SlideShare a Scribd company logo
บทความเรื่อง ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
                                                             โดย นางสาวนิภาพร ไฝขาว

            บทบาทความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี ทําใหมีการพัฒนาคิดคนสิ่งอํานวยความสะดวกสบายตอการดํารงชีวิตเปนอันมาก
เทคโนโลยีไดเขามาเสริมปจจัยพื้นฐานการดํารงชีวิตไดเปนอยางดี เทคโนโลยีทําใหการสรางที่พัก
อาศัยมีคุณภาพมาตรฐาน สามารถผลิตสินคาและใหบริการตาง ๆ เพื่อตอบสนองความตองการของ
มนุษยมากขึ้น เทคโนโลยีทําใหระบบการผลิตสามารถผลิตสินคาไดเปนจํานวนมากมีราคาถูกลง
สินคาไดคุณภาพ เทคโนโลยีทําใหมีการติดตอสื่อสารกันไดสะดวก การเดินทางเชื่อมโยงถึงกันทํา
ใหประชากรในโลกติดตอรับฟงขาวสารกันไดตลอดเวลา พัฒนาการของเทคโนโลยีทําใหชีวิตความ
เปนอยูเปลี่ยนไปมาก เทคโนโลยีเริ่มเขามาชวยในการพิมพ ทําใหการสื่อสารดวยขอความและภาษา
เพิ่มขึ้นมาก เทคโนโลยีพัฒนามาจนถึงการสื่อสารกัน โดยสงขอความเปนเสียงทางสายโทรศัพทได
ประมาณรอยกวาปที่แลว และเมื่อประมาณหาสิบปที่แลว ก็มีการสงภาพโทรทัศนและคอมพิวเตอร
ทํ า ให มี ก ารใช ส ารสนเทศในรู ป แบบข า วสารมากขึ้ น ในป จ จุ บั น มี ส ถานที่ วิ ท ยุ โทรทั ศ น
หนังสือพิมพ แ ละสื่อตาง ๆ ที่ใชในการกระจายขาวสาร มีการแพรภาพทางโทรทัศนผานดาวเทียม
เพื่อรายงานเหตุการณสด เห็นไดชัดวาเทคโนโลยีไดเขามามีบทบาทอยางมาก บทบาทของการ
พัฒนาเทคโนโลยีรวดเร็วขึ้นเมื่อมีการพัฒนาอุปกรณทางดานคอมพิวเตอรและสวนประกอบ จะ
เห็นไดวาในชวงสี่หาปที่ผานมาจะมีผลิตภัณฑใหม ซึ่งมีคอมพิวเตอรเขาไปเกี่ยวของใหเห็นอยู
ตลอดเวลา

ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
         สามารถอธิ บ ายความสํ า คั ญ ของเทคโนโลยี ส ารสนเทศด า นที่ มี ผ ลกระทบต อ การ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดานตาง ๆ ของมนุษยไวหลายประการดังตอไปนี้ (จอหน ไนซบิตต อางถึง
ใน ยืน ภูวรวรรณ)
         1. เทคโนโลยี ส ารสนเทศ ทํ า ให สั ง คมเปลี่ ย นจากสั ง คมอุ ต สาหกรรมมาเป น
สังคมสารสนเทศ
         2. เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแหงชาติไปเปนเศรษฐกิจ
โลกที่ทําใหระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกับทุกประเทศ ความเชื่อมโยงของเครือขายสารสนเทศ
ทําใหเกิดสังคมโลกาภิวัฒน
         3. เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหองคกรมีลักษณะผูกพัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบมาก
ขึ้น หนวยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกับหนวยธุรกิจอื่นเปนเครือขาย การดําเนินธุรกิจมีการ
2

แข ง ขั น กั น ในด า นความเร็ ว โดยอาศั ย การใช ร ะบบเครื อ ข า ยคอมพิ ว เตอร และการสื่ อ สาร
โทรคมนาคมเปนตัวสนับสนุน เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลไดงายและรวดเร็ว
           4. เทคโนโลยีสารสนเทศเปนเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัส และสามารถตอบสนองตาม
ความตองการการใชเทคโนโลยีในรูปแบบใหมที่เลือกไดเอง
           5. เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหเกิดสภาพทางการทํางานแบบทุกสถานที่และทุกเวลา
           6. เทคโนโลยีสารสนเทศกอใหเกิดการวางแผนการดําเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทําให
วิธีการตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกไดละเอียดขึ้น
           กลา วโดยสรุป แลว เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทที่สําคัญในทุก วงการ มีผลตอการ
เปลี่ยนแปลงโลกดานความเปนอยู สังคม เศรษฐกิจ การศึกษา การแพทย เกษตรกรรม อุตสาหกรรม
การเมือง ตลอดจนการวิจัยและการพัฒนาตาง ๆ

องคประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
         ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกลาวไดวาประกอบขึ้นจากเทคโนโลยีสองสาขาหลัก คือ
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม สําหรับรายละเอียดพอสังเขปของแต
ละเทคโนโลยีมีดังตอไปนี้คือ
          1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร
         คอมพิวเตอรเปนเครื่องอิเล็กทรอนิกสที่สามารถจดจําขอมูลตาง ๆ และปฏิบัติตามคําสั่ง
เพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานอยางใดอยางหนึ่ง คอมพิวเตอรนั้นประกอบดวยอุปกรณตาง ๆ ตอเชื่อม
กันเรียกวา ฮารดแวร (Hardware) และอุปกรณฮารดแวรนี้จะตองทํางานรว มกับโปรแกรม
คอมพิวเตอรหรือที่เรียกวา ซอฟตแวร (Software) (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชา
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2546: 4)
         ฮารดแวร ประกอบดวย 5 สวน คือ
         1. อุปกรณรับขอมูล (Input) เชน แผงแปนอักขระ (Keyboard), เมาส, เครื่องตรวจกวาดภาพ
(Scanner), จอภาพสัมผัส (Touch Screen), ปากกาแสง (Light Pen), เครื่องอานบัตรแถบแมเหล็ก
(Magnetic Strip Reader), และเครื่องอานรหัสแทง (Bar Code Reader)
         2. อุปกรณสงขอมูล (Output) เชน จอภาพ (Monitor), เครื่องพิมพ (Printer), และเทอรมินัล
         3. หนวยประมวลผลกลาง จะทํางานรวมกับหนวยความจําหลักในขณะคํานวณหรือ
ประมวลผล โดยปฏิบัติหนาที่ตามคําสั่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร โดยการดึงขอมูลและคําสั่งที่
เก็บไวไวในหนวยความจําหลักมาประมวลผล
         4. หนวยความจําหลัก มีหนาที่เก็บขอมูลที่มาจากอุปกรณรับขอมูลเพื่อใชในการคํานวณ
และผลลัพธของการคํานวณกอนจะสงไปยังอุปกรณสงขอมูล รวมทั้งการเก็บคําสั่งขณะกําลัง
ประมวลผล
3

         5. หนวยความจําสํารอง ทําหนาที่จัดเก็บขอมูลและโปรแกรมขณะยังไมไดใชงาน เพื่อการ
ใชในอนาคต
         ซอฟตแวร เปนองคประกอบที่สําคัญและจําเปนมากในการควบคุมการทํางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร ซอฟตแวรสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ
         ซอฟตแวรระบบ มีหนาที่ควบคุมอุปกรณตาง ๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร และเปน
ตัวกลางระหวางผูใชกับคอมพิวเตอรหรือฮารดแวร ซอฟตแวรระบบสามารถแบงเปน 3 ชนิดใหญ
คือ
         1. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ใชควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอรและอุปกรณพวงตอ

              กับเครื่องคอมพิวเตอร ตัวอยางโปรแกรมที่นิยมใชกันในปจจุบัน เชน UNIX, DOS,
              Microsoft Windows
         2. โปรแกรมอรรถประโยชน ใชชวยอํานวยความสะดวกแกผูใชเครื่องคอมพิวเตอรใน

              ระหว า งการประมวลผลข อ มู ล หรื อ ในระหว า งที่ ใ ช เ ครื่ อ งคอมพิ ว เตอร ตั ว อย า ง
              โปรแกรมที่นิยมใชกันในปจจุบัน เชน โปรแกรมเอดิเตอร (Editor)
         3. โปรแกรมแปลภาษา ใชในการแปลความหมายของคําสั่งที่เปนภาษาคอมพิวเตอรใหอยู

              ในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอรเขาใจ และทํางานตามที่ผูใชตองการ
         ซอฟตแวรประยุกต เปนโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อทํางานเฉพาะดานตามความตองการ ซึ่ง
ซอฟตแวรประยุกตนี้สามารถแบงเปน 3 ชนิด คือ
          1. ซอฟตแวรประยุกตเพื่องานทั่วไป เปนซอฟตแวรที่สรางขึ้นเพื่อใชงานทั่วไปไมเจาะจง
ประเภทของธุรกิจ ตัวอยาง เชน Word Processing, Spreadsheet, Database Management เปนตน
         2. ซอฟตแวรประยุกตเฉพาะงาน เปนซอฟตแวรที่สรางขึ้นเพื่อใชในธุรกิจเฉพาะ ตามแต
วัตถุประสงคของการนําไปใช
         3. ซอฟตแ วรประยุก ตอื่น ๆ เปนซอฟตแวรที่เ ขียนขึ้นเพื่อความบันเทิง และอื่น ๆ
นอกเหนือจากซอฟตแวรประยุกตสองชนิดขางตน ตัวอยาง เชน Hypertext, Personal Information
Management และซอฟตแวรเกมตาง ๆ เปนตน
         2. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
         เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ใชในการติดตอสื่อสารรับ/สงขอมูลจากที่ไกล ๆ เปนการ
สงของขอมูลระหวางคอมพิวเตอรหรือเครื่องมือที่อยูหางไกลกัน ซึ่งจะชวยใหการเผยแพรขอมูล
หรือสารสนเทศไปยังผูใชในแหลงตาง ๆ เปนไปอยางสะดวก รวดเร็ว ถูกตอง ครบถวน และทัน
การณ ซึ่งรูปแบบของขอมูลที่รับ/สงอาจเปนตัวเลข (Numeric Data) ตัวอักษร (Text) ภาพ (Image)
และเสียง (Voice)
          เทคโนโลยีที่ใชในการสื่อสารหรือเผยแพรสารสนเทศ ไดแก เทคโนโลยีที่ใชในระบบ
โทรคมนาคมทั้งชนิดมีสายและไรสาย เชน ระบบโทรศัพท, โมเด็ม, แฟกซ, โทรเลข,
4

วิทยุกระจายเสียง, วิทยุโทรทัศน เคเบิ้ลใยแกวนําแสง คลื่นไมโครเวฟ และดาวเทียม เปนตน
สําหรับกลไกหลักของการสื่อสารโทรคมนาคมมีองคประกอบพื้นฐาน 3 สวน ไดแก ตนแหลงของ
ขอความ (Source/Sender), สื่อกลางสําหรับการรับ/สงขอความ (Medium), และสวนรับขอความ
(Sink/Decoder)
          สําหรับกลไกหลักของการสื่อสารโทรคมนาคมมีองคประกอบพื้นฐาน 3 สวน ไดแก ตน
แหลงของขอความ (Source/Sender), สื่อกลางสําหรับการรับ/สงขอความ (Medium), และสวนรับ
ขอความ (Sink/Decoder)
          นอกจากนี้ เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจําแนกตามลักษณะการใชงานไดเปน 6 รูปแบบ
ดังตอไปนี้ คือ
           1. เทคโนโลยีที่ใชในการเก็บขอมูล เชน ดาวเทียมถายภาพทางอากาศ, กลองดิจิทัล, กลอง
ถายวีดีทัศน, เครื่องเอกซเรย ฯลฯ
           2. เทคโนโลยีที่ใชในการบันทึกขอมูล จะเปนสื่อบันทึกขอมูลตาง ๆ เชน เทปแมเหล็ก,
จานแมเหล็ก, จานแสงหรือจานเลเซอร, บัตรเอทีเอ็ม ฯลฯ
           3. เทคโนโลยีที่ใชในการประมวลผลขอมูล ไดแก เทคโนโลยีคอมพิวเตอรทั้งฮารดแวร
และซอฟตแวร
           4. เทคโนโลยีที่ใชในการแสดงผลขอมูล เชน เครื่องพิมพ, จอภาพ, พลอตเตอร ฯลฯ
           5. เทคโนโลยีที่ใชในการจัดทําสําเนาเอกสาร เชน เครื่องถายเอกสาร, เครื่องถาย
ไมโครฟลม
           6. เทคโนโลยีสําหรับถายทอดหรือสื่อสารขอมูล ไดแก ระบบโทรคมนาคมตาง ๆ เชน
โทรทัศน, วิทยุกระจายเสียง, โทรเลข, เทเล็กซ และระบบเครือขายคอมพิวเตอรทั้งระยะใกลและ
ไกล
          ลักษณะของขอมูลหรือสารสนเทศที่สงผานระบบคอมพิวเตอรและการสื่อสาร ดังนี้
          ขอมูลหรือสารสนเทศที่ใชกันอยูทั่วไปในระบบสื่อสาร เชน ระบบโทรศัพท จะมีลักษณะ
ของสัญญาณเปนคลื่นแบบตอเนื่องที่เราเรียกวา "สัญญาณอนาลอก" แตในระบบคอมพิวเตอรจะ
แตกตางไป เพราะระบบคอมพิวเตอรใชระบบสัญญาณไฟฟาสูงต่ําสลับกัน เปนสัญญาณที่ไม
ตอเนื่อง เรียกวา "สัญญาณดิจิตอล" ซึ่งขอมูลเหลานั้นจะสงผานสายโทรศัพท เมื่อเราตองการสง
ขอมูลจากคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งไปยังเครื่องอื่น ๆ ผานระบบโทรศัพท ก็ตองอาศัยอุปกรณชวย
แปลงสัญญาณเสมอ ซึ่งมีชื่อเรียกวา "โมเด็ม" (Modem)

ปจจัยที่ทําใหเกิดความลมเหลวในการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช
          จากงานวิจัยของ Whittaker (1999: 23) พบวา ปจจัยของความลมเหลวหรือความผิดพลาดที่
เกิดจากการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในองคการ มีสาเหตุหลัก 3 ประการ ไดแก
5

          1. การขาดการวางแผนที่ดีพอ โดยเฉพาะอยางยิ่งการวางแผนจัดการความเสี่ยงไมดีพอ ยิ่ง
องคการมีขนาดใหญมากขึ้นเทาใด การจัดการความเสี่ยงยอมจะมีความสําคัญมากขึ้นเปนเงาตามตัว
ทําใหคาใชจายดานนี้เพิ่มสูงขึ้น
          2. การนําเทคโนโลยีที่ไมเหมาะสมมาใชงาน การนําเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาใชใน
องคกรจําเปนตองพิจารณาใหสอดคลองกับลักษณะของธุรกิจหรืองานที่องคกรดําเนินอยู หาก
เลือกใชเทคโนโลยีที่ไมสอดรับกับความตองการขององคกรแลวจะทําใหเกิดปญหาตาง ๆ ตามมา
และเปนการสิ้นเปลืองงบประมาณโดยใชเหตุ
          3. การขาดการจัดการหรือสนับสนุนจากผูบริห ารระดับสูง การที่จะนําเทคโนโลยี
สารสนเทศเขามาใชงานในองคกร หากขาดซึ่งความสนับสนุนจากผูบริหารระดับสูงแลวก็ถือวา
ลมเหลวตั้งแตยังไมไดเริ่มตน การไดรับความมั่นใจจากผูบริหารระดับสูงเปนกาวยางที่สําคัญและ
จําเปนที่ทําใหการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในองคการประสบความสําเร็จ
สําหรับสาเหตุของความลมเหลวอื่น ๆ ที่พบจากการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช เชน ใชเวลาใน
การดําเนินการมากเกินไป (Schedule overruns), นําเทคโนโลยีที่ล้ําสมัยหรือยังไมผานการพิสูจนมา
ใชงาน           (New or unproven technology), ประเมินแผนความตองการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
ไมถูกตอง, ผูจัดจําหนายเทคโนโลยีสารสนเทศ (Vendor) ที่องคการซื้อมาใชงานไมมีประสิทธิภาพ
และขาดความรับผิดชอบ และระยะเวลาของการพัฒนาหรือนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชจนเสร็จ
สมบูรณใชเวลานอยกวาหนึ่งป
          นอกจากนี้ ปจจัยอื่น ๆ ที่ทําใหการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชไมประสบความสําเร็จใน
ดานผูใชงานนั้น อาจสรุปไดดังนี้ คือ
          1. ความกลัวการเปลี่ยนแปลง กลาวคือ ผูคนกลัวที่จะเรียนรูการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
รวมทั้ งกลั ว ว า เทคโนโลยี ส ารสนเทศจะเขา มาลดบทบาทและความสํ าคั ญ ในหน า ที่ ก ารงานที่
รับผิดชอบของตนใหลดนอยลง จนทําใหตอตานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
          2. การไมติดตามขาวสารความรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางสม่ําเสมอ เนื่องจาก
เทคโนโลยีสารสนเทศเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก หากไมหมั่นติดตามอยางสม่ําเสมอแลวจะทําให
กลายเปนคนลาหลังและตกขอบ จนเกิดสภาวะชะงักงันในการเรียนรูและใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
          3. โครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศกระจายไมทั่วถึง ทําใหขาด
ความเสมอภาคในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเกิดการใชกระจุกตัวเพียงบางพื้นที่ ทําใหเปน
อุปสรรคในการใชงานดานตาง ๆ ตามมา เชน ระบบโทรศัพท อินเทอรเน็ตความเร็วสูง ฯลฯ

เอกสารอางอิง : http://adviser.eduzones.com/dena/4901

More Related Content

What's hot

อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
CAPD AngThong
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก
Dbeat Dong
 
บทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนบทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนพัน พัน
 
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่มอาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
I'Mah Sunshine
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1Theerawat Duangsin
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
Pa'rig Prig
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Tuang Thidarat Apinya
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
Sakarin Habusaya
 
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสสงานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
นั้ม น้าม
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืม
Utai Sukviwatsirikul
 
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี อบต. เหล่าโพนค้อ
 
คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวด...
คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวด...คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวด...
คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวด...
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54Watcharapong Rintara
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
Utai Sukviwatsirikul
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วนโครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
นอนอ. ยิ้มแฉ่งง'
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เจื๋อง เมืองลื้อ
 

What's hot (20)

อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก
 
บทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนบทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วน
 
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่มอาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสสงานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
 
Cpg ADHD
Cpg ADHDCpg ADHD
Cpg ADHD
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืม
 
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
 
คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวด...
คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวด...คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวด...
คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวด...
 
6วงจรชีวิตยุงลาย 2
6วงจรชีวิตยุงลาย 26วงจรชีวิตยุงลาย 2
6วงจรชีวิตยุงลาย 2
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วนโครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 

Viewers also liked

ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานThitaree Permthongchuchai
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
xavi2536
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
Phongsak Kongkham
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (7)

ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1watnawong
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
kruchanon2555
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2amphaiboon
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2amphaiboon
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
Note Narudaj
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูลMeaw Sukee
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศWorapon Masee
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
niramon_gam
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8ratiporn555
 

Similar to ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

(บทที่ 2)
(บทที่ 2)(บทที่ 2)
(บทที่ 2)
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
 
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 

More from ป.ปลา ตากลม

ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศป.ปลา ตากลม
 
ใบงานเรื่อง องค์ประกอบของระบบสารสนเทศของ
ใบงานเรื่อง องค์ประกอบของระบบสารสนเทศของใบงานเรื่อง องค์ประกอบของระบบสารสนเทศของ
ใบงานเรื่อง องค์ประกอบของระบบสารสนเทศของป.ปลา ตากลม
 
ใบความรู้เรื่ององค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่ององค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่ององค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่ององค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ป.ปลา ตากลม
 
ใบความรู้เรื่องระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่องระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่องระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่องระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
ป.ปลา ตากลม
 
ใบความรู้เรื่องระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่องระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่องระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่องระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
ป.ปลา ตากลม
 
ใบความรู้เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศป.ปลา ตากลม
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนป.ปลา ตากลม
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนป.ปลา ตากลม
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนป.ปลา ตากลม
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนป.ปลา ตากลม
 

More from ป.ปลา ตากลม (12)

ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบงานเรื่อง องค์ประกอบของระบบสารสนเทศของ
ใบงานเรื่อง องค์ประกอบของระบบสารสนเทศของใบงานเรื่อง องค์ประกอบของระบบสารสนเทศของ
ใบงานเรื่อง องค์ประกอบของระบบสารสนเทศของ
 
ใบความรู้เรื่ององค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่ององค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่ององค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่ององค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้เรื่องระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่องระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่องระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่องระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้เรื่องระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่องระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่องระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่องระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
 

ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 1. บทความเรื่อง ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ โดย นางสาวนิภาพร ไฝขาว บทบาทความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี ทําใหมีการพัฒนาคิดคนสิ่งอํานวยความสะดวกสบายตอการดํารงชีวิตเปนอันมาก เทคโนโลยีไดเขามาเสริมปจจัยพื้นฐานการดํารงชีวิตไดเปนอยางดี เทคโนโลยีทําใหการสรางที่พัก อาศัยมีคุณภาพมาตรฐาน สามารถผลิตสินคาและใหบริการตาง ๆ เพื่อตอบสนองความตองการของ มนุษยมากขึ้น เทคโนโลยีทําใหระบบการผลิตสามารถผลิตสินคาไดเปนจํานวนมากมีราคาถูกลง สินคาไดคุณภาพ เทคโนโลยีทําใหมีการติดตอสื่อสารกันไดสะดวก การเดินทางเชื่อมโยงถึงกันทํา ใหประชากรในโลกติดตอรับฟงขาวสารกันไดตลอดเวลา พัฒนาการของเทคโนโลยีทําใหชีวิตความ เปนอยูเปลี่ยนไปมาก เทคโนโลยีเริ่มเขามาชวยในการพิมพ ทําใหการสื่อสารดวยขอความและภาษา เพิ่มขึ้นมาก เทคโนโลยีพัฒนามาจนถึงการสื่อสารกัน โดยสงขอความเปนเสียงทางสายโทรศัพทได ประมาณรอยกวาปที่แลว และเมื่อประมาณหาสิบปที่แลว ก็มีการสงภาพโทรทัศนและคอมพิวเตอร ทํ า ให มี ก ารใช ส ารสนเทศในรู ป แบบข า วสารมากขึ้ น ในป จ จุ บั น มี ส ถานที่ วิ ท ยุ โทรทั ศ น หนังสือพิมพ แ ละสื่อตาง ๆ ที่ใชในการกระจายขาวสาร มีการแพรภาพทางโทรทัศนผานดาวเทียม เพื่อรายงานเหตุการณสด เห็นไดชัดวาเทคโนโลยีไดเขามามีบทบาทอยางมาก บทบาทของการ พัฒนาเทคโนโลยีรวดเร็วขึ้นเมื่อมีการพัฒนาอุปกรณทางดานคอมพิวเตอรและสวนประกอบ จะ เห็นไดวาในชวงสี่หาปที่ผานมาจะมีผลิตภัณฑใหม ซึ่งมีคอมพิวเตอรเขาไปเกี่ยวของใหเห็นอยู ตลอดเวลา ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถอธิ บ ายความสํ า คั ญ ของเทคโนโลยี ส ารสนเทศด า นที่ มี ผ ลกระทบต อ การ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดานตาง ๆ ของมนุษยไวหลายประการดังตอไปนี้ (จอหน ไนซบิตต อางถึง ใน ยืน ภูวรวรรณ) 1. เทคโนโลยี ส ารสนเทศ ทํ า ให สั ง คมเปลี่ ย นจากสั ง คมอุ ต สาหกรรมมาเป น สังคมสารสนเทศ 2. เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแหงชาติไปเปนเศรษฐกิจ โลกที่ทําใหระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกับทุกประเทศ ความเชื่อมโยงของเครือขายสารสนเทศ ทําใหเกิดสังคมโลกาภิวัฒน 3. เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหองคกรมีลักษณะผูกพัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบมาก ขึ้น หนวยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกับหนวยธุรกิจอื่นเปนเครือขาย การดําเนินธุรกิจมีการ
  • 2. 2 แข ง ขั น กั น ในด า นความเร็ ว โดยอาศั ย การใช ร ะบบเครื อ ข า ยคอมพิ ว เตอร และการสื่ อ สาร โทรคมนาคมเปนตัวสนับสนุน เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลไดงายและรวดเร็ว 4. เทคโนโลยีสารสนเทศเปนเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัส และสามารถตอบสนองตาม ความตองการการใชเทคโนโลยีในรูปแบบใหมที่เลือกไดเอง 5. เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหเกิดสภาพทางการทํางานแบบทุกสถานที่และทุกเวลา 6. เทคโนโลยีสารสนเทศกอใหเกิดการวางแผนการดําเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทําให วิธีการตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกไดละเอียดขึ้น กลา วโดยสรุป แลว เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทที่สําคัญในทุก วงการ มีผลตอการ เปลี่ยนแปลงโลกดานความเปนอยู สังคม เศรษฐกิจ การศึกษา การแพทย เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง ตลอดจนการวิจัยและการพัฒนาตาง ๆ องคประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกลาวไดวาประกอบขึ้นจากเทคโนโลยีสองสาขาหลัก คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม สําหรับรายละเอียดพอสังเขปของแต ละเทคโนโลยีมีดังตอไปนี้คือ 1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรเปนเครื่องอิเล็กทรอนิกสที่สามารถจดจําขอมูลตาง ๆ และปฏิบัติตามคําสั่ง เพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานอยางใดอยางหนึ่ง คอมพิวเตอรนั้นประกอบดวยอุปกรณตาง ๆ ตอเชื่อม กันเรียกวา ฮารดแวร (Hardware) และอุปกรณฮารดแวรนี้จะตองทํางานรว มกับโปรแกรม คอมพิวเตอรหรือที่เรียกวา ซอฟตแวร (Software) (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2546: 4) ฮารดแวร ประกอบดวย 5 สวน คือ 1. อุปกรณรับขอมูล (Input) เชน แผงแปนอักขระ (Keyboard), เมาส, เครื่องตรวจกวาดภาพ (Scanner), จอภาพสัมผัส (Touch Screen), ปากกาแสง (Light Pen), เครื่องอานบัตรแถบแมเหล็ก (Magnetic Strip Reader), และเครื่องอานรหัสแทง (Bar Code Reader) 2. อุปกรณสงขอมูล (Output) เชน จอภาพ (Monitor), เครื่องพิมพ (Printer), และเทอรมินัล 3. หนวยประมวลผลกลาง จะทํางานรวมกับหนวยความจําหลักในขณะคํานวณหรือ ประมวลผล โดยปฏิบัติหนาที่ตามคําสั่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร โดยการดึงขอมูลและคําสั่งที่ เก็บไวไวในหนวยความจําหลักมาประมวลผล 4. หนวยความจําหลัก มีหนาที่เก็บขอมูลที่มาจากอุปกรณรับขอมูลเพื่อใชในการคํานวณ และผลลัพธของการคํานวณกอนจะสงไปยังอุปกรณสงขอมูล รวมทั้งการเก็บคําสั่งขณะกําลัง ประมวลผล
  • 3. 3 5. หนวยความจําสํารอง ทําหนาที่จัดเก็บขอมูลและโปรแกรมขณะยังไมไดใชงาน เพื่อการ ใชในอนาคต ซอฟตแวร เปนองคประกอบที่สําคัญและจําเปนมากในการควบคุมการทํางานของเครื่อง คอมพิวเตอร ซอฟตแวรสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ ซอฟตแวรระบบ มีหนาที่ควบคุมอุปกรณตาง ๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร และเปน ตัวกลางระหวางผูใชกับคอมพิวเตอรหรือฮารดแวร ซอฟตแวรระบบสามารถแบงเปน 3 ชนิดใหญ คือ 1. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ใชควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอรและอุปกรณพวงตอ กับเครื่องคอมพิวเตอร ตัวอยางโปรแกรมที่นิยมใชกันในปจจุบัน เชน UNIX, DOS, Microsoft Windows 2. โปรแกรมอรรถประโยชน ใชชวยอํานวยความสะดวกแกผูใชเครื่องคอมพิวเตอรใน ระหว า งการประมวลผลข อ มู ล หรื อ ในระหว า งที่ ใ ช เ ครื่ อ งคอมพิ ว เตอร ตั ว อย า ง โปรแกรมที่นิยมใชกันในปจจุบัน เชน โปรแกรมเอดิเตอร (Editor) 3. โปรแกรมแปลภาษา ใชในการแปลความหมายของคําสั่งที่เปนภาษาคอมพิวเตอรใหอยู ในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอรเขาใจ และทํางานตามที่ผูใชตองการ ซอฟตแวรประยุกต เปนโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อทํางานเฉพาะดานตามความตองการ ซึ่ง ซอฟตแวรประยุกตนี้สามารถแบงเปน 3 ชนิด คือ 1. ซอฟตแวรประยุกตเพื่องานทั่วไป เปนซอฟตแวรที่สรางขึ้นเพื่อใชงานทั่วไปไมเจาะจง ประเภทของธุรกิจ ตัวอยาง เชน Word Processing, Spreadsheet, Database Management เปนตน 2. ซอฟตแวรประยุกตเฉพาะงาน เปนซอฟตแวรที่สรางขึ้นเพื่อใชในธุรกิจเฉพาะ ตามแต วัตถุประสงคของการนําไปใช 3. ซอฟตแ วรประยุก ตอื่น ๆ เปนซอฟตแวรที่เ ขียนขึ้นเพื่อความบันเทิง และอื่น ๆ นอกเหนือจากซอฟตแวรประยุกตสองชนิดขางตน ตัวอยาง เชน Hypertext, Personal Information Management และซอฟตแวรเกมตาง ๆ เปนตน 2. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ใชในการติดตอสื่อสารรับ/สงขอมูลจากที่ไกล ๆ เปนการ สงของขอมูลระหวางคอมพิวเตอรหรือเครื่องมือที่อยูหางไกลกัน ซึ่งจะชวยใหการเผยแพรขอมูล หรือสารสนเทศไปยังผูใชในแหลงตาง ๆ เปนไปอยางสะดวก รวดเร็ว ถูกตอง ครบถวน และทัน การณ ซึ่งรูปแบบของขอมูลที่รับ/สงอาจเปนตัวเลข (Numeric Data) ตัวอักษร (Text) ภาพ (Image) และเสียง (Voice) เทคโนโลยีที่ใชในการสื่อสารหรือเผยแพรสารสนเทศ ไดแก เทคโนโลยีที่ใชในระบบ โทรคมนาคมทั้งชนิดมีสายและไรสาย เชน ระบบโทรศัพท, โมเด็ม, แฟกซ, โทรเลข,
  • 4. 4 วิทยุกระจายเสียง, วิทยุโทรทัศน เคเบิ้ลใยแกวนําแสง คลื่นไมโครเวฟ และดาวเทียม เปนตน สําหรับกลไกหลักของการสื่อสารโทรคมนาคมมีองคประกอบพื้นฐาน 3 สวน ไดแก ตนแหลงของ ขอความ (Source/Sender), สื่อกลางสําหรับการรับ/สงขอความ (Medium), และสวนรับขอความ (Sink/Decoder) สําหรับกลไกหลักของการสื่อสารโทรคมนาคมมีองคประกอบพื้นฐาน 3 สวน ไดแก ตน แหลงของขอความ (Source/Sender), สื่อกลางสําหรับการรับ/สงขอความ (Medium), และสวนรับ ขอความ (Sink/Decoder) นอกจากนี้ เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจําแนกตามลักษณะการใชงานไดเปน 6 รูปแบบ ดังตอไปนี้ คือ 1. เทคโนโลยีที่ใชในการเก็บขอมูล เชน ดาวเทียมถายภาพทางอากาศ, กลองดิจิทัล, กลอง ถายวีดีทัศน, เครื่องเอกซเรย ฯลฯ 2. เทคโนโลยีที่ใชในการบันทึกขอมูล จะเปนสื่อบันทึกขอมูลตาง ๆ เชน เทปแมเหล็ก, จานแมเหล็ก, จานแสงหรือจานเลเซอร, บัตรเอทีเอ็ม ฯลฯ 3. เทคโนโลยีที่ใชในการประมวลผลขอมูล ไดแก เทคโนโลยีคอมพิวเตอรทั้งฮารดแวร และซอฟตแวร 4. เทคโนโลยีที่ใชในการแสดงผลขอมูล เชน เครื่องพิมพ, จอภาพ, พลอตเตอร ฯลฯ 5. เทคโนโลยีที่ใชในการจัดทําสําเนาเอกสาร เชน เครื่องถายเอกสาร, เครื่องถาย ไมโครฟลม 6. เทคโนโลยีสําหรับถายทอดหรือสื่อสารขอมูล ไดแก ระบบโทรคมนาคมตาง ๆ เชน โทรทัศน, วิทยุกระจายเสียง, โทรเลข, เทเล็กซ และระบบเครือขายคอมพิวเตอรทั้งระยะใกลและ ไกล ลักษณะของขอมูลหรือสารสนเทศที่สงผานระบบคอมพิวเตอรและการสื่อสาร ดังนี้ ขอมูลหรือสารสนเทศที่ใชกันอยูทั่วไปในระบบสื่อสาร เชน ระบบโทรศัพท จะมีลักษณะ ของสัญญาณเปนคลื่นแบบตอเนื่องที่เราเรียกวา "สัญญาณอนาลอก" แตในระบบคอมพิวเตอรจะ แตกตางไป เพราะระบบคอมพิวเตอรใชระบบสัญญาณไฟฟาสูงต่ําสลับกัน เปนสัญญาณที่ไม ตอเนื่อง เรียกวา "สัญญาณดิจิตอล" ซึ่งขอมูลเหลานั้นจะสงผานสายโทรศัพท เมื่อเราตองการสง ขอมูลจากคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งไปยังเครื่องอื่น ๆ ผานระบบโทรศัพท ก็ตองอาศัยอุปกรณชวย แปลงสัญญาณเสมอ ซึ่งมีชื่อเรียกวา "โมเด็ม" (Modem) ปจจัยที่ทําใหเกิดความลมเหลวในการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช จากงานวิจัยของ Whittaker (1999: 23) พบวา ปจจัยของความลมเหลวหรือความผิดพลาดที่ เกิดจากการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในองคการ มีสาเหตุหลัก 3 ประการ ไดแก
  • 5. 5 1. การขาดการวางแผนที่ดีพอ โดยเฉพาะอยางยิ่งการวางแผนจัดการความเสี่ยงไมดีพอ ยิ่ง องคการมีขนาดใหญมากขึ้นเทาใด การจัดการความเสี่ยงยอมจะมีความสําคัญมากขึ้นเปนเงาตามตัว ทําใหคาใชจายดานนี้เพิ่มสูงขึ้น 2. การนําเทคโนโลยีที่ไมเหมาะสมมาใชงาน การนําเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาใชใน องคกรจําเปนตองพิจารณาใหสอดคลองกับลักษณะของธุรกิจหรืองานที่องคกรดําเนินอยู หาก เลือกใชเทคโนโลยีที่ไมสอดรับกับความตองการขององคกรแลวจะทําใหเกิดปญหาตาง ๆ ตามมา และเปนการสิ้นเปลืองงบประมาณโดยใชเหตุ 3. การขาดการจัดการหรือสนับสนุนจากผูบริห ารระดับสูง การที่จะนําเทคโนโลยี สารสนเทศเขามาใชงานในองคกร หากขาดซึ่งความสนับสนุนจากผูบริหารระดับสูงแลวก็ถือวา ลมเหลวตั้งแตยังไมไดเริ่มตน การไดรับความมั่นใจจากผูบริหารระดับสูงเปนกาวยางที่สําคัญและ จําเปนที่ทําใหการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในองคการประสบความสําเร็จ สําหรับสาเหตุของความลมเหลวอื่น ๆ ที่พบจากการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช เชน ใชเวลาใน การดําเนินการมากเกินไป (Schedule overruns), นําเทคโนโลยีที่ล้ําสมัยหรือยังไมผานการพิสูจนมา ใชงาน (New or unproven technology), ประเมินแผนความตองการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ไมถูกตอง, ผูจัดจําหนายเทคโนโลยีสารสนเทศ (Vendor) ที่องคการซื้อมาใชงานไมมีประสิทธิภาพ และขาดความรับผิดชอบ และระยะเวลาของการพัฒนาหรือนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชจนเสร็จ สมบูรณใชเวลานอยกวาหนึ่งป นอกจากนี้ ปจจัยอื่น ๆ ที่ทําใหการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชไมประสบความสําเร็จใน ดานผูใชงานนั้น อาจสรุปไดดังนี้ คือ 1. ความกลัวการเปลี่ยนแปลง กลาวคือ ผูคนกลัวที่จะเรียนรูการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้ งกลั ว ว า เทคโนโลยี ส ารสนเทศจะเขา มาลดบทบาทและความสํ าคั ญ ในหน า ที่ ก ารงานที่ รับผิดชอบของตนใหลดนอยลง จนทําใหตอตานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. การไมติดตามขาวสารความรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางสม่ําเสมอ เนื่องจาก เทคโนโลยีสารสนเทศเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก หากไมหมั่นติดตามอยางสม่ําเสมอแลวจะทําให กลายเปนคนลาหลังและตกขอบ จนเกิดสภาวะชะงักงันในการเรียนรูและใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. โครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศกระจายไมทั่วถึง ทําใหขาด ความเสมอภาคในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเกิดการใชกระจุกตัวเพียงบางพื้นที่ ทําใหเปน อุปสรรคในการใชงานดานตาง ๆ ตามมา เชน ระบบโทรศัพท อินเทอรเน็ตความเร็วสูง ฯลฯ เอกสารอางอิง : http://adviser.eduzones.com/dena/4901