบวนการแปรรูปในความสามารถในการ ทางานได้ เช่น เชื้อเพลิง ถ่าน น้ามัน เป็นต้น เมื่อการเผาไหม้เกิดปฏิกิริยา เคมีจะทาให้พลังงานออกมา แหล่งพลังงานจะมีมวล (Mass) มีตัวตนในขณะที่ พลังงานไม่มีมวล พลังงานที่ได้ออกมาเมื่อผ่านกระบวนการแปรรูปนี้จะมี หลายรูปแบบ ดังนี้
  • 19. การจาแนกประเภทตามแหล่งที่มา ได้แก่ 1.1 แหล่งฟอสซิล (Fossil fuels) หมายถึง แหล่งพลังงานที่มีต้นกาเนิดมา จากสินแร่ฟอสซิลธรรมชาติ เมื่อนามาใช้แล้วจะหาหรือผลิตทดแทนไม่ได้ หรือ ต้องใช้เวลานานมากจึงจะผลิตมาทดแทนได้ พลังงานที่ใช้แล้วหมดไป พลังงานประเภทนี้ ได้แก่ 1. ถ่านหิน (Coal) 2. ปิโตรเลียม (Petroleum) 3. แร่นิวเคลียร์ ( Nuclear Minerals ) 4. หินน้ามัน ( Oil Shale )
  • 20. 1.1 แหล่งฟอสซิล • 1.ถ่านหิน เป็นสารประกอบคาร์บอนที่เกิดจากการสะสมตัวของซากพืช ตามธรรมชาติ สามารถแบ่งเป็นประเภทของถ่านหินชนิดต่างๆได้ตาม ปริมาณคาร์บอนและค่าความร้อนเมื่อถูกเผา ดังนี้ • พีต (Peat) เป็นถ่านหินที่เกิดในลาดับแรกๆ ของกระบวนการเกิด ถ่านหิน ยังคงสภาพการสะสมของซากพืช ลิกไนต์ (Lignite) เป็นถ่านหินที่มีคุณภาพต่า ไม่ค่อยมีโครงสร้างของพืช เหลืออยู่ เนื้อแข็ง แหล่งผลิต เช่น เหมืองแม่เมาะ จังหวัดลาปาง
  • 22. 1.ถ่านหิน • ซับบิทูมินัส (Subbituminous coal) เป็นถ่านหินที่มีคุณภาพ ดีกว่าลิกไนต์ แต่ต่ากว่าบิทูมินัส แหล่งผลิต เช่น อาเภอราง จังหวัด ลาปาง อาเภอลี้จังหวัดลาพูน • บิทูมินัส (Bituminous coal) เป็นถ่านหินที่มีการแปรสภาพสูง กว่าซับบิทูมินัส แหล่งผลิต ได้แก่ อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน อาเภอแม่ ระมาด จังหวัดตาก • แอนทราไซต์ (Antracite) เป็นถ่านหินที่มีการแปรสภาพสูงสุด มีสี ดา เนื้อแข็ง มีความวาว เป็นถ่านหินที่มีคุณภาพสูงสุด แหล่งผลิตที่ กิ่งอ.นาด้วง จ.เลย
  • 23. 2.ปิโตรเลียม • เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ และอยู่ในสภาพ อิสระ แบ่งเป็น • แก๊สธรรมชาติ เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่รวมตัวกันโดยมีสัดส่วน ของอะตอมที่แตกต่างกัน สามารถจาแนกได้เป็น แก๊สแห้ง แก๊สชื้น แก๊ส ธรรมชาติเหลว • น้ามันดิบ ประกอบด้วยไฮโดรเจน และคาร์บอน ยังมีธาตุอื่นๆ ประกอบด้วย เช่น ไนโตรเจน ออกซิเจน เหล็ก เป็นต้น น้ามันดิบเมื่อ นามาผ่านกระบวนการกลั่นน้ามันได้ผลิตภัณฑ์นามันต่าง ๆได้แก่ น้ามัน เบนซิน น้ามันดีเซล น้ามันเชื้อเพลิงสาหรับเครื่องบิน น้ามันก๊าด
  • 24. • 3. แร่นิวเคลียร์ เป็นแร่ที่สามารถนามาใช้ในกิจการพลังงานปรมาณู เช่น โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ แร่นิวเคลียร์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ • แร่กัมมันตรังสี ที่มีคุณสมบัติสามารถแผ่กัมมันตรังสีออกมาจากตัวเองได้ ตลอดเวลา ได้แก่ แร่ในตระกูลยูเรเนียม ตระกูลทอเรียม • แร่ที่ไม่สามารถแผ่รังสี แต่ใช้ช่วยในการควบคุมปฏิกิริยาพลังงานปรมาณูที่ สาคัญ ได้แก่ แร่ตระกูลเบริล แร่ตระกูลโคลัมเบียน- แทนทาลัม
  • 25. 4.หินน้ามัน 4. หินน้ามัน มีองค์ประกอบเป็น อินทรียสารที่เรียกว่า เคโรเจน เป็น สารน้ามันในเนื้อหินทาให้สามารถ จุดติดไฟได้ บางครั้งเรียกว่า หินติดไฟ ใช้ประโยชน์ในการกลั่นเอาน้ามัน มาใช้เป็นเชื้อเพลิง
  • 26. 1.2 แหล่งพลังงานหมุนเวียน ( Renewable Energy Source) หมายถึง แหล่งพลังงานที่สามารถผลิตทดแทนได้เมื่อมีการนามาใช้ โดยใช้ระยะเวลาใน การผลิตไม่นาน หรือมีมากจนใช้แล้วไม่หมดไปง่ายๆ ได้แก่ น้า ดวงอาทิตย์ ลม ความร้อนใต้พิภพ ชีวมวล เช่น ไม้ แกลบ ชานอ้อย เป็นต้น 2. จาแนกตามกระบวนการผลิต ได้แก่ 2.1 แหล่งพลังงานปฐมภูมิ (Primary Energy Source ) 2.2 แหล่งพลังงานทุติยภูมิ (Secondary Energy Source )
  • 27. 2.1 แหล่งพลังงานปฐมภูมิ (Primary Energy Source ) • 2.1 แหล่งพลังงานปฐมภูมิ (Primary Energy Source ) เป็นแหล่ง พลังงานที่มีต้นกาเนิดมาจากธรรมชาติ หรือแหล่งทรัพยากรของโลกโดยไม่ ผ่านกระบวนการปรุงแต่ง หรือแปรรูปที่ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ทางเคมี เช่น ดวงอาทิตย์ ลม น้ามันดิบ แก๊สธรรมชาติ ไม้ฟืน มูลวัว ทั้งหมดนี้เกิดและมีตามธรรมชาติ และเมื่อนามาใช้งานก็ยังคงอยู่ในสภาพ นั้น
  • 28. 2.2 แหล่งพลังงานทุติยภูมิ (Secondary Energy Source ) • 2.2 แหล่งพลังงานทุติยภูมิ (Secondary Energy Source) เป็นแหล่ง พลังงานที่แปรรูป หรือเปลี่ยนรูปมาจากแหล่งพลังงานพวกแรก หรืออาจมี การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมีให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมในการ นาไปใช้งาน ได้แก่ น้ามันปิโตรเลียมต่างๆ เช่น เบนซิน ดีเซล แก๊ส เชื้อเพลิง ถ่านหิน แอลกอฮอล์ เป็นต้น ขั้นตอนของกระบวนการแปรรูป แหล่งพลังงานเหล่านี้ จะมีการใช้พลังงาน และเกิดการสูญเสียพลังงานใน ขั้นตอนการผลิต
  • 29. หน่วยพลังงาน แหล่งพลังงาน หรือเชื้อเพลิงที่สามารถแสดงค่าปริมาณทางกายภาพ ได้ เช่น ถ่านหินแสดงจานวนเป็นต้น แก๊สธรรมชาติแสดงเป็นลูกบาศก์ฟุต หรือ ลูกบาศก์เมตร
  • 30. หน่วยที่ใช้วัดปริมาณพลังงานที่นิยมมี 2 หน่วย คือ • บีทียู เป็นหน่วยวัดปริมาณพลังงานในระบบอังกฤษ 1 บีทียู หมายถึง ปริมาณพลังงานที่ทาให้น้าที่หนัก 1 ปอนด์ มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก 14.5 องศาฟาเรนไฮต์ เป็น 15.5 องศาฟาเรนไฮต์ ที่ระดับน้าทะเลปกติ • กิโลแคลอรี หรือ แคลอรี เป็นหน่วยวัดปริมาณพลังงานในระบบเอสไอ • 1 กิโลแคลอรี หมายถึง ปริมาณพลังงานที่ทาให้น้าที่หนัก 1 กิโลกรัมมี อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก 15 องศาเซลเซียส เป็น 16 องศาเซลเซียสที่ ระดับน้าทะเลปกติ
  • 31. หน่วยพลังงาน 1 บีทียู = 252 แคลอรี • นอกจากหน่วยที่นิยมใช้วัดพลังงานทั้ง 2 หน่วยดังกล่าวแล้ว นักวิทยาศาสตร์ยังใช้หน่วยวัดพลังงานอื่น ๆ เช่น ไดน์ (Dynes) เอริ์ก (Ergs) จูล (Joules) วัตต์ (Watt) กิโลวัตต์ (Kilo Watt) แรงม้า (Horsepower)
  • 32. สรุป พลังงานเป็นสิ่งที่สาคัญในการดารงชีวิต มีประโยชน์ต่อมนุษย์ด้าน การผลิต การสาธารณูปโภค ในการอานวยความสะดวกในชีวิตประจาวัน การ ขนส่ง และการสื่อสาร การแพทย์ การทหาร ตลอดจน เป็นสินค้าออกที่ทา รายได้ให้แก่ประเทศ พลังงาน หมายถึง ความสามารถในการทางาน พลังงาน มีหลายรูปแบบ ได้แก่ พลังงานศักย์ พลังงานจลน์ พลังงานภายใน และ พลังงานไฟฟ้า เป็นต้น
  • 33. ใบงานที่ 1 • จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง • 1. พลังงานมีประโยชน์ต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ในด้านใด • 2. จงบอกความหมายของคาว่าพลังงาน • 3. พลังงานมีกี่ รูปแบบ ได้แก่อะไรบ้าง • 4.พลังงานภายในได้แก่อะไรบ้าง • 5.ร่างกายของมนุษย์ต้องการพลังงานอะไร
  • 34. ใบงานที่ 1 6. พลังงานประเภทใดใช้แล้วไม่มีวันหมด • 7. พลังงานที่ใช้ในบ้านเรือนเป็นพลังงานรูปแบบใด • 8. ถ่านหินที่พบในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นถ่านหินประเภทใด • 9. แหล่งพลังงานจาแนกตามกระบวนการผลิตได้กี่ประเภท อะไรบ้าง • 10. 1 บีทียูมีค่ากี่แคลอรี