SlideShare a Scribd company logo
ศูนยหนังสือ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
295 ถนนราชสีมา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
Tel : 0 - 2244 - 5420 - 5, Fax : 0 - 2243 - 5984
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบําบัด
ผูเรียบเรียง : ผูชวยศาสตราจารยพัทธนันท ศรีมวง
พิมพครั้งที่ 1 : จํานวน 145 เลม มกราคม 2555
ดําเนินการพิมพและจัดจําหนายโดย :
ออกแบบปก : สหรัฐ ลวดลาย
พิมพที่ : หางหุนสวนจํากัด เอ็ม แอนด เอ็ม เลเซอรพริ้นต
โทร : 0-2215-3999
คํานํา
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบําบัด รหัสวิชา
4513211 นี้เป็นเอกสารใช้ประกอบการเรียนในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต โปรแกรมวิชา
อุตสาหกรรมอาหารและการบริการ โรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มุ่งเน้นให้
นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการจัดอาหารเพื่อสุขภาพให้กับบุคคลวัยต่างๆ ได้
อย่างเหมาะสม รวมทั้งสามารถจัดอาหารให้กับผู้ป่วยโรคต่างๆ ตามหลักโภชนบําบัดได้อย่าง
ถูกต้อง เหมาะสมและผู้ป่วยยอมรับ เนื้อหาของเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้แบ่งออกเป็น 12
บท กล่าวถึง ความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับสุขภาพ อาหารเพื่อสุขภาพกลุ่มต่างๆ ตํารับ
อาหารเพื่อสุขภาพสําหรับบุคคลวัยต่างๆ และการจัดอาหารที่เหมาะสมสําหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ
ได้แก่ ผู้ป่วยโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหลอดเลือดแดงแข็งและ
โรคหัวใจขาดเลือด โรคตับ โรคถุงน้ําดี โรคกระเพาะอาหาร โรคเกาต์ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวี
(ยังไม่มีอาการ) และการบริการอาหารในโรงพยาบาล
เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ ได้จัดทําขึ้นจากหลักและทฤษฎีของหลักการด้าน
โภชนาการและโภชนบําบัดที่ได้จากการศึกษาเอกสาร ตํารา งานวิจัยต่างๆ พร้อมทั้งนํา
ประสบการณ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานมาเรียบเรียงเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ง่ายต่อการเรียนรู้
และปรับแก้ไขจากการใช้สอนเพื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียน ซึ่งคาดว่าเอกสารประกอบการสอน
รายวิชาอาหารบําบัดโรคนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักศึกษาและผู้ที่สนใจ ขอขอบคุณพระคุณครู
อาจารย์ ตลอดจนผู้เขียนหนังสือ เอกสารต่างๆ ที่ใช้ประกอบการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เล่มนี้ และขอขอบคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตเป็นอย่างสูงที่ส่งเสริมและสนับสนุนการ
จัดทําเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ หากมีข้อบกพร่องใดๆ ที่ควรปรับปรุงแก้ไข ขอท่านผู้รู้ได้
โปรดชี้แนะจักเป็นพระคุณอย่างสูง ผู้เขียนขอน้อมรับด้วยความขอบพระคุณไว้ ณ โอกาสนี้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พัทธนันท์ ศรีม่วง
พฤศจิกายน 2554
(2)
(3)
สารบัญ
หน้า
คํานํา (1)
สารบัญ (3)
สารบัญตาราง (8)
สารบัญภาพ (13)
บทที่ 1 อาหาร โภชนาการ และภาวะสุขภาพ 1
ความหมายและความสําคัญของสุขภาพ และสุขภาพองค์รวม 1
องค์ประกอบของสุขภาพ 2
สุขภาพคนไทย 3
อาหารหลัก 5 หมู่ และแนวทางการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ 15
ข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย 19
ธงโภชนาการ 27
ความสําคัญของอาหารกับการป้องกันและการบําบัดโรค 34
สรุป 35
บทที่ 2 อาหารเพื่อสุขภาพ 37
ความหมายของอาหารเพื่อสุขภาพ 37
อาหารแมคโครไบโอติกส์ 41
อาหารมังสวิรัติ 47
สมุนไพรกับสุขภาพ 53
สรุป 72
บทที่ 3 อาหารและโภชนาการสําหรับบุคคลวัยต่างๆ 73
โภชนาการและตํารับอาหารสุขภาพสําหรับหญิงตั้งครรภ์ 73
โภชนาการและตํารับอาหารสุขภาพสําหรับหญิงให้นมบุตร 85
โภชนาการและอาหารเสริมสําหรับทารก 91
โภชนาการและตํารับอาหารสุขภาพสําหรับเด็กวัยก่อนเรียน 98
(4)
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
โภชนาการและตํารับอาหารสุขภาพสําหรับเด็กวัยเรียน 102
โภชนาการและตํารับอาหารสุขภาพสําหรับเด็กวัยรุ่น 106
โภชนาการและตํารับอาหารสุขภาพสําหรับผู้สูงอายุ 111
สรุป 115
บทที่ 4 อาหารสําหรับผู้ป่วยโรคอ้วน 117
ความหมายของภาวะน้ําหนักตัวเกินและโรคอ้วน 117
สาเหตุของโรคอ้วน 119
ผลเสียและอันตรายที่เกิดจากโรคอ้วน 120
การวินิจฉัยภาวะน้ําหนักตัวเกินและโรคอ้วน 122
ประเภทของโรคอ้วน 126
การคํานวณหาความต้องการพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน 127
การบําบัดรักษาภาวะน้ําหนักตัวเกินและโรคอ้วน 138
ตัวอย่างหลักการจัดอาหารสําหรับผู้ป่วยน้ําหนักตัวเกินและโรคอ้วน 144
สรุป 150
บทที่ 5 อาหารสําหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน 151
ความหมายของโรคเบาหวาน 151
การควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด 153
ประเภทของโรคเบาหวาน 155
สาเหตุของโรคเบาหวาน 156
อาการแสดงของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน 158
การตรวจวินิจฉัยโรคเบาหวาน 159
โรคแทรกซ้อนที่พบในผู้ป่วยโรคเบาหวาน 161
การรักษาโรคเบาหวาน 164
หลักการคํานวณและกําหนดอาหารสําหรับผู้ป่วยเบาหวาน 173
การประเมินผลการควบคุมเบาหวาน 184
(5)
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
การให้ความรู้ทางโภชนาการแก่ผู้ป่วยโรคเบาหวาน 184
สรุป 188
บทที่ 6 อาหารสําหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 189
ความหมายของความดันโลหิต 189
วิธีการวัดความดันโลหิต 190
ความหมายของความดันโลหิตสูง 191
สาเหตุของโรคความดันโลหิตสูง 192
ผลของโรคความดันโลหิตสูงที่มีต่ออวัยวะต่างๆ 194
อาการแสดงของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 197
การปฏิบัติตัวเพื่อรักษาและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง 198
การจัดอาหารสําหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 199
หลักการจัดอาหารจํากัดโซเดียม 202
ข้อแนะนําในการประกอบอาหารจํากัดโซเดียม 213
สรุป 214
บทที่ 7 อาหารสําหรับผู้ป่วยโรคไต 215
โครงสร้างของไต 215
หน้าที่ของไต 218
ประเภทของโรคของไต 220
หลักการกําหนดอาหารให้ผู้ป่วยโรคไต 226
อาหารจํากัดโปรตีน 230
อาหารจํากัดโซเดียม 239
อาหารจํากัดโปแตสเซียม 241
การจํากัดน้ําและการให้น้ําแก่ผู้ป่วยในปริมาณมาก 243
สรุป 244
(6)
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
บทที่ 8 อาหารสําหรับผู้ป่วยภาวะหลอดเลือดแดงแข็งและโรคหัวใจขาดเลือด245
หน้าที่และโครงสร้างของหลอดเลือดแดง 245
ภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง 246
หน้าที่และโครงสร้างของหัวใจ 249
โรคหัวใจขาดเลือด 251
ภาวะโคเลสเตอรอลสูงในเลือดกับโรคหัวใจขาดเลือด 255
หลักการจัดอาหารลดโคเลสเตอรอล 258
อาหารกับการบําบัดภาวะไตรกลีเซอไรด์สูงในเลือด 261
สรุป 275
บทที่ 9 อาหารสําหรับผู้ป่วยโรคตับ ถุงน้ําดี และโรคกระเพาะอาหาร 277
โครงสร้างและหน้าที่ของตับ 277
โรคตับอักเสบและหลักการจัดอาหาร 279
โรคตับแข็งและหลักการจัดอาหาร 284
โรคถุงน้ําและหลักการจัดอาหาร 290
โรคกระเพาะอาหารและหลักการจัดอาหาร 294
สรุป 304
บทที่ 10 อาหารสําหรับผู้ป่วยโรคเกาต์ 307
ความหมายของโรคเกาต์ 307
การเกิดและการขับถ่ายกรดยูริกในร่างกาย 307
สาเหตุของโรคเกาต์ 308
อาการของโรคเกาต์ 309
การวินิจฉัยโรคเกาต์ 311
การรักษาโรคเกาต์ 311
หลักการจัดอาหารให้กับผู้ป่วยโรคเกาต์ 312
สรุป 319
(7)
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
บทที่ 11 อาหารสําหรับผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวี 321
ความหมายของโรคเอดส์ 321
ประวัติของโรคเอดส์ 323
ระบาดวิทยาของโรคเอดส์ 323
การติดต่อของโรคเอดส์ 325
อาการของผู้ติดเชื้อเอชไอวี 328
ผลกระทบของโรคเอดส์ที่มีต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย 329
หลักการจัดอาหารสําหรับผู้ป่วยโรคเอดส์ 330
หลักการจัดอาหารสําหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี (ที่ยังไม่มีอาการ) 331
สรุป 338
บทที่ 12 การบริการอาหารในโรงพยาบาล 339
ความรู้เกี่ยวกับการบริการอาหารในโรงพยาบาล 339
อาหารสําหรับผู้ป่วยทั่วไปในโรงพยาบาล 347
อาหารบําบัดโรคหรืออาหารเฉพาะโรค 354
อาหารที่ให้ทางสายให้อาหาร 360
สิ่งที่ควรทราบในการดัดแปลงอาหารบําบัดโรค 369
ตัวอย่างรายการอาหารผู้ป่วยที่บริการในโรงพยาบาล 371
สรุป 374
บรรณานุกรม 375
ภาคผนวก รายการอาหารแลกเปลี่ยน 383
(8)
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1.1 การแปลผลค่าดัชนีมวลกาย 20
1.2 ปริมาณอาหารที่บุคคลวัยต่างๆ ควรได้รับใน 1 วัน 31
2.1 ประเภทของอาหารฟังก์ชั่น องค์ประกอบหลัก และประโยชน์ต่อสุขภาพ 39
2.2 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของกระเทียม 54
2.3 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของหัวหอม ต้นหอมและดอกหอม 55
2.4 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของขมิ้น 56
2.5 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของขิง 58
2.6 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของข่า 59
2.7 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของพริก 61
2.8 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของพริกไทย 63
2.9 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของตะไคร้ 64
2.10 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของกระเพรา 64
2.11 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของโหระพา 65
2.12 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของตําลึง 66
2.13 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของถั่วพู 67
2.14 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของผักบุ้ง 67
2.15 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของมะระ 68
2.16 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของมะเขือเทศ 69
3.1 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับหญิงตั้งครรภ์ ใน 1 มื้อ 81
3.2 ปริมาณและแหล่งวิตามินและเกลือแร่ที่หญิงให้นมบุตรควรได้รับต่อวัน 87
3.3 ปริมาณอาหารของผู้ใหญ่ หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร 88
3.4 ประเภทของอาหารเสริมที่ทารกควรได้รับใน 1 วัน 95
3.5 พลังงานที่ควรได้รับจากอาหารที่บริโภคต่อวันสําหรับเด็กอายุ 1-8 ปี 98
3.6 ปริมาณอาหารสําหรับเด็กวัยก่อนเรียน 100
3.7 ปริมาณอาหารสําหรับเด็กวัยเรียนอายุ 6-13 ปี
พลังงาน 1,600 กิโลแคลอรีต่อวัน 105
(9)
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
3.8 พลังงานที่ควรได้รับจากอาหารที่บริโภคต่อวันสําหรับวัยรุ่น 107
3.9 ความต้องการธาตุเหล็ก (absorbed iron requirement) ในกลุ่มอายุต่างๆ 109
3.10 ปริมาณอาหารที่วัยรุ่นหญิง-ชาย (อายุ 14-25 ปี) ควรได้รับใน 1 วัน
ปริมาณพลังงาน 2,000 กิโลแคลอรีต่อวัน 110
3.11 ปริมาณอาหารที่ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) ควรได้รับใน 1 วัน
พลังงาน 1,600 กิโลแคลอรีต่อวัน 114
3.12 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้สูงอายุในหนึ่งวัน 115
4.1 ค่าดัชนีมวลกาย 123
4.2 ค่าต่ําสุดของความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณไตรเซพที่ใช้ตัดสินความอ้วน
ของคนอเมริกันเผ่าคอเคเซียน 124
4.3 ค่าความหนาแน่นของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณไตรเซฟ 125
4.4 น้ําหนักและส่วนสูงของทารก เด็ก และวัยรุ่น 128
4.5 น้ําหนักและส่วนสูงของผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 129
4.6 ความต้องการพลังงานและโปรตีนจากน้ํานมแม่และจากอาหารอื่น
ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 2 ปี 131
4.7 พลังงานที่ควรได้รับจากอาหารที่บริโภคต่อวันสําหรับทารก 132
4.8 พลังงานที่ควรได้รับจากอาหารที่บริโภคต่อวันสําหรับเด็กและวัยรุ่น 132
4.9 พลังงานที่ควรได้รับจากอาหารที่บริโภคต่อวันสําหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 133
4.10 ความต้องการพลังงานของผู้ใหญ่จําแนกตามกิจกรรมที่ทํา 134
4.11 พลังงานที่ต้องการเพิ่มขึ้นต่อวันสําหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร 137
4.12 ตัวอย่างการจัดอาหารลดน้ําหนักสําหรับคนวัยทํางาน 140
4.13 ตัวอย่างกิจกรรมที่ใช้พลังงาน 150 กิโลแคลอรี 141
4.14 การคํานวณการกําหนด “ส่วน” อาหารสําหรับพลังงาน 1,800 กิโลแคลอรี 147
4.15 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ต้องการพลังงาน 1,806.5 กิโลแคลอรี 148
4.16 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน 1,806.5 กิโลแคลอรี 148
(10)
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
4.17 สัดส่วนและปริมาณอาหารในรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน
1,806.5 กิโลแคลอรี 149
5.1 ปริมาณใยอาหารในอาหารประเภทต่างๆ (ปริมาณใยอาหารต่อ 100 กรัม) 167
5.2 ค่าดัชนีน้ําตาลในอาหารประเภทต่างๆ 168
5.3 กําหนดปริมาณอาหารที่ผู้ป่วยเบาหวานหญิงควรได้รับ (1,800 กิโลแคลอรี) 175
5.4 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ป่วยเบาหวานหญิง พลังงาน 1,800.5 กิโลแคลอรี 176
5.5 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ป่วยเบาหวานหญิง พลังงาน 1,800.5 กิโลแคลอรี 176
5.6 สัดส่วนและปริมาณอาหารในรายการอาหารแลกเปลี่ยนสําหรับผู้ป่วย
เบาหวานหญิง พลังงาน 1800.5 กิโลแคลอรี 177
5.7 กําหนดปริมาณอาหารที่ผู้ป่วยเบาหวานชายควรได้รับ (1,600 กิโลแคลอรี) 181
5.8 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ป่วยเบาหวานชาย พลังงาน 1,593.5 กิโลแคลอรี 182
5.9 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ป่วยเบาหวานชาย พลังงาน 1,593.5 กิโลแคลอรี 182
5.10 สัดส่วนและปริมาณอาหารในรายการอาหารแลกเปลี่ยนสําหรับ
ผู้ป่วยเบาหวานชายพลังงาน 1,593.5 กิโลแคลอรี 183
6.1 ระดับความดันโลหิตสูง (มิลลิเมตรปรอท) จําแนกตามความรุนแรงใน
ผู้ใหญ่อายุ 18 ปีขึ้นไป 192
6.2 ปริมาณโซเดียมในอาหารปริมาณ 1 ส่วน ตามรายการอาหารแลกเปลี่ยน 206
6.3 การคํานวณการกําหนด “ส่วน” อาหารสําหรับพลังงาน 2,000 กิโลแคลอรี
จํากัดโซเดียม 2 กรัมต่อวัน 209
6.4 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ต้องการพลังงาน 1,999 กิโลแคลอรี
จํากัดโซเดียม 2 กรัมต่อวัน 210
6.5 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน 1,999 กิโลแคลอรี 211
6.6 สัดส่วนและปริมาณอาหารในรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน
1,999 กิโลแคลอรี 212
7.1 ปริมาณโปรตีนที่ผู้ป่วยควรได้รับ จําแนกตามอัตราการกรองผ่านโกลเมอรูลัส 229
7.2 จํานวนส่วนอาหารสําหรับผู้ได้รับพลังงาน 1,600 กิโลแคลอรี โปรตีน 20 กรัม 234
(11)
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
7.3 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ต้องการพลังงาน 1,594 กิโลแคลอรี
โปรตีน 20 กรัม 235
7.4 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน 1,594 กิโลแคลอรี
โปรตีน 20 กรัม 235
7.5 จํานวนส่วนอาหารสําหรับผู้ได้รับพลังงาน 1,600 กิโลแคลอรี โปรตีน 40 กรัม 238
7.6 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ต้องการพลังงาน 1,594 กิโลแคลอรี
โปรตีน 40 กรัม 239
7.7 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน 1600 กิโลแคลอรี
โปรตีน 40 กรัม 239
7.8 ปริมาณโซเดียมในอาหารจํากัดโปรตีน 20 และ 40 กรัม 240
7.9 ปริมาณโปแตสเซียมในอาหารในส่วนที่กินได้ 100 กรัม 242
8.1 ปริมาณโคเลสเตอรอลในอาหารบางชนิด (มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม 255
8.2 หลักโภชนบําบัดในผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดสูง (hyperlipoproteinemia) 259
8.3 ปริมาณกรดไลโนเลอิกในน้ํามันพืชที่ใช้ปรุงอาหาร 260
8.4 กําหนดปริมาณอาหารที่ผู้ป่วยควรได้รับ 266
8.5 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ต้องการพลังงาน 1,798.5 กิโลแคลอรี 267
8.6 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน 1805 กิโลแคลอรี 268
8.7 ปริมาณโคเลสเตอรอลที่ผู้ป่วยได้รับจากการอาหารโดยประมาณ 268
8.8 กําหนดปริมาณอาหารที่ผู้ป่วยควรได้รับ 271
8.9 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ต้องการพลังงาน 1,499.5 กิโลแคลอรี 272
8.10 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน 1,499.5 กิโลแคลอรี 273
8.11 แสดงปริมาณโคเลสเตอรอลที่ผู้ป่วยได้รับจากการอาหารโดยประมาณ 273
8.12 สัดส่วนและปริมาณอาหารในรายการอาหารแลกเปลี่ยนสําหรับผู้ที่ต้องการ
พลังงาน 1,499.5 กิโลแคลอรี 274
9.1 ความแตกต่างของเชื้อไวรัสตับอักเสบบางชนิด 282
9.2 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ป่วยโรคตับแข็ง 287
(12)
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
9.3 แนวทางในการจัดอาหารให้ผู้ป่วยโรคมะเร็ง 303
10.1 กําหนดปริมาณอาหารที่ผู้ป่วยโรคเกาต์ควรได้รับ 316
10.2 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ต้องการพลังงาน 1,593.5 กิโลแคลอรี 317
10.3 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน 1,191 กิโลแคลอรี 317
10.4 สัดส่วนและปริมาณอาหารในรายการอาหารแลกเปลี่ยนสําหรับผู้ที่ต้องการ
พลังงาน 1,191 กิโลแคลอรี 318
11.1 ตัวอย่างอาหารสําหรับผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี (ที่ยังไม่มีอากาการ) ใน 1 วัน 336
11.2 ตัวอย่างอาหารสําหรับผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี ที่มีน้ําหนักตัวลด 337
11.3 ตัวอย่างอาหารสําหรับผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี ที่มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน 337
12.1 ลักษณะของอาหารธรรมดาที่รับประทานได้ 347
12.2 มาตรฐานอาหารธรรมดาที่ใช้ในโรงพยาบาล 348
12.3 ตัวอย่างรายการอาหารธรรมดา 7 วัน 349
12.4 ลักษณะอาหารธรรมดาย่อยง่ายหรืออาหารฟักฟื้น 350
12.5 ตัวอย่างรายการอาหารธรรมดาย่อยง่าย 3 วัน 351
12.6 ลักษณะของอาหารอ่อน 352
12.7 ตัวอย่างรายการอาหารเหลวใสและเหลวข้น 354
12.8 ส่วนประกอบของอาหารทางสายให้อาหารสูตรน้ํานมผสม สูตร “รามาธิบดี” 360
12.9 ส่วนประกอบของอาหารทางสายให้อาหาร สูตรอาหารปั่นผสม “รามาธิบดี” 361
12.10 รายการอาหารธรรมดาสําหรับผู้ป่วยในโรงพยาบาล 371
(13)
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
1.1 ธงโภชนาการ 28
1.2 ปริมาณอาหารที่แสดงเป็นจํานวนทัพพี หรือช้อนกินข้าว
พร้อมความหลากหลายของอาหารในแต่ละกลุ่มที่สามารถกิน
สลับหมุนเวียนกันได้ 29
1.3 ปริมาณอาหารที่แสดงในธงโภชนาการ 30
1.4 พีระมิดอาหารหลัก 5 หมู่ 34
5.1 โครงสร้างของตับ 153
5.2 โรคทางผิวหนังที่เกิดขึ้นในผู้ป่วยโรคเบาหวาน 164
6.1 ความดันโลหิตขณะที่หัวใจบีบและคลายตัว 190
7.1 โครงสร้างของไต 216
7.2 โครงสร้างภายในของไต 217
8.1 หัวใจ 249
8.2 การทํางานของลิ้นหัวใจ 250
8.3 ปื้นเหลืองเหลืองแบบพุพองจากการมีไคโลไมครอนในเลือดสูง 257
8.4 ปื้นเหลืองที่บริเวณข้อศอก 258
9.1 ตับและถุงน้ําดี 278
9.2 อาการตาเหลือง ในผู้ป่วยดีซ่าน 281
9.3 ด้านหน้าของกระเพาะอาหารแสดงส่วนต่างๆ ของกระเพาะด้านบน 294
10.1 ลักษณะปุ่มก้อนที่นิ้วมือของผู้ป่วยที่เป็นโรคเกาต์ 310
(14)
บทที่ 1
อาหาร โภชนาการ และภาวะสุขภาพ
ปัจจัยที่สําคัญในการพัฒนาประเทศได้แก่คุณภาพชีวิตของประชากร กล่าวคือประชากร
ต้องได้รับการตอบสนองความต้องการ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม จนก่อให้เกิดความมี
สุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี เพราะภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์และแข็งแรงของประชากร ย่อมนําไปสู่
การมีศักยภาพทั้งด้านสติปัญญา และความคิดสร้างสรรค์ อันเป็นปัจจัยสําคัญในการพัฒนา
ประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้า แต่ปัจจุบันพบว่าคนไทยประสบปัญหาสุขภาพ มีอัตราการเกิด
โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มีความสัมพันธ์ทางโภชนาการเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความ
ดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคนิ่วในถุงน้ําดี โรคปวดข้อ เข่า โรคเกาต์ และโรคมะเร็ง
เป็นต้น โรคดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนไทย
มีการบริโภคอาหารกลุ่มแป้ง น้ําตาล ไขมัน เพิ่มมากขึ้น และมีการใช้พลังงานในชีวิตประจําวัน
น้อยลง ดังนั้นเพื่อการมีสุขภาพที่ดีแข็งแรงอันนําไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากการออก
กําลังกายอย่างสม่ําเสมอ นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอแล้ว ยังมีความจําเป็นที่ประชาชนต้อง
ทําความเข้าใจให้ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องการบริโภคอาหารว่าจะกินอย่างไรเพื่อให้ได้รับสารอาหาร
ที่มีประโยชน์มีคุณค่าต่อร่างกาย
ความหมายและความสําคัญของสุขภาพ และสุขภาพองค์รวม
สุขภาพ มีรากศัพท์มาจากคําว่า “สวัสถะ” หมายถึง ผู้ตั้งอยู่กับตัวเอง (สวะ หมายถึง
ตังเอง และ สถะ หมายถึง ตั้งอยู่) ทั้งร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ หรือ มีความอิ่มเอมอยู่ใน
ตัวเอง หรือ ภาวะที่บุคคลมีจิตสํานึกรู้ตัวทั่วพร้อม มีภาวะจิต และกายประสานกลมกลืนกัน
อย่างดีก่อให้เกิดความสงบหรือความสุข เป็นภาวะที่กายและจิตดําเนินไปอย่างกลมกลืนเป็น
หนึ่งเดียวกับธรรมชาติ (กองแพทย์ทางเลือก, 2550)
สุขภาพ (Health) หมายถึง ความสุขปราศจากโรค ความสบาย (พจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525)
องค์การอนามัยโลก (2591) ให้ความหมายของ สุขภาพ หมายถึง ภาวะความสมบูรณ์
ของร่างกาย จิตใจ และการดํารงชีวิตอยู่ในสังคมด้วยดี ไม่ใช่เพียงแต่ปราศจากโรค หรือทุพพล
ภาพเท่านั้น (Health is defined as a state complete physical mental and social well-being
and merely the absence infirmity) ต่อมาในที่ประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลก เดือน
2
พฤษภาคม พ.ศ. 2541 ได้มีมติให้เติมคําว่า “Spiritual Well-being” หรือ สุขภาวะทางจิต
วิญญาณเข้าไปในคําจํากัดความของสุขภาพ ดังนั้น สุขภาพ หมายถึง ภาวะของการดํารงชีวิตที่
มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ รวมทั้งการอยู่ร่วมกันในสังคมได้ด้วยดี อยู่บนพื้นฐาน
คุณธรรม และการใช้สติปัญญา
สุขภาพองค์รวม (Holistic Health) หมายถึง ความสมดุลทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคม
และจิตวิญญาณ ไม่เพียงแต่ไม่เจ็บป่วย หรือไม่มีโรค ยังครอบคลุมถึงการดําเนินชีวิตที่ยืนยาว
และมีความสุขของทุกคนด้วย
องค์ประกอบของสุขภาพ
จากความหมายของสุขภาพ ดังที่กล่าวไว้ข้างต้น คําว่า สุขภาพ จึงมิได้มีความหมาย
เฉพาะสุขภาพกายและสุขภาพจิตเท่านั้น แต่ยังรวมถึงสุขภาพสังคม และสุขภาพจิตวิญญาณ
ดังนั้นลักษณะของบุคคลที่มีสุขภาพที่สมบูรณ์ ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ 5 มิติ ดังนี้
1. มิติทางกาย เป็นมิติทางร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคหรือความเจ็บป่วย
มีปัจจัยองค์ประกอบทั้งด้าน อาหาร สิ่งแวดล้อม ที่อยู่อาศัย ปัจจัยเกื้อหนุนทางเศรษฐกิจที่
พอเพียง และส่งเสริมภาวะสุขภาพ
2. มิติทางจิตใจ เป็นมิติที่บุคคลมีสภาวะทางจิตใจที่แจ่มใส ปลอดโปร่ง ไม่มีความกังวล
มีความสุข มีเมตตา และลดความเห็นแก่ตัว
3. มิติทางสังคม เป็นความผาสุกของครอบครัว สังคม และชุมชน โดยชุมชนสามารถให้
การช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและกัน สังคมมีความเป็นอยู่ที่เอื้ออาทร เสมอภาคมีความยุติธรรม และ
มีระบบบริการที่ดีและทั่วถึง
4. มิติทางจิตวิญญาณ เป็นความผาสุกที่เกิดจากจิตสัมผัสกับสิ่งที่มีบุคคลยึดมั่นและ
เคารพสูงสุดทําให้เกิดความหวัง ความเชื่อมั่นศรัทธา มีการปฏิบัติในสิ่งที่ดีงามด้วยความมี
เมตตา กรุณา ไม่เห็นแก่ตัว มีความเสียสละ และยินดีในการที่ได้มองเห็นความสุขหรือ
ความสําเร็จของบุคคลอื่น ทั้งนี้สุขภาวะทางจิตวิญญาณจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีความหลุดพ้นจาก
ตัวเอง
5. มิติทางอารมณ์ คนเราจะตอบสนองต่ออารมณ์ทั้งทางด้านบวกแลทางลบที่จะเกิดขึ้น
เป็นสิ่งที่ดีหรือไม่ดีทั้งนี้อยู่ที่การควบคุมของแต่ละบุคคล
มิติสุขภาพองค์รวมทั้ง 5 มิติซึ่งถือเป็นสุขภาวะจะมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันโดยสุข
ภาวะทางจิตวิญญาณจะเป็นมิติที่สําคัญที่บูรณาการความเป็นองค์รวมของ กาย จิต อารมณ์
และสังคม ของบุคคลและชุมชนให้สอดประสานเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จิตวิญญาณเป็น สิ่ง
3
สําคัญของสุขภาพที่จะกุมสุขภาวะในมิติอื่นๆ ให้ปรับตัวประสานอย่างครอบคลุมและครบถ้วน
ทั้งในระดับปัจเจกบุคคลและชุมชน หากขาดสุขภาวะทางจิตวิญญาณ มนุษย์จะไม่พบความสุขที่
แท้จริง ขาดความสมบูรณ์ในตนเอง มีความรู้สึกบกพร่อง หากมีความพร้อมถึงสิ่งอันมีค่าสูงสุด
ก็จะมีความสุขหรือสุขภาวะที่ดีได้แม้ว่าจะบกพร่องทางกาย เช่น มีความพิการ หรือเป็นโรค
เรื้อรัง (ประเวศ วะสี, 2543)
สุขภาพของคนไทย
จากแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย พ.ศ. 2554-2556 ได้นําเสนอสถานการณ์ปัญหา
สุขภาพและโรคไม่ติต่อเรื้อรังจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป ไว้ดังนี้
1. ส่วนที่ 1 : บริบทใหม่ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิต
และสุขภาพ
การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่ขาดความสมดุลทั่วโลกและของประเทศ
ไทยภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทางวัตถุโดยเอาเศรษฐกิจหรือเงินเป็นตังตั้ง
แบบทุนนิยม เป็นผลให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจในอัตราที่สูงแต่มีความผันผวนตลอดเวลา
จากปัจจัยภายนอก ทําให้เศรษฐกิจเกิดความเลื่อมล้ํา สังคมไปสู่การเสื่อมสลาย จากสังคม
ตะวันออกเป็นสังคมตะวันตก สังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมเปลี่ยนอุตสาหกรรม สังคมชนบท
กลายเป็นสังคมเมืองมากขึ้น ทําให้แบบแผนการดําเนินชีวิตและแบบแผนการบริโภคเปลี่ยนไป
ได้แก่ เกิดกระแสวัตถุนิยม บริโภคนิยม มีค่านิยมเลียนแบบการบริโภคตามต่างชาติ มีพฤติกรรม
การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ไม่ได้สัดส่วน ขาดความสมดุล ละเลย หรือมองข้ามคุณค่าทาง
โภชนาการ นิยมบริโภคอาหารฟาสต์ฟูด อาหารจานด่วน อาหารสําเร็จรูป กึ่งสําเร็จรูป ที่หาได้
ง่าย สะดวก ซึ่งส่วนมากเป็นอาหารประเภทผัด ทอด ย่าง หรือปิ้ง ซึ่งเป็นอาหารโปรตีน ไขมัน
และให้พลังงานสูง นิยมอาหารรสจัดที่มีความเค็มมีเกลือโซเดียมสูง และหวานมากเกินไป กินผัก
และผลไม้น้อย ขาดการออกกําลังกาย เกิดความเครียดสะสม เมื่อไม่สามารถหาทางออกได้มัก
พึ่งการกินอาหาร สูบบุหรี่ และการดื่มสุรา จากเหคุผลดังกล่าวทําให้ปัญหาด้านสุขภาพ
เปลี่ยนไป โดยมีแบบแผนการเจ็บป่วยและตายจากภาวะทุพโภชนาการเป็นภาวะโภชนาการเกิน
และโรคอ้วนมากขึ้น จากโรคติดเชื้อหรือโรคติดต่อทั่วไปเป็นโรคเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้ ที่
เกิดจากปัจจัยเสี่ยงภายใต้วิถีชีวิตและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ซึ่งองค์การอนามัยโลก (World
Health Organization-WHO) ได้คาดประมาณว่าในปี 2548 จํานวนการตายของประชากรโลก
ทั้งหมดประมาณ 58 ล้านคน มีประมาณ 35 ล้านคน (ร้อยละ 60) มีสาเหตุหลักมาจากโรค
เรื้อรัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจากโรคหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular
4
Disease) เป็นปัญหาอันดับต้นๆ ของทั่วโลก มีการตายประมาณ 17.5 ล้านคน (ร้อยละ 29) และ
มีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น และคาดว่าในปี 2565 ทั่วโลกจะมีผู้เสียชีวิตประมาณ 25 ล้านคน โดย
มีประชากรประมาณ 19 ล้านคน หรือร้อยละ 80 จะเกิดขึ้นในกลุ่มประเทศกําลังพัฒนาและ
ยากจน และเป็นสาเหตุการตายที่สําคัญของกลุ่มประชากรวัยแรงงาน ซึ่งจะเป็นเหตุให้เกิดความ
สูญเสียทางเศรษฐกิจของครอบครัว สังคม และประเทศชาติ และความสูญเสียปีสุขภาวะหรือ
ภาระทางสุขภาพ (Disability Adjusted Life Year : DALY) จากโรคเรื้อรัง 6 ใน 10 อันดับแรก
และมากกว่าเกือบ 2 เท่า เมื่อเทียบกับโรคติดเชื้อ
จากการศึกษาภาวะโรคและภาวะจากปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพของประชานไทย ในปี
2547 มีความสูญเสียทางสุขภาพจากโรคไม่ติต่อ คิดเป็นร้อยละ 65 ของความสูญเสียทั้งหมด
โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด และโรคมะเร็ง นอกจากนี้ยังพบว่าภาวะโรค
10 อันดับแรก เกิดจากปัจจัยเสี่ยงจากการดําเนินวิถีชีวิตที่ไม่ถูกต้องเหมาะสมที่สําคัญ
ตามลําดับ คือ การบริโภคสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ บุหรี่ ความดันโลหิตสูง ภาวะอ้วน
คอเรสเตอรอล การบริโภคผักและผลไม้ กิจกรรมทางกายหรือการออกกําลังกายไม่เพียงพอ
โดยสถานการณ์อัตราการเจ็บป่วยเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในด้วยโรคที่มีความสําคัญในอันดับ
ต้นๆ ใน 5 โรค มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี 2548-2551 ประมาณ 1.2-1.6 เท่า สําหรับในปี 2552
พบว่ามีอัตราผู้ป่วยในด้วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง และโรค
หลอดเลือดสมอง คิดเป็น 1,149, 845, 648, 505 และ 257 ต่อประชากรแสนคน และมีอัตรา
ผู้ป่วยนอก คิดเป็น 14,328, 9,702, 2,565, 1,023 และ 980 ต่อประชากรแสนคนตามลําดับ
และสาเหตุการเสียชีวิตของตนไทยที่สําคัญ 10 อันดับแรก ในปี 2552 มาจากโรคมะเร็ง
รองลงมาคือ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน และโรคความดันหิตสูง ในอัตรา
88.3, 29.0, 21.0, 11.1, และ 3.6 ต่อประชากรแสนคนตามลําดับ
จากโครงสร้างของประชากรไทยที่เปลี่ยนไปสู่สังคมผู้สูงอายุ ทําให้ประชากรวัยสูงอายุ
เพิ่มขึ้น ประชากรวัยเด็กและวัยแรงงานลดลง ภาวะอนามัยเจริญพันธุ์รวมอยู่ระดับต่ํากว่า
ทดแทน มีสัดส่วนประชากรเด็ก : แรงงาน : ผู้สูงอายุ ร้อยละ 20.5 : 67.6 : 11.9 ในปี 2553
เป็นร้อยละ 18.3 : 66.9 : 14.8 ในปี 2559 ในขณะที่อายุขัยเฉลี่ยของคนไทยเพิ่มขึ้นเป็น 76.6 ปี
(เพิ่มขึ้นจาก ปี 2549 ชาย 68 ปี หญิง 75 ปี แต่ยังต่ํากว่าเป้าหมายที่กําหนดไว้ 80 ปี) แต่มี
ปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้นเช่นกัน โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุมีอัตราการมา
รับบริการผู้ป่วยในในอัตราค่อนข้างสูงมาก ในปี 2551 ด้วยโรคความดันโลหิตสูงมากที่สุดใน
อัตรา 7,213 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือ โรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจขาดเลือด
5
อัมพฤกษ์อัมพาต ในอัตรา 4,656, 1,909, 1,857 และ 995 ต่อประชากรแสนคน ทําให้ส่งผล
กระทบต่อภาระค่าใช้จ่ายรักษาพยาบาลของภาครัฐในปัจจุบันและอนาคตอย่างมากมาย
2. ส่วนที่ 2 : แบบแผนการบริโภคและการดํารงชีวิตที่เป็นภัยคุกคามสุขภาพ
จากแบบแผนการบริโภคและการดํารงชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป เป็นปัจจัยเสี่ยงที่
สําคัญทีเป็นภัยคุกคามสุขภาพ ทําให้ปัญหาสุขภาพจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดย
ตลอด แบบแผนการบริโภคและการดํารงชีวิตที่เป็นภัยคุกคามสุขภาพ มีดังนี้
2.1 พฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม
1) การบริโภคผักและผลไม้น้อย องค์การอนามัยโลกคาดว่าการบริโภคผักและ
ผลไม้ที่ต่ํากว่ามาตรฐานที่กําหนดไว้ 400-600 กรัมต่อคนต่อวัน (5-7.5 ถ้วยมาตรฐาน) ใน
ประเทศกําลังพัฒนา ทําให้ประชากรเสียชีวิตมากกว่า 2.5 ล้านคนต่อปี และสัมพันธ์กับการเกิด
โรคหัวใจขาดเลือด โรคเส้นเลือดในสมองตีบ และโรคมะเร็ง จากการสํารวจสุขภาพประชาชน
ไทยโดยการตรวจร่างกายของสํานักงานสํารวจสุขภาพประชาชนชาวไทย พบว่าคนไทยอายุ
15 ปีขึ้นไป มีแนวโน้มการบริโภคผักและผลไม้ลดลง โดยมีความชุกของการกินผักและผลไม้
ปริมาณต่อวันเพียงพอตามข้อแนะนํา (รวม 5 ส่วนมาตรฐานต่อวัน) ลดลงจากร้อยละ 21.7
ในปี 2546-2547 เป็นร้อยละ 17.7 (9 ล้านคน) ในปี 2551-2552 โดยกินผักและผลไม้เฉลี่ย
เพียงวันละ 3 ส่วนมาตรฐานเท่านั้น สําหรับเด็กอายุ 1-5 ปี จากการสํารวจของกองโภชนาการ
กรมอนามัย ปี 2546 พบเพียง 1 ใน 3 กินผักและผลไม้ทุกวัน ส่วนเยาวชนทั้งชายและหญิงอายุ
15-29 ปี กินผักและผลไม้เฉลี่ย 285 และ 320 กรัมต่อคนต่อวัน ตามลําดับ และมีเพียงร้อยละ
6.3 ที่กินผักและผลไม้รวมกันได้ ๔ ส่วนมาตรฐานขึ้นไปต่อวัน
2) การบริโภคหวาน เค็ม มัน มากเกินไป จากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่
เปลี่ยนไปนิยมอาหารฟาสต์ฟูด อาหารสําเร็จรูป ขนมคบเคี้ยว ขนมกรุบกรอบ ช็อคโกแล็ต
ลูกอม น้ําอัดลม และเครื่องดื่มรสหวานที่หาซื้อได้ง่าย สะดวก อาหารเหล่านี้ส่วนใหญ่
ประกอบด้วย แป้งน้ํามัน ไขมัน ผงชูรส และเกลือที่มาก แต่สารอาหารที่จําเป็นต่อการ
เจริญเติบโตของร่างกายและสติปัญญาน้อยมาก โดยที่ผู้ผลิตไม่ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
ส่วนประกอบและคุณค่าทางโภชนาการ ทําให้ผู้บริโภคเสี่ยงจ่อการเกิดโรคอ้วน เบาหวาน ไต
หัวใจ เส้นเลือดอุดตัน ความดันโลหิตสูง และมะเร็ง จากรายงานของคณะกรรมการอ้อยและ
น้ําตาล พบว่า ในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมาคนไทยบริโภคน้ําตาลเพิ่มสูงขึ้นเกือบ 3 เท่า จาก 12.7
กิโลกรัมต่อคนต่อปี ในปี 2526 เป็น 36.4 กิโลกรัมต่อคนต่อปี ในปี 2550 ซึ่งเกินกว่าเกณฑ์
มาตรฐานขององค์การอนามัยโลกที่กําหนดให้บริโภคน้ําตาลได้น้อยกว่า 15-20 กิโลกรัมต่อคน
6
ต่อปี หรือ 24 กรัมต่อคนต่อวัน (6 ช้อนชา) โดยในปี 2546 เด็กไทยอายุ 5 ปี เกือบ 2 ใน 3
บริโภคน้ําตาลเฉลี่ยวันละ 30.4 กรัม (8 ชอนชา) และ 1 ใน 4 บริโภคน้ําตาลมากกวาวันละ 40 กรัม
(10 ชอนชา) 1 สวนในป 2552 พบคนไทยอายุ 6 ปขึ้นไป รอยละ 31.3 ดื่มน้ําอัดลมและเครื่องดื่มที่
มีรสหวาน โดยดื่มทุกวันถึงรอยละ 25.3 (การสํารวจอนามัยสวัสดิการและพฤติกรรมการบริโภค
อาหารขอประชาชน สํานักงานสถิติแหงชาติ ในขณะที่เด็กวัยรุนอายุ 13-22 ป ในกรุงเทพมหานคร
มีพฤติกรรมบั่นทอนสุขภาพ รอยละ 51.3 ชอบกินอาหารฟาสตฟูด (ศูนยวิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
กรุงเทพโพลล) นอกจากนี้เด็กประถมศึกษากินขนมกรุบกรอบเปนประจําเพิ่มขึ้น จากรอละ 26.7 ใน
ป 2547 เปนรอยละ 38.1 ในป 2551 นอกจากนี้พบวาคนไทยโดยเฉลี่ยบริโภคเกลือโซเดียมคลอไรด
เพิ่มขึ้น 3 เทาตัว จากพฤติกรรมการบริโภคผลไมจิ้มเกลือ พริกน้ําปลา การใชเกลือแกงที่มีสาร
อันตรายอยางโซเดียมหรือโซเดียมคลอไรดในการถนอมอาหารและปรุงอาหาร ในป 2550 คนไทย
ไดรับเกลือโซเดียมคลอไรดจากแหลงอาหารตางๆ โดยเฉลี่ย 10,879 2,604 มิลลิกรัมต่อคน
ต่อวัน (มีโซเดียมประมาณ 8,275-13,483 มิลลิกรัมต่อคนต่อวัน การบริโภคไม่ควรเกิน 2,400
มิลลิกรัมต่อคนต่อวัน) โดยมีผลิตภัณฑ์เครื่องปรุงรสที่ครัวเรือนใช้ปริมาณเฉลี่ยมากใน 5 ลําดับ
แรก ได้แก่ น้ําปลา ซีอิ๊ว เกลือ กะปิ และซอสหอยนางรม ซึ่งโดยหลักแล้วไม่ควรบริโภคเกลือ
เกิน 1-1.5 ช้อนชาต่อวัน น้ําปลา ไม่ควรเกิน 2-3 ช้อนโต๊ะต่อวัน รวมทั้งโมโนโซเดียมกลูตาเมท
ในผงชูรส (การสํารวจปริมาณการบริโภคโซเดียมคลอไรด์ของประชากรไทย กองโภชนาการ
กรมอนามัย และองค์การยูนิเซฟ)
3) การสูบบุหรี่และดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ องค์การอนามัยโลกชี้
ควันบุหรี่เป็นค็อกเทลพิษรวมของสารพิษต่างๆ กว่า 400 ชนิด มีผู้สูบบุหรี่ประมาณ 1,100 ล้าน
คน กว่าร้อยละ 50 อยู่ในเอเชีย ผู้สูบกว่าร้อยละ 50 จะต้องเสียชีวิตก่อนถึงวัยชรา และแต่ละวัน
มีวัยรุ่นกลายเป็นผู้สูบบุหรี่หน้าใหม่เพิ่มขึ้น 80,000-100,000 คนทั่วโลก โดยมีผู้เสียชีวิตจาก
บุหรี่ปีละ 5 ล้านคน ในปี 2563 จะเสียชีวิตเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า หรือประมาณ 10 ล้านคน เฉลี่ย
นาทีละ 19 คน โดยร้อยละ 70 อยู่ในประเทศกําลังพัฒนา และจะเพิ่มขึ้นปีละ 1 พันล้านคน ในปี
2642 เฉลี่ยวินาทีละ 32 คน มีคนสูบบุหรี่วันละ 15,000 ล้านมวน
สําหรับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือการดื่มสุรา ทั่วโลกมีการดื่มกว่า 2,000
ล้านคน ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ ทําให้เกิดโรคภัยกว่า 60 ชนิด และคร่าชีวิตประชากรโลก
ถึง 2.3 ล้านคน ในปี 2547 โดยมีความชุกของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของคนไทยอายุ
15 ปีขึ้นไป ในปี 2551-2552 ร้อยละ 45.3 (23 ล้านคน) ดื่มตั้งแต่ระดับเสี่ยงปานกลางขึ้นไป
(ได้รับแอลกอฮอล์ 41 กรัมต่อวัน ในผู้ชาย และ 21 กรัมต่อวันในผู้หญิง) ร้อยละ 7.3 (3.7
ล้านคน) และดื่มอย่างหนักร้อยละ 17.6 (8.9 ล้านคน) ลดลงจากปี 2546-2547 ที่มีความชกถึง
7
ร้อยละ 9.2 และ 44.6 ตามลําดับ โดยเริ่มดื่มเมื่ออายุเฉลี่ย 21.5 ปี (ชาย อายุ 19.1 ปี หญิงอายุ
เฉลี่ย 26.3 ปี) (สํานักงานสํารวจสุขภาพประชากรไทย, 2551-2552) ทั้งนี้สามารถเข้าถึงแหล่ง
จําหน่ายได้ง่ายมาก ในปี 2547 มีร้านขายสุราที่ได้รับอนุญาตจําหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ถึง
585,700 ร้าน หรือ 1 ร้านต่อประชากรไทย 110 คน โดยผู้บริโภคใช้เวลาเพียง 7.5 นาที ในการ
หาซื้อ และมีผู้บริโภคเพียงร้อยละ 3 ที่รายงานว่ามีความยุ่งยากในการซื้อ และในปี 2552 มีร้าน
จําหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในรัศมี 500 เมตร รอบมหาวิทยาลัยในกรุเทพมหานคร เฉลี่ย 57
ร้านต่อตารางกิโลเมตร โดยมีปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยของประชากรไทย
เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในผู้ใหญ่เพิ่มจาก 7.28 ลิตรของแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนในปี 2550 เป็น
7.71 ลิตร (แผนยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 2
พ.ศ. 2552 และ ภัทรพร พลพนาธรรม, 2552) นอกจากนี้ จากการประเมินต้นทุนหรือความ
สูญเสียทางเศรษฐกิจจากการดื่มแอลกอฮอล์ของคนไทย ในปี 2549 มรมูลค่าสูงถึง 150,677
ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.92 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic
Product- GDP)คิดเป็น 2,398 บาทต่อหัวประชากร (กระทรวงสาธารณาสุข มหาวิทยาลัยมหิดล
และศูนย์วิจัยปัญหาสุรา, 2550) ในช่วง / ทศวรรษที่ผ่านมา ปี 2524-2550 ครัวเรือนไทย
บริโภคสินค้าที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และยาสูบ) ในมูลค่าคงที่ ปี
2550 เพิ่มขึ้น 2 เท่า จาก 32}910 ล้านบาท ในปี 2554 เป็น 63,915 ล้านบาท ในปี 2550 โดยมี
อัตราเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 5.7 ในมูลค่าจริง ในขณะที่ครัวเรือนจ่ายเงินเพื่อสุขภาพ (การ
รักษาพยาบาล) น้อยกว่าเพียง 60,861 ล้านบาท ในปี 2550 หรือเพิ่มขึ้น 2 เท่า ในอัตราเพิ่ม
เฉลี่ยร้อยละ 5.8 ในมูลค่าจริง (สํานักงานสถิติแห่งชาติ การสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม
ของครัวเรือน, 2550)
2.2 การออกกําลังกายที่ไม่เพียงพอ องค์การอนามัยโลกได้ประมาณว่า การไม่มี
กิจกรรมทางกายเพียงพอเป็นสาเหตุของโรคหัวใจและหลอดเลือด ร้อยละ 22-23 โรคมะเร็ง
ลําไส้ใหญ่ ร้อยละ 16-17 โรคเหวาน ร้อยละ 15 โรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 12-13 สํานักงาน
สถิติแห่งชาติได้รายงานว่า ในปี 2550 คนไทยอายุ 11ปีขึ้นไป ที่มีอาการป่วยในรอบ 1 เดือนที่
ผ่านมา ร้อยละ 16.7 ในจํานวนนี้เป็นผู้ที่ไม่ออกกําลังกายร้อยละ68.5 และผู้ที่เข้าพักรักษาใน
สถานพยาบาลระหว่าง 12 เดือนที่ผ่านมา ร้อยละ 16.7 เป็นผู้ที่ได้ออกกําลังกายถึงร้อยละ 74.2
อย่างไรก็ตาม จากการสํารวจสุขภาพของคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 77.5 ในปี 2546-2547 เป็นร้อยละ 81.5 (41.2 ล้านคน) ในปี 2551-2552 ซึ่ง
สอดคล้องกับการสํารวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บของสํานักโรคไม่ติดต่อ
กรมควบคุมโรค พบคนไทยอายุ 15-74 ปี ออกกําลังกายในระดับปานกลางและระดับหนัก
8
ครั้งละนานกว่า 30 นาที อย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 30.9 ในปี 2548 เป็น
ร้อยละ 37.5 (16.3 ล้านคน) ในปี 2550
2.3 ปัญหาสุขภาพจิต จากรายงานของบริษัทเซเรบอส แปซิฟิก จํากัด ได้สํารวจ
พฤติกรรมทางสุขภาพของประชาชนอายุ 15-60 ปี ในภูมิภาคเอเชีย 6 ประเทศ ได้แก่ จีน
ฮ่องกง มาเลเซีย สิงค์โปร์ ไต้หวัน และประเทศไทย พบว่ามีปัญหาด้านความเครียดเป็นอันดับ
หนึ่ง โดยมีสาเหตุมาจากปัญหาเศรษฐกิจ รองลงมาเป็นความรับผิดชอบต่อครอบครัวและ
ปัญหาเรื่องงาน ทั้งนี้จากการสํารวจของสํานักงานสถิติแห่งชาติ ในปี 2551 พบว่าคนไทยอายุ
15 ปีขึ้นไป ประมาณ 1 ใน5 มีสุขภาพจิตต่ํากว่าคนทั่วไป หญิงมีสัดส่วนของผู้มีสุขภาพจิตต่ํากว่า
คนทั่วไปมากกว่าชาย ร้อยละ 18.43 และ 17.06 ตามลําดับ นอกจากนี้จากการสํารวจของ
ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุเทพ ปี 2552 มีวัยรุ่นอายุ 13-22 ปี ในกรุงเทพ มีพฤติกรรมบั่นทอน
สุขภาพ โดยประมาณ 2 ใน 3 มีพฤติกรรมนอนดึก และพักผ่อนน้อย และ 1 ใน4 มีปัญหา
ความเครียด
2.4 น้ําหนักตัวเกินและอ้วน จากพฤติกรรมการบริโภคเกินความจําเป็น ขาดความ
สมดุลของพลังงาน ไม่สามารถควบคุมน้ําหนักที่เหมาะสมได้ ทําให้เกิดภาวะโภชนาการเกินหรือ
เป็นโรคอ้วน องค์การอนามัยโลกรายงานในปี 2548 ว่ามีประชากรโลกอายุ 15 ปีขึ้นไปมีน้ําหนัก
เกินมาตรฐานประมาณ 1,600 ล้านคน และมีผู้ใหญ่อ้วนมากถึง 400 ล้านคน ส่วนในเด็กอายุต่ํา
กว่า 5 ปี มีน้ําหนักตัวเกินมาตรฐานประมาณ 20 ล้านคน โดยในปี 2558 ทั่วโลกจะมีผู้ใหญ่ที่มี
น้ําหนักเกินมาตรฐานประมาณ 2,300 ล้านคน และมีคนอ้วนประมาณ 700 ล้านคน โดยมี
ข้อมูลการศึกษาที่น่าสนใจว่า หลังพ้นวัยทารกแล้วเด็กผู้หญิงจะอ้วนมากกว่าเด็กผู้ชาย เด็กที่
อ้วนเมื่ออายุ 6 ปีขึ้นไป จะมีโอกาสเป็นผู้ใหญ่อ้วนร้อยละ 25 หากเด็กอ้วนเมื่ออายุ 12 ปี เมื่อ
เติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีโอกาสอ้วนได้มากถึงร้อยละ 75 นอกจากนี้จากการศึกษาติดตามเด็ก
อ้วนในระยะยาว พบว่า 1 ใน 3 ของเด็กที่อ้วนในวัยก่อนเรียน และครึ่งหนึ่งของเด็กที่อ้วนในวัย
เรียนจะยังคงอ้วนเมื่อเป็นผู้ใหญ่ หากยังอ้วนเมื่อเป็นวัยรุ่นโอกาสที่จะเป็นผู้ใหญ่อ้วนจะยิ่งสูง
มากขึ้น ความอ้วนทําให้มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดปัญหาเรื่องความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือด
สูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง ไตวายเรื้อรัง นิ่วในถุงน้ําดี โรคเก๊าท์ กระดูกและข้อ
เสื่อม โรคเบาหวานชนิดที่ 2 หากอ้วนรุนแรงมีผลกระทบต่อโรคทางเดินหายใจอุดกั้นและหยุด
หายใจขณะหลับ การหลั่งฮอร์โมนผิดปกติ รวมทั้งปัญหาด้านจิตใจและสังคม สําหรับประเทศ
ไทยแนวโน้มคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป มีภาวะน้ําหนักเกินและอ้วน (ดัชนีมวลกาย หรือ Body Mass
Index ; BMI 25 กิโลกรัมต่อตารางเมตร) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 28.6 ในปี 2546-2547 เป็น
ร้อยละ 34.7 (17.6 ล้านคน ชายร้อยละ 28.4 หญิงร้อยละ 40.7) ในปี 2551-2552 และมีภาวะ
9
อ้วนลงพุง (รอบเอง 90 เซนติเมตรในชาย และ 80 เซนติเมตรในหญิง) เพิ่มขึ้นเช่นกัน
จากร้อยละ 26.0 เป็นร้อยละ 32.1 (16.2 ล้านคน ชายร้อยละ 18.6 หญิงร้อยละ 45) นอกจากนี้
จากการศึกษาหลายแห่งบ่งชี้ว่าปัญหาภาวะโภชนาการเกินในเด็กไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกัน
โดยพบว่าเด็กไทยอยู่ในภาวะโภชนาการเกินเพิ่มขึ้นปีละ 5หมื่นคน เด็กอายุต่ํากว่า 5 ปี อ้วน
เพิ่มขึ้นเป็น 3 เท่า ในระยะเวลาเพียง 6 ปี ในปี 2551-2552 มีเด็กอายุ 1-5 ปี และเด็กอายุ 6-9
ปี ร้อยละ 11-12 มีน้ําหนักตัวอยู่ในเกณฑ์ท้วมถึงอ้วน และสัดส่วนนี้เป็นร้อยละ 14.9 เมื่ออายุ
10-14 ปี รวมทั้งสิ้นประมาณ 1.6 ล้านคน พบในกรุงเทพมหานครและภาคกลางสูงกว่าภาคอื่นๆ
และในเขตเทศบาลมากกว่านอกเขตเทศบาล จากความนิยมในการบริโภคเครื่องดื่ม นมหวาน
น้ําอัดลม ขนม ลูกอมที่มีรสหวาน ซึ่งเด็กได้รับอิทธิพลของสื่อโฆษณาในโทรทัศน์ ซึ่งจาก
การศึกษาในสหรัฐอเมริกาบ่งชี้ว่าเด็กที่ดูโทรทัศน์วันละ 2-4 ชั่วโมง จะอ้วนเกินปกติเสี่ยงที่จะ
เป็นโรคความดันโลหิตสูงอันทําให้เกิดโรคหัวใจและอัมพาตต่อไปได้สูงกว่าปกติ 2.5 เท่า และ
หากดูโทรทัศน์มากกว่าวันละ 4 ชั่วโมง จะยิ่งเสี่ยงสูงขึ้นเป็น 3.3 เท่า สําหรับเด็กไทย
นอกเหนือจากการเรียนและกิจวัตรประจําวัน 1 ใน 5 ไปกับการดูโทรทัศน์ โดยรายการการ์ตูน
เป็นที่นิยมของเด็กในเช้าวัยเสาร์และวันอาทิตย์ ใช้เวลา 1 ใน 4 เป็นการโฆษณา และ 2 ใน 3
เป็นการโฆษณาขนมเด็ก หรือคิดเป็นร้อยละ 15 ซึ่งเป็นขนมขบเคี้ยว มันฝรั่ง ข้าวเกรียบ ขนมปัง
อบกรอบ มีความถี่ในการโฆษณาสูงสุด รวมทั้งการใช้เวลาไปกับการเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์และ
การใช้อินเทอร์เน็ต ซึ่งมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคขนมที่อุดมด้วยแป้งไขมัน และไม่
เคลื่อนไหว ไม่ออกกําหลังกาย ทําให้เด็กยิ่งก้าวเข้าใกล้ภาวะโภชนาการขาดสมดุลมากขึ้นเรื่อยๆ
3. ส่วนที่ 3 : สถานการณ์ความรุนแรงของโรควิถีชีวิต
3.1 โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus) สมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ คาดการณ์ว่ามี
ผู้ป่วยเบาหวานที่มีอายุระหว่าง 20-79 ปีทั่วโลก 285 ล้านคน ในปี 2553 และจะเพิ่มขึ้นเป็น
438 ล้านคน ในอีก 20 ปีข้างหน้า ในจํานวนนี้ 4 ใน 5 เป็นชาวเอเชีย เฉพาะภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้คาดว่าจะเพิ่มมากกว่า 58.7 ล้านคน เป็น 101 ล้านคนในปี 2573 นอกจากนี้
เด็กที่อายุต่ํากว่า 14 ปี จํานวน 4.4 แสนคนจากทั่วโลกเป็นเบาหวานชนิดที่ 1 (เบาหวานชนิดที่
ต้องพึ่งอินซูลินในเด็ก ต้องรักษาด้วยการฉีดอินซูลินทุกวัน) และแต่ละปีมีเด็กมากกว่า 70,000
คน กําลังพัฒนาสู่การเป็นโรคเบาหวานชนิดรี้ โดยพบในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
มากที่สุด และเด็กที่เป็นเบาหานจะมีอายุสั้นลงอีก 10-20 ปี สําหรับประเทศไทยในช่วงปี 2546-
2547 และปี 2551-2552 แนวโน้มความชุกของโรคเบาหวานคงเดิมร้อยละ 6.9 (3.5 ล้านคน)
ความชุกในผู้หญิงสูงกว่าผู้ชาย (ร้อยละ 7.7 และ 6) แต่มีผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเพิ่มขึ้นจาก
ร้อยละ 44.3 เป็นร้อยละ 68.8 และในส่วนของการรักษาสามารถควบคุมได้เพิ่มขึ้นจากร้อยละ
10
12.2 เป็นร้อยละ 28.5 ตามลําดับ และจากการคัดกรองคนไทยอายุ 35 ปีขึ้นไป ในปี 2552
จํานวน 21 ล้านคน พบเป็นผู้ป่วยเบาหวาน 1.4 ล้านคน (ร้อยละ 6.8) และกลุ่มเสี่ยง 1.7 ล้านคน
(ร้อยละ 8.2) กลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน 107,225 คน (ร้อยละ 10) ทั้งทางตา ร้อยละ 38.5
เท้า ร้อยละ 31.6 และไตร้อยละ 21.5 และคาดว่าในปี 2568 จะพบผู้ป่วยถึง 4.7 ล้านคน
เสียชีวิตเฉลี่ยปีละ 52,800 คน ภาวะแทรกซ้อนทางตาทําให้มีสายตาที่เลือนลางและอาจตาบอด
ในที่สุด ถ้ามีการตรวจรักษาตาในระยะที่เหมาะสมสามารถลดโอกาสตาบอดได้ถึงร้อยละ 50
นอกจากนี้ผู้ป่วยเบาหวานยังมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจและสมองสูงเป็น 2-4 เท่า
เมื่อเทียบกับคนปกติ และมากกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยเบาหวานพบความผิดปกติของปลายระบบ
ประสาท ผู้ชายเกินกว่าครึ่งเสื่อมสมรรถภาพทางเพศมีสาเหตุมาจากโรคเบาหวาน ดังนั้นหาก
สามรถป้องกันควบคุมการเกิดปัจจัยเสี่ยงร่วม ก็จะสามารถลดโรคได้อีกหลายโรคโดยการ
ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตที่สําคัญ คือการลดน้ําหนักให้อยู่ในระดับดัชนีมวลกายตามเกณฑ์ปกติ และ
ออกกกําลังกายสม่ําเสมอทําให้ความเสี่ยงจากการเกิดโรคเบาหวานลดลงถึงร้อยละ 58 และถ้า
ใช้ยา (Metformin) จะมีความเสี่ยงลดลงร้อยละ 31 ดังนั้นการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตโดยเฉพาะ
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกําลังกาย การคัดกรองกลุ่มเสี่ยง และการคัดกรอง
ภาวะแทรกซ้อนของกลุ่มผู้ป่วย จึงเป็นสิ่งที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสําคัญเพื่อสกัดกั้นปัญหา
ดังกล่าว
3.2 โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) โรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาที่
กําลังขยายตัวอย่างรวดเร็วในประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ที่ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบตะวันตก
องค์การอนามัยโลกได้คาดการณ์ว่า ผู้ป่วยมีความดันโลหิตสูงประมาณ 1,000 ล้านคนทั่วโลก
ขณะที่เครือข่ายความดันโลหิตสูงโลก (World Hypertension League) พบว่า 1 ใน 4 ของพลโลก
ทั้งชายและหญิงมีภาวะความดันโลหิตสูง มีส่วนทําให้คนทั่วโลกเสียชีวิตปีละ 7.1 ล้านคน โรค
ความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มสูงขึ้นตามอายุที่มากขึ้นและเป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่สําคัญของการ
เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมอง เป็นตัวการที่สําคัญต่อการป่วย
เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต ความดันโลหิต จากการสํารวจสภาวะสุขภาพของคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป
พบมีความชุกของโรคความดันโลหิตสูงลดลงเล็กน้อย จากร้อยละ 22 ในปี 254-2547 เป็น
ร้อยละ 21.4 (10.8 ล้านคน) ในปี 2551-2552 ผู้ชายและผู้หญิงมีภาวะความชุกโรคความดัน
โลหิตสูงใกล้เคียงกัน โดยมีผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 28.6 เป็นร้อยละ 49.7
ทั้งในส่วนของการรักษาและสามารถควบคุมได้ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 8.6 เป็นร้อยละ 20.9
ตามลําดับ นอกจากนี้จากการตรวจคัดกรองสุขภาพคนไทยอายุ 35 ปีขึ้นไป ทั่วประเทศในปี
2552 ทั้งสิ้น 21.2 ล้านคน พบผู้ป่วยโรคความดันโลหิต 2.2 ล้านคน (ร้อยละ 10.2) และกลุ่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม

More Related Content

What's hot

สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพสื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
Beerza Kub
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
krunueng1
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
Yaovaree Nornakhum
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
Kan Pan
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
tumetr
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหาร
Mutita Eamtip
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
kanyamadcharoen
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
Wuttipong Tubkrathok
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
Wichai Likitponrak
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
AjBenny Pong
 

What's hot (20)

สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพสื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหาร
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
การกรอง
การกรองการกรอง
การกรอง
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 

Viewers also liked

Виртуальный музей Мастер и Маргарита
Виртуальный музей Мастер и МаргаритаВиртуальный музей Мастер и Маргарита
Виртуальный музей Мастер и МаргаритаBouchard2
 
Lab school thungkhananwittaya
Lab school thungkhananwittayaLab school thungkhananwittaya
Lab school thungkhananwittayaKomsun See
 
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนบทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
Structured Programming and Algorithm
Structured Programming and AlgorithmStructured Programming and Algorithm
Structured Programming and Algorithm
Satipattan Oband
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงDevelopment Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตรsasiton sangangam
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือusaneetoi
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
ธัญญชล พงษ์อิ่ม
 

Viewers also liked (9)

Виртуальный музей Мастер и Маргарита
Виртуальный музей Мастер и МаргаритаВиртуальный музей Мастер и Маргарита
Виртуальный музей Мастер и Маргарита
 
Lab school thungkhananwittaya
Lab school thungkhananwittayaLab school thungkhananwittaya
Lab school thungkhananwittaya
 
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนบทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
บทความ การจัดการข้ามวัฒนธรรมเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
 
Structured Programming and Algorithm
Structured Programming and AlgorithmStructured Programming and Algorithm
Structured Programming and Algorithm
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 

Similar to อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม

โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
Bream Mie
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
jetaimej_
 
2562 final-project 40
2562 final-project 402562 final-project 40
2562 final-project 40
ssuserceb50d
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
Utai Sukviwatsirikul
 
Jirachaya jeein
Jirachaya jeeinJirachaya jeein
Jirachaya jeein
fahjirachaya
 
Jirachaya jeein
Jirachaya jeeinJirachaya jeein
Jirachaya jeein
fahjirachaya
 
โคร
โครโคร
โคร
Bream Mie
 
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
Utai Sukviwatsirikul
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
Utai Sukviwatsirikul
 
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
Namfon fon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Vida Yosita
 
Exercise in patients with dm and ht
Exercise in patients with dm and htExercise in patients with dm and ht
Exercise in patients with dm and ht
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
Utai Sukviwatsirikul
 
Nut1
Nut1Nut1
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
2560 project 602
2560  project 6022560  project 602
2560 project 602
opor kwn
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
Kanoksak Kangwanwong
 

Similar to อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม (20)

โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2562 final-project 40
2562 final-project 402562 final-project 40
2562 final-project 40
 
Dm 2557
Dm 2557Dm 2557
Dm 2557
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
 
Jirachaya jeein
Jirachaya jeeinJirachaya jeein
Jirachaya jeein
 
Jirachaya jeein
Jirachaya jeeinJirachaya jeein
Jirachaya jeein
 
Program roadmap14 final
Program roadmap14 finalProgram roadmap14 final
Program roadmap14 final
 
โคร
โครโคร
โคร
 
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
 
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Exercise in patients with dm and ht
Exercise in patients with dm and htExercise in patients with dm and ht
Exercise in patients with dm and ht
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
 
Nut1
Nut1Nut1
Nut1
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
2560 project 602
2560  project 6022560  project 602
2560 project 602
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม

  • 1.
  • 2.
  • 3. ศูนยหนังสือ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 295 ถนนราชสีมา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 Tel : 0 - 2244 - 5420 - 5, Fax : 0 - 2243 - 5984 อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบําบัด ผูเรียบเรียง : ผูชวยศาสตราจารยพัทธนันท ศรีมวง พิมพครั้งที่ 1 : จํานวน 145 เลม มกราคม 2555 ดําเนินการพิมพและจัดจําหนายโดย : ออกแบบปก : สหรัฐ ลวดลาย พิมพที่ : หางหุนสวนจํากัด เอ็ม แอนด เอ็ม เลเซอรพริ้นต โทร : 0-2215-3999
  • 4. คํานํา เอกสารประกอบการสอนรายวิชา อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบําบัด รหัสวิชา 4513211 นี้เป็นเอกสารใช้ประกอบการเรียนในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต โปรแกรมวิชา อุตสาหกรรมอาหารและการบริการ โรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มุ่งเน้นให้ นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการจัดอาหารเพื่อสุขภาพให้กับบุคคลวัยต่างๆ ได้ อย่างเหมาะสม รวมทั้งสามารถจัดอาหารให้กับผู้ป่วยโรคต่างๆ ตามหลักโภชนบําบัดได้อย่าง ถูกต้อง เหมาะสมและผู้ป่วยยอมรับ เนื้อหาของเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้แบ่งออกเป็น 12 บท กล่าวถึง ความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับสุขภาพ อาหารเพื่อสุขภาพกลุ่มต่างๆ ตํารับ อาหารเพื่อสุขภาพสําหรับบุคคลวัยต่างๆ และการจัดอาหารที่เหมาะสมสําหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ ได้แก่ ผู้ป่วยโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหลอดเลือดแดงแข็งและ โรคหัวใจขาดเลือด โรคตับ โรคถุงน้ําดี โรคกระเพาะอาหาร โรคเกาต์ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวี (ยังไม่มีอาการ) และการบริการอาหารในโรงพยาบาล เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ ได้จัดทําขึ้นจากหลักและทฤษฎีของหลักการด้าน โภชนาการและโภชนบําบัดที่ได้จากการศึกษาเอกสาร ตํารา งานวิจัยต่างๆ พร้อมทั้งนํา ประสบการณ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานมาเรียบเรียงเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ง่ายต่อการเรียนรู้ และปรับแก้ไขจากการใช้สอนเพื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียน ซึ่งคาดว่าเอกสารประกอบการสอน รายวิชาอาหารบําบัดโรคนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักศึกษาและผู้ที่สนใจ ขอขอบคุณพระคุณครู อาจารย์ ตลอดจนผู้เขียนหนังสือ เอกสารต่างๆ ที่ใช้ประกอบการเขียนเอกสารประกอบการสอน เล่มนี้ และขอขอบคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตเป็นอย่างสูงที่ส่งเสริมและสนับสนุนการ จัดทําเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ หากมีข้อบกพร่องใดๆ ที่ควรปรับปรุงแก้ไข ขอท่านผู้รู้ได้ โปรดชี้แนะจักเป็นพระคุณอย่างสูง ผู้เขียนขอน้อมรับด้วยความขอบพระคุณไว้ ณ โอกาสนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พัทธนันท์ ศรีม่วง พฤศจิกายน 2554
  • 5. (2)
  • 6. (3) สารบัญ หน้า คํานํา (1) สารบัญ (3) สารบัญตาราง (8) สารบัญภาพ (13) บทที่ 1 อาหาร โภชนาการ และภาวะสุขภาพ 1 ความหมายและความสําคัญของสุขภาพ และสุขภาพองค์รวม 1 องค์ประกอบของสุขภาพ 2 สุขภาพคนไทย 3 อาหารหลัก 5 หมู่ และแนวทางการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ 15 ข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย 19 ธงโภชนาการ 27 ความสําคัญของอาหารกับการป้องกันและการบําบัดโรค 34 สรุป 35 บทที่ 2 อาหารเพื่อสุขภาพ 37 ความหมายของอาหารเพื่อสุขภาพ 37 อาหารแมคโครไบโอติกส์ 41 อาหารมังสวิรัติ 47 สมุนไพรกับสุขภาพ 53 สรุป 72 บทที่ 3 อาหารและโภชนาการสําหรับบุคคลวัยต่างๆ 73 โภชนาการและตํารับอาหารสุขภาพสําหรับหญิงตั้งครรภ์ 73 โภชนาการและตํารับอาหารสุขภาพสําหรับหญิงให้นมบุตร 85 โภชนาการและอาหารเสริมสําหรับทารก 91 โภชนาการและตํารับอาหารสุขภาพสําหรับเด็กวัยก่อนเรียน 98
  • 7. (4) สารบัญ (ต่อ) หน้า โภชนาการและตํารับอาหารสุขภาพสําหรับเด็กวัยเรียน 102 โภชนาการและตํารับอาหารสุขภาพสําหรับเด็กวัยรุ่น 106 โภชนาการและตํารับอาหารสุขภาพสําหรับผู้สูงอายุ 111 สรุป 115 บทที่ 4 อาหารสําหรับผู้ป่วยโรคอ้วน 117 ความหมายของภาวะน้ําหนักตัวเกินและโรคอ้วน 117 สาเหตุของโรคอ้วน 119 ผลเสียและอันตรายที่เกิดจากโรคอ้วน 120 การวินิจฉัยภาวะน้ําหนักตัวเกินและโรคอ้วน 122 ประเภทของโรคอ้วน 126 การคํานวณหาความต้องการพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน 127 การบําบัดรักษาภาวะน้ําหนักตัวเกินและโรคอ้วน 138 ตัวอย่างหลักการจัดอาหารสําหรับผู้ป่วยน้ําหนักตัวเกินและโรคอ้วน 144 สรุป 150 บทที่ 5 อาหารสําหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน 151 ความหมายของโรคเบาหวาน 151 การควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด 153 ประเภทของโรคเบาหวาน 155 สาเหตุของโรคเบาหวาน 156 อาการแสดงของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน 158 การตรวจวินิจฉัยโรคเบาหวาน 159 โรคแทรกซ้อนที่พบในผู้ป่วยโรคเบาหวาน 161 การรักษาโรคเบาหวาน 164 หลักการคํานวณและกําหนดอาหารสําหรับผู้ป่วยเบาหวาน 173 การประเมินผลการควบคุมเบาหวาน 184
  • 8. (5) สารบัญ (ต่อ) หน้า การให้ความรู้ทางโภชนาการแก่ผู้ป่วยโรคเบาหวาน 184 สรุป 188 บทที่ 6 อาหารสําหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 189 ความหมายของความดันโลหิต 189 วิธีการวัดความดันโลหิต 190 ความหมายของความดันโลหิตสูง 191 สาเหตุของโรคความดันโลหิตสูง 192 ผลของโรคความดันโลหิตสูงที่มีต่ออวัยวะต่างๆ 194 อาการแสดงของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 197 การปฏิบัติตัวเพื่อรักษาและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง 198 การจัดอาหารสําหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 199 หลักการจัดอาหารจํากัดโซเดียม 202 ข้อแนะนําในการประกอบอาหารจํากัดโซเดียม 213 สรุป 214 บทที่ 7 อาหารสําหรับผู้ป่วยโรคไต 215 โครงสร้างของไต 215 หน้าที่ของไต 218 ประเภทของโรคของไต 220 หลักการกําหนดอาหารให้ผู้ป่วยโรคไต 226 อาหารจํากัดโปรตีน 230 อาหารจํากัดโซเดียม 239 อาหารจํากัดโปแตสเซียม 241 การจํากัดน้ําและการให้น้ําแก่ผู้ป่วยในปริมาณมาก 243 สรุป 244
  • 9. (6) สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 8 อาหารสําหรับผู้ป่วยภาวะหลอดเลือดแดงแข็งและโรคหัวใจขาดเลือด245 หน้าที่และโครงสร้างของหลอดเลือดแดง 245 ภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง 246 หน้าที่และโครงสร้างของหัวใจ 249 โรคหัวใจขาดเลือด 251 ภาวะโคเลสเตอรอลสูงในเลือดกับโรคหัวใจขาดเลือด 255 หลักการจัดอาหารลดโคเลสเตอรอล 258 อาหารกับการบําบัดภาวะไตรกลีเซอไรด์สูงในเลือด 261 สรุป 275 บทที่ 9 อาหารสําหรับผู้ป่วยโรคตับ ถุงน้ําดี และโรคกระเพาะอาหาร 277 โครงสร้างและหน้าที่ของตับ 277 โรคตับอักเสบและหลักการจัดอาหาร 279 โรคตับแข็งและหลักการจัดอาหาร 284 โรคถุงน้ําและหลักการจัดอาหาร 290 โรคกระเพาะอาหารและหลักการจัดอาหาร 294 สรุป 304 บทที่ 10 อาหารสําหรับผู้ป่วยโรคเกาต์ 307 ความหมายของโรคเกาต์ 307 การเกิดและการขับถ่ายกรดยูริกในร่างกาย 307 สาเหตุของโรคเกาต์ 308 อาการของโรคเกาต์ 309 การวินิจฉัยโรคเกาต์ 311 การรักษาโรคเกาต์ 311 หลักการจัดอาหารให้กับผู้ป่วยโรคเกาต์ 312 สรุป 319
  • 10. (7) สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 11 อาหารสําหรับผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวี 321 ความหมายของโรคเอดส์ 321 ประวัติของโรคเอดส์ 323 ระบาดวิทยาของโรคเอดส์ 323 การติดต่อของโรคเอดส์ 325 อาการของผู้ติดเชื้อเอชไอวี 328 ผลกระทบของโรคเอดส์ที่มีต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย 329 หลักการจัดอาหารสําหรับผู้ป่วยโรคเอดส์ 330 หลักการจัดอาหารสําหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี (ที่ยังไม่มีอาการ) 331 สรุป 338 บทที่ 12 การบริการอาหารในโรงพยาบาล 339 ความรู้เกี่ยวกับการบริการอาหารในโรงพยาบาล 339 อาหารสําหรับผู้ป่วยทั่วไปในโรงพยาบาล 347 อาหารบําบัดโรคหรืออาหารเฉพาะโรค 354 อาหารที่ให้ทางสายให้อาหาร 360 สิ่งที่ควรทราบในการดัดแปลงอาหารบําบัดโรค 369 ตัวอย่างรายการอาหารผู้ป่วยที่บริการในโรงพยาบาล 371 สรุป 374 บรรณานุกรม 375 ภาคผนวก รายการอาหารแลกเปลี่ยน 383
  • 11. (8) สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1.1 การแปลผลค่าดัชนีมวลกาย 20 1.2 ปริมาณอาหารที่บุคคลวัยต่างๆ ควรได้รับใน 1 วัน 31 2.1 ประเภทของอาหารฟังก์ชั่น องค์ประกอบหลัก และประโยชน์ต่อสุขภาพ 39 2.2 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของกระเทียม 54 2.3 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของหัวหอม ต้นหอมและดอกหอม 55 2.4 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของขมิ้น 56 2.5 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของขิง 58 2.6 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของข่า 59 2.7 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของพริก 61 2.8 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของพริกไทย 63 2.9 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของตะไคร้ 64 2.10 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของกระเพรา 64 2.11 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของโหระพา 65 2.12 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของตําลึง 66 2.13 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของถั่วพู 67 2.14 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของผักบุ้ง 67 2.15 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของมะระ 68 2.16 คุณค่าทางโภชนาการที่สําคัญของมะเขือเทศ 69 3.1 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับหญิงตั้งครรภ์ ใน 1 มื้อ 81 3.2 ปริมาณและแหล่งวิตามินและเกลือแร่ที่หญิงให้นมบุตรควรได้รับต่อวัน 87 3.3 ปริมาณอาหารของผู้ใหญ่ หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร 88 3.4 ประเภทของอาหารเสริมที่ทารกควรได้รับใน 1 วัน 95 3.5 พลังงานที่ควรได้รับจากอาหารที่บริโภคต่อวันสําหรับเด็กอายุ 1-8 ปี 98 3.6 ปริมาณอาหารสําหรับเด็กวัยก่อนเรียน 100 3.7 ปริมาณอาหารสําหรับเด็กวัยเรียนอายุ 6-13 ปี พลังงาน 1,600 กิโลแคลอรีต่อวัน 105
  • 12. (9) สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 3.8 พลังงานที่ควรได้รับจากอาหารที่บริโภคต่อวันสําหรับวัยรุ่น 107 3.9 ความต้องการธาตุเหล็ก (absorbed iron requirement) ในกลุ่มอายุต่างๆ 109 3.10 ปริมาณอาหารที่วัยรุ่นหญิง-ชาย (อายุ 14-25 ปี) ควรได้รับใน 1 วัน ปริมาณพลังงาน 2,000 กิโลแคลอรีต่อวัน 110 3.11 ปริมาณอาหารที่ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) ควรได้รับใน 1 วัน พลังงาน 1,600 กิโลแคลอรีต่อวัน 114 3.12 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้สูงอายุในหนึ่งวัน 115 4.1 ค่าดัชนีมวลกาย 123 4.2 ค่าต่ําสุดของความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณไตรเซพที่ใช้ตัดสินความอ้วน ของคนอเมริกันเผ่าคอเคเซียน 124 4.3 ค่าความหนาแน่นของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณไตรเซฟ 125 4.4 น้ําหนักและส่วนสูงของทารก เด็ก และวัยรุ่น 128 4.5 น้ําหนักและส่วนสูงของผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 129 4.6 ความต้องการพลังงานและโปรตีนจากน้ํานมแม่และจากอาหารอื่น ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 2 ปี 131 4.7 พลังงานที่ควรได้รับจากอาหารที่บริโภคต่อวันสําหรับทารก 132 4.8 พลังงานที่ควรได้รับจากอาหารที่บริโภคต่อวันสําหรับเด็กและวัยรุ่น 132 4.9 พลังงานที่ควรได้รับจากอาหารที่บริโภคต่อวันสําหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 133 4.10 ความต้องการพลังงานของผู้ใหญ่จําแนกตามกิจกรรมที่ทํา 134 4.11 พลังงานที่ต้องการเพิ่มขึ้นต่อวันสําหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร 137 4.12 ตัวอย่างการจัดอาหารลดน้ําหนักสําหรับคนวัยทํางาน 140 4.13 ตัวอย่างกิจกรรมที่ใช้พลังงาน 150 กิโลแคลอรี 141 4.14 การคํานวณการกําหนด “ส่วน” อาหารสําหรับพลังงาน 1,800 กิโลแคลอรี 147 4.15 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ต้องการพลังงาน 1,806.5 กิโลแคลอรี 148 4.16 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน 1,806.5 กิโลแคลอรี 148
  • 13. (10) สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 4.17 สัดส่วนและปริมาณอาหารในรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน 1,806.5 กิโลแคลอรี 149 5.1 ปริมาณใยอาหารในอาหารประเภทต่างๆ (ปริมาณใยอาหารต่อ 100 กรัม) 167 5.2 ค่าดัชนีน้ําตาลในอาหารประเภทต่างๆ 168 5.3 กําหนดปริมาณอาหารที่ผู้ป่วยเบาหวานหญิงควรได้รับ (1,800 กิโลแคลอรี) 175 5.4 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ป่วยเบาหวานหญิง พลังงาน 1,800.5 กิโลแคลอรี 176 5.5 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ป่วยเบาหวานหญิง พลังงาน 1,800.5 กิโลแคลอรี 176 5.6 สัดส่วนและปริมาณอาหารในรายการอาหารแลกเปลี่ยนสําหรับผู้ป่วย เบาหวานหญิง พลังงาน 1800.5 กิโลแคลอรี 177 5.7 กําหนดปริมาณอาหารที่ผู้ป่วยเบาหวานชายควรได้รับ (1,600 กิโลแคลอรี) 181 5.8 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ป่วยเบาหวานชาย พลังงาน 1,593.5 กิโลแคลอรี 182 5.9 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ป่วยเบาหวานชาย พลังงาน 1,593.5 กิโลแคลอรี 182 5.10 สัดส่วนและปริมาณอาหารในรายการอาหารแลกเปลี่ยนสําหรับ ผู้ป่วยเบาหวานชายพลังงาน 1,593.5 กิโลแคลอรี 183 6.1 ระดับความดันโลหิตสูง (มิลลิเมตรปรอท) จําแนกตามความรุนแรงใน ผู้ใหญ่อายุ 18 ปีขึ้นไป 192 6.2 ปริมาณโซเดียมในอาหารปริมาณ 1 ส่วน ตามรายการอาหารแลกเปลี่ยน 206 6.3 การคํานวณการกําหนด “ส่วน” อาหารสําหรับพลังงาน 2,000 กิโลแคลอรี จํากัดโซเดียม 2 กรัมต่อวัน 209 6.4 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ต้องการพลังงาน 1,999 กิโลแคลอรี จํากัดโซเดียม 2 กรัมต่อวัน 210 6.5 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน 1,999 กิโลแคลอรี 211 6.6 สัดส่วนและปริมาณอาหารในรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน 1,999 กิโลแคลอรี 212 7.1 ปริมาณโปรตีนที่ผู้ป่วยควรได้รับ จําแนกตามอัตราการกรองผ่านโกลเมอรูลัส 229 7.2 จํานวนส่วนอาหารสําหรับผู้ได้รับพลังงาน 1,600 กิโลแคลอรี โปรตีน 20 กรัม 234
  • 14. (11) สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 7.3 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ต้องการพลังงาน 1,594 กิโลแคลอรี โปรตีน 20 กรัม 235 7.4 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน 1,594 กิโลแคลอรี โปรตีน 20 กรัม 235 7.5 จํานวนส่วนอาหารสําหรับผู้ได้รับพลังงาน 1,600 กิโลแคลอรี โปรตีน 40 กรัม 238 7.6 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ต้องการพลังงาน 1,594 กิโลแคลอรี โปรตีน 40 กรัม 239 7.7 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน 1600 กิโลแคลอรี โปรตีน 40 กรัม 239 7.8 ปริมาณโซเดียมในอาหารจํากัดโปรตีน 20 และ 40 กรัม 240 7.9 ปริมาณโปแตสเซียมในอาหารในส่วนที่กินได้ 100 กรัม 242 8.1 ปริมาณโคเลสเตอรอลในอาหารบางชนิด (มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม 255 8.2 หลักโภชนบําบัดในผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดสูง (hyperlipoproteinemia) 259 8.3 ปริมาณกรดไลโนเลอิกในน้ํามันพืชที่ใช้ปรุงอาหาร 260 8.4 กําหนดปริมาณอาหารที่ผู้ป่วยควรได้รับ 266 8.5 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ต้องการพลังงาน 1,798.5 กิโลแคลอรี 267 8.6 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน 1805 กิโลแคลอรี 268 8.7 ปริมาณโคเลสเตอรอลที่ผู้ป่วยได้รับจากการอาหารโดยประมาณ 268 8.8 กําหนดปริมาณอาหารที่ผู้ป่วยควรได้รับ 271 8.9 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ต้องการพลังงาน 1,499.5 กิโลแคลอรี 272 8.10 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน 1,499.5 กิโลแคลอรี 273 8.11 แสดงปริมาณโคเลสเตอรอลที่ผู้ป่วยได้รับจากการอาหารโดยประมาณ 273 8.12 สัดส่วนและปริมาณอาหารในรายการอาหารแลกเปลี่ยนสําหรับผู้ที่ต้องการ พลังงาน 1,499.5 กิโลแคลอรี 274 9.1 ความแตกต่างของเชื้อไวรัสตับอักเสบบางชนิด 282 9.2 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ป่วยโรคตับแข็ง 287
  • 15. (12) สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 9.3 แนวทางในการจัดอาหารให้ผู้ป่วยโรคมะเร็ง 303 10.1 กําหนดปริมาณอาหารที่ผู้ป่วยโรคเกาต์ควรได้รับ 316 10.2 การกระจายส่วนอาหารสําหรับผู้ต้องการพลังงาน 1,593.5 กิโลแคลอรี 317 10.3 ตัวอย่างรายการอาหารสําหรับผู้ที่ต้องการพลังงาน 1,191 กิโลแคลอรี 317 10.4 สัดส่วนและปริมาณอาหารในรายการอาหารแลกเปลี่ยนสําหรับผู้ที่ต้องการ พลังงาน 1,191 กิโลแคลอรี 318 11.1 ตัวอย่างอาหารสําหรับผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี (ที่ยังไม่มีอากาการ) ใน 1 วัน 336 11.2 ตัวอย่างอาหารสําหรับผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี ที่มีน้ําหนักตัวลด 337 11.3 ตัวอย่างอาหารสําหรับผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี ที่มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน 337 12.1 ลักษณะของอาหารธรรมดาที่รับประทานได้ 347 12.2 มาตรฐานอาหารธรรมดาที่ใช้ในโรงพยาบาล 348 12.3 ตัวอย่างรายการอาหารธรรมดา 7 วัน 349 12.4 ลักษณะอาหารธรรมดาย่อยง่ายหรืออาหารฟักฟื้น 350 12.5 ตัวอย่างรายการอาหารธรรมดาย่อยง่าย 3 วัน 351 12.6 ลักษณะของอาหารอ่อน 352 12.7 ตัวอย่างรายการอาหารเหลวใสและเหลวข้น 354 12.8 ส่วนประกอบของอาหารทางสายให้อาหารสูตรน้ํานมผสม สูตร “รามาธิบดี” 360 12.9 ส่วนประกอบของอาหารทางสายให้อาหาร สูตรอาหารปั่นผสม “รามาธิบดี” 361 12.10 รายการอาหารธรรมดาสําหรับผู้ป่วยในโรงพยาบาล 371
  • 16. (13) สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า 1.1 ธงโภชนาการ 28 1.2 ปริมาณอาหารที่แสดงเป็นจํานวนทัพพี หรือช้อนกินข้าว พร้อมความหลากหลายของอาหารในแต่ละกลุ่มที่สามารถกิน สลับหมุนเวียนกันได้ 29 1.3 ปริมาณอาหารที่แสดงในธงโภชนาการ 30 1.4 พีระมิดอาหารหลัก 5 หมู่ 34 5.1 โครงสร้างของตับ 153 5.2 โรคทางผิวหนังที่เกิดขึ้นในผู้ป่วยโรคเบาหวาน 164 6.1 ความดันโลหิตขณะที่หัวใจบีบและคลายตัว 190 7.1 โครงสร้างของไต 216 7.2 โครงสร้างภายในของไต 217 8.1 หัวใจ 249 8.2 การทํางานของลิ้นหัวใจ 250 8.3 ปื้นเหลืองเหลืองแบบพุพองจากการมีไคโลไมครอนในเลือดสูง 257 8.4 ปื้นเหลืองที่บริเวณข้อศอก 258 9.1 ตับและถุงน้ําดี 278 9.2 อาการตาเหลือง ในผู้ป่วยดีซ่าน 281 9.3 ด้านหน้าของกระเพาะอาหารแสดงส่วนต่างๆ ของกระเพาะด้านบน 294 10.1 ลักษณะปุ่มก้อนที่นิ้วมือของผู้ป่วยที่เป็นโรคเกาต์ 310
  • 17. (14)
  • 18. บทที่ 1 อาหาร โภชนาการ และภาวะสุขภาพ ปัจจัยที่สําคัญในการพัฒนาประเทศได้แก่คุณภาพชีวิตของประชากร กล่าวคือประชากร ต้องได้รับการตอบสนองความต้องการ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม จนก่อให้เกิดความมี สุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี เพราะภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์และแข็งแรงของประชากร ย่อมนําไปสู่ การมีศักยภาพทั้งด้านสติปัญญา และความคิดสร้างสรรค์ อันเป็นปัจจัยสําคัญในการพัฒนา ประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้า แต่ปัจจุบันพบว่าคนไทยประสบปัญหาสุขภาพ มีอัตราการเกิด โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มีความสัมพันธ์ทางโภชนาการเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความ ดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคนิ่วในถุงน้ําดี โรคปวดข้อ เข่า โรคเกาต์ และโรคมะเร็ง เป็นต้น โรคดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนไทย มีการบริโภคอาหารกลุ่มแป้ง น้ําตาล ไขมัน เพิ่มมากขึ้น และมีการใช้พลังงานในชีวิตประจําวัน น้อยลง ดังนั้นเพื่อการมีสุขภาพที่ดีแข็งแรงอันนําไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากการออก กําลังกายอย่างสม่ําเสมอ นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอแล้ว ยังมีความจําเป็นที่ประชาชนต้อง ทําความเข้าใจให้ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องการบริโภคอาหารว่าจะกินอย่างไรเพื่อให้ได้รับสารอาหาร ที่มีประโยชน์มีคุณค่าต่อร่างกาย ความหมายและความสําคัญของสุขภาพ และสุขภาพองค์รวม สุขภาพ มีรากศัพท์มาจากคําว่า “สวัสถะ” หมายถึง ผู้ตั้งอยู่กับตัวเอง (สวะ หมายถึง ตังเอง และ สถะ หมายถึง ตั้งอยู่) ทั้งร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ หรือ มีความอิ่มเอมอยู่ใน ตัวเอง หรือ ภาวะที่บุคคลมีจิตสํานึกรู้ตัวทั่วพร้อม มีภาวะจิต และกายประสานกลมกลืนกัน อย่างดีก่อให้เกิดความสงบหรือความสุข เป็นภาวะที่กายและจิตดําเนินไปอย่างกลมกลืนเป็น หนึ่งเดียวกับธรรมชาติ (กองแพทย์ทางเลือก, 2550) สุขภาพ (Health) หมายถึง ความสุขปราศจากโรค ความสบาย (พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525) องค์การอนามัยโลก (2591) ให้ความหมายของ สุขภาพ หมายถึง ภาวะความสมบูรณ์ ของร่างกาย จิตใจ และการดํารงชีวิตอยู่ในสังคมด้วยดี ไม่ใช่เพียงแต่ปราศจากโรค หรือทุพพล ภาพเท่านั้น (Health is defined as a state complete physical mental and social well-being and merely the absence infirmity) ต่อมาในที่ประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลก เดือน
  • 19. 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 ได้มีมติให้เติมคําว่า “Spiritual Well-being” หรือ สุขภาวะทางจิต วิญญาณเข้าไปในคําจํากัดความของสุขภาพ ดังนั้น สุขภาพ หมายถึง ภาวะของการดํารงชีวิตที่ มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ รวมทั้งการอยู่ร่วมกันในสังคมได้ด้วยดี อยู่บนพื้นฐาน คุณธรรม และการใช้สติปัญญา สุขภาพองค์รวม (Holistic Health) หมายถึง ความสมดุลทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ไม่เพียงแต่ไม่เจ็บป่วย หรือไม่มีโรค ยังครอบคลุมถึงการดําเนินชีวิตที่ยืนยาว และมีความสุขของทุกคนด้วย องค์ประกอบของสุขภาพ จากความหมายของสุขภาพ ดังที่กล่าวไว้ข้างต้น คําว่า สุขภาพ จึงมิได้มีความหมาย เฉพาะสุขภาพกายและสุขภาพจิตเท่านั้น แต่ยังรวมถึงสุขภาพสังคม และสุขภาพจิตวิญญาณ ดังนั้นลักษณะของบุคคลที่มีสุขภาพที่สมบูรณ์ ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ 5 มิติ ดังนี้ 1. มิติทางกาย เป็นมิติทางร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคหรือความเจ็บป่วย มีปัจจัยองค์ประกอบทั้งด้าน อาหาร สิ่งแวดล้อม ที่อยู่อาศัย ปัจจัยเกื้อหนุนทางเศรษฐกิจที่ พอเพียง และส่งเสริมภาวะสุขภาพ 2. มิติทางจิตใจ เป็นมิติที่บุคคลมีสภาวะทางจิตใจที่แจ่มใส ปลอดโปร่ง ไม่มีความกังวล มีความสุข มีเมตตา และลดความเห็นแก่ตัว 3. มิติทางสังคม เป็นความผาสุกของครอบครัว สังคม และชุมชน โดยชุมชนสามารถให้ การช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและกัน สังคมมีความเป็นอยู่ที่เอื้ออาทร เสมอภาคมีความยุติธรรม และ มีระบบบริการที่ดีและทั่วถึง 4. มิติทางจิตวิญญาณ เป็นความผาสุกที่เกิดจากจิตสัมผัสกับสิ่งที่มีบุคคลยึดมั่นและ เคารพสูงสุดทําให้เกิดความหวัง ความเชื่อมั่นศรัทธา มีการปฏิบัติในสิ่งที่ดีงามด้วยความมี เมตตา กรุณา ไม่เห็นแก่ตัว มีความเสียสละ และยินดีในการที่ได้มองเห็นความสุขหรือ ความสําเร็จของบุคคลอื่น ทั้งนี้สุขภาวะทางจิตวิญญาณจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีความหลุดพ้นจาก ตัวเอง 5. มิติทางอารมณ์ คนเราจะตอบสนองต่ออารมณ์ทั้งทางด้านบวกแลทางลบที่จะเกิดขึ้น เป็นสิ่งที่ดีหรือไม่ดีทั้งนี้อยู่ที่การควบคุมของแต่ละบุคคล มิติสุขภาพองค์รวมทั้ง 5 มิติซึ่งถือเป็นสุขภาวะจะมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันโดยสุข ภาวะทางจิตวิญญาณจะเป็นมิติที่สําคัญที่บูรณาการความเป็นองค์รวมของ กาย จิต อารมณ์ และสังคม ของบุคคลและชุมชนให้สอดประสานเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จิตวิญญาณเป็น สิ่ง
  • 20. 3 สําคัญของสุขภาพที่จะกุมสุขภาวะในมิติอื่นๆ ให้ปรับตัวประสานอย่างครอบคลุมและครบถ้วน ทั้งในระดับปัจเจกบุคคลและชุมชน หากขาดสุขภาวะทางจิตวิญญาณ มนุษย์จะไม่พบความสุขที่ แท้จริง ขาดความสมบูรณ์ในตนเอง มีความรู้สึกบกพร่อง หากมีความพร้อมถึงสิ่งอันมีค่าสูงสุด ก็จะมีความสุขหรือสุขภาวะที่ดีได้แม้ว่าจะบกพร่องทางกาย เช่น มีความพิการ หรือเป็นโรค เรื้อรัง (ประเวศ วะสี, 2543) สุขภาพของคนไทย จากแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย พ.ศ. 2554-2556 ได้นําเสนอสถานการณ์ปัญหา สุขภาพและโรคไม่ติต่อเรื้อรังจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป ไว้ดังนี้ 1. ส่วนที่ 1 : บริบทใหม่ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิต และสุขภาพ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่ขาดความสมดุลทั่วโลกและของประเทศ ไทยภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทางวัตถุโดยเอาเศรษฐกิจหรือเงินเป็นตังตั้ง แบบทุนนิยม เป็นผลให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจในอัตราที่สูงแต่มีความผันผวนตลอดเวลา จากปัจจัยภายนอก ทําให้เศรษฐกิจเกิดความเลื่อมล้ํา สังคมไปสู่การเสื่อมสลาย จากสังคม ตะวันออกเป็นสังคมตะวันตก สังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมเปลี่ยนอุตสาหกรรม สังคมชนบท กลายเป็นสังคมเมืองมากขึ้น ทําให้แบบแผนการดําเนินชีวิตและแบบแผนการบริโภคเปลี่ยนไป ได้แก่ เกิดกระแสวัตถุนิยม บริโภคนิยม มีค่านิยมเลียนแบบการบริโภคตามต่างชาติ มีพฤติกรรม การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ไม่ได้สัดส่วน ขาดความสมดุล ละเลย หรือมองข้ามคุณค่าทาง โภชนาการ นิยมบริโภคอาหารฟาสต์ฟูด อาหารจานด่วน อาหารสําเร็จรูป กึ่งสําเร็จรูป ที่หาได้ ง่าย สะดวก ซึ่งส่วนมากเป็นอาหารประเภทผัด ทอด ย่าง หรือปิ้ง ซึ่งเป็นอาหารโปรตีน ไขมัน และให้พลังงานสูง นิยมอาหารรสจัดที่มีความเค็มมีเกลือโซเดียมสูง และหวานมากเกินไป กินผัก และผลไม้น้อย ขาดการออกกําลังกาย เกิดความเครียดสะสม เมื่อไม่สามารถหาทางออกได้มัก พึ่งการกินอาหาร สูบบุหรี่ และการดื่มสุรา จากเหคุผลดังกล่าวทําให้ปัญหาด้านสุขภาพ เปลี่ยนไป โดยมีแบบแผนการเจ็บป่วยและตายจากภาวะทุพโภชนาการเป็นภาวะโภชนาการเกิน และโรคอ้วนมากขึ้น จากโรคติดเชื้อหรือโรคติดต่อทั่วไปเป็นโรคเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้ ที่ เกิดจากปัจจัยเสี่ยงภายใต้วิถีชีวิตและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ซึ่งองค์การอนามัยโลก (World Health Organization-WHO) ได้คาดประมาณว่าในปี 2548 จํานวนการตายของประชากรโลก ทั้งหมดประมาณ 58 ล้านคน มีประมาณ 35 ล้านคน (ร้อยละ 60) มีสาเหตุหลักมาจากโรค เรื้อรัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจากโรคหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular
  • 21. 4 Disease) เป็นปัญหาอันดับต้นๆ ของทั่วโลก มีการตายประมาณ 17.5 ล้านคน (ร้อยละ 29) และ มีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น และคาดว่าในปี 2565 ทั่วโลกจะมีผู้เสียชีวิตประมาณ 25 ล้านคน โดย มีประชากรประมาณ 19 ล้านคน หรือร้อยละ 80 จะเกิดขึ้นในกลุ่มประเทศกําลังพัฒนาและ ยากจน และเป็นสาเหตุการตายที่สําคัญของกลุ่มประชากรวัยแรงงาน ซึ่งจะเป็นเหตุให้เกิดความ สูญเสียทางเศรษฐกิจของครอบครัว สังคม และประเทศชาติ และความสูญเสียปีสุขภาวะหรือ ภาระทางสุขภาพ (Disability Adjusted Life Year : DALY) จากโรคเรื้อรัง 6 ใน 10 อันดับแรก และมากกว่าเกือบ 2 เท่า เมื่อเทียบกับโรคติดเชื้อ จากการศึกษาภาวะโรคและภาวะจากปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพของประชานไทย ในปี 2547 มีความสูญเสียทางสุขภาพจากโรคไม่ติต่อ คิดเป็นร้อยละ 65 ของความสูญเสียทั้งหมด โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด และโรคมะเร็ง นอกจากนี้ยังพบว่าภาวะโรค 10 อันดับแรก เกิดจากปัจจัยเสี่ยงจากการดําเนินวิถีชีวิตที่ไม่ถูกต้องเหมาะสมที่สําคัญ ตามลําดับ คือ การบริโภคสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ บุหรี่ ความดันโลหิตสูง ภาวะอ้วน คอเรสเตอรอล การบริโภคผักและผลไม้ กิจกรรมทางกายหรือการออกกําลังกายไม่เพียงพอ โดยสถานการณ์อัตราการเจ็บป่วยเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในด้วยโรคที่มีความสําคัญในอันดับ ต้นๆ ใน 5 โรค มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี 2548-2551 ประมาณ 1.2-1.6 เท่า สําหรับในปี 2552 พบว่ามีอัตราผู้ป่วยในด้วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง และโรค หลอดเลือดสมอง คิดเป็น 1,149, 845, 648, 505 และ 257 ต่อประชากรแสนคน และมีอัตรา ผู้ป่วยนอก คิดเป็น 14,328, 9,702, 2,565, 1,023 และ 980 ต่อประชากรแสนคนตามลําดับ และสาเหตุการเสียชีวิตของตนไทยที่สําคัญ 10 อันดับแรก ในปี 2552 มาจากโรคมะเร็ง รองลงมาคือ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน และโรคความดันหิตสูง ในอัตรา 88.3, 29.0, 21.0, 11.1, และ 3.6 ต่อประชากรแสนคนตามลําดับ จากโครงสร้างของประชากรไทยที่เปลี่ยนไปสู่สังคมผู้สูงอายุ ทําให้ประชากรวัยสูงอายุ เพิ่มขึ้น ประชากรวัยเด็กและวัยแรงงานลดลง ภาวะอนามัยเจริญพันธุ์รวมอยู่ระดับต่ํากว่า ทดแทน มีสัดส่วนประชากรเด็ก : แรงงาน : ผู้สูงอายุ ร้อยละ 20.5 : 67.6 : 11.9 ในปี 2553 เป็นร้อยละ 18.3 : 66.9 : 14.8 ในปี 2559 ในขณะที่อายุขัยเฉลี่ยของคนไทยเพิ่มขึ้นเป็น 76.6 ปี (เพิ่มขึ้นจาก ปี 2549 ชาย 68 ปี หญิง 75 ปี แต่ยังต่ํากว่าเป้าหมายที่กําหนดไว้ 80 ปี) แต่มี ปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้นเช่นกัน โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุมีอัตราการมา รับบริการผู้ป่วยในในอัตราค่อนข้างสูงมาก ในปี 2551 ด้วยโรคความดันโลหิตสูงมากที่สุดใน อัตรา 7,213 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือ โรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจขาดเลือด
  • 22. 5 อัมพฤกษ์อัมพาต ในอัตรา 4,656, 1,909, 1,857 และ 995 ต่อประชากรแสนคน ทําให้ส่งผล กระทบต่อภาระค่าใช้จ่ายรักษาพยาบาลของภาครัฐในปัจจุบันและอนาคตอย่างมากมาย 2. ส่วนที่ 2 : แบบแผนการบริโภคและการดํารงชีวิตที่เป็นภัยคุกคามสุขภาพ จากแบบแผนการบริโภคและการดํารงชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ สําคัญทีเป็นภัยคุกคามสุขภาพ ทําให้ปัญหาสุขภาพจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดย ตลอด แบบแผนการบริโภคและการดํารงชีวิตที่เป็นภัยคุกคามสุขภาพ มีดังนี้ 2.1 พฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม 1) การบริโภคผักและผลไม้น้อย องค์การอนามัยโลกคาดว่าการบริโภคผักและ ผลไม้ที่ต่ํากว่ามาตรฐานที่กําหนดไว้ 400-600 กรัมต่อคนต่อวัน (5-7.5 ถ้วยมาตรฐาน) ใน ประเทศกําลังพัฒนา ทําให้ประชากรเสียชีวิตมากกว่า 2.5 ล้านคนต่อปี และสัมพันธ์กับการเกิด โรคหัวใจขาดเลือด โรคเส้นเลือดในสมองตีบ และโรคมะเร็ง จากการสํารวจสุขภาพประชาชน ไทยโดยการตรวจร่างกายของสํานักงานสํารวจสุขภาพประชาชนชาวไทย พบว่าคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป มีแนวโน้มการบริโภคผักและผลไม้ลดลง โดยมีความชุกของการกินผักและผลไม้ ปริมาณต่อวันเพียงพอตามข้อแนะนํา (รวม 5 ส่วนมาตรฐานต่อวัน) ลดลงจากร้อยละ 21.7 ในปี 2546-2547 เป็นร้อยละ 17.7 (9 ล้านคน) ในปี 2551-2552 โดยกินผักและผลไม้เฉลี่ย เพียงวันละ 3 ส่วนมาตรฐานเท่านั้น สําหรับเด็กอายุ 1-5 ปี จากการสํารวจของกองโภชนาการ กรมอนามัย ปี 2546 พบเพียง 1 ใน 3 กินผักและผลไม้ทุกวัน ส่วนเยาวชนทั้งชายและหญิงอายุ 15-29 ปี กินผักและผลไม้เฉลี่ย 285 และ 320 กรัมต่อคนต่อวัน ตามลําดับ และมีเพียงร้อยละ 6.3 ที่กินผักและผลไม้รวมกันได้ ๔ ส่วนมาตรฐานขึ้นไปต่อวัน 2) การบริโภคหวาน เค็ม มัน มากเกินไป จากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ เปลี่ยนไปนิยมอาหารฟาสต์ฟูด อาหารสําเร็จรูป ขนมคบเคี้ยว ขนมกรุบกรอบ ช็อคโกแล็ต ลูกอม น้ําอัดลม และเครื่องดื่มรสหวานที่หาซื้อได้ง่าย สะดวก อาหารเหล่านี้ส่วนใหญ่ ประกอบด้วย แป้งน้ํามัน ไขมัน ผงชูรส และเกลือที่มาก แต่สารอาหารที่จําเป็นต่อการ เจริญเติบโตของร่างกายและสติปัญญาน้อยมาก โดยที่ผู้ผลิตไม่ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ส่วนประกอบและคุณค่าทางโภชนาการ ทําให้ผู้บริโภคเสี่ยงจ่อการเกิดโรคอ้วน เบาหวาน ไต หัวใจ เส้นเลือดอุดตัน ความดันโลหิตสูง และมะเร็ง จากรายงานของคณะกรรมการอ้อยและ น้ําตาล พบว่า ในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมาคนไทยบริโภคน้ําตาลเพิ่มสูงขึ้นเกือบ 3 เท่า จาก 12.7 กิโลกรัมต่อคนต่อปี ในปี 2526 เป็น 36.4 กิโลกรัมต่อคนต่อปี ในปี 2550 ซึ่งเกินกว่าเกณฑ์ มาตรฐานขององค์การอนามัยโลกที่กําหนดให้บริโภคน้ําตาลได้น้อยกว่า 15-20 กิโลกรัมต่อคน
  • 23. 6 ต่อปี หรือ 24 กรัมต่อคนต่อวัน (6 ช้อนชา) โดยในปี 2546 เด็กไทยอายุ 5 ปี เกือบ 2 ใน 3 บริโภคน้ําตาลเฉลี่ยวันละ 30.4 กรัม (8 ชอนชา) และ 1 ใน 4 บริโภคน้ําตาลมากกวาวันละ 40 กรัม (10 ชอนชา) 1 สวนในป 2552 พบคนไทยอายุ 6 ปขึ้นไป รอยละ 31.3 ดื่มน้ําอัดลมและเครื่องดื่มที่ มีรสหวาน โดยดื่มทุกวันถึงรอยละ 25.3 (การสํารวจอนามัยสวัสดิการและพฤติกรรมการบริโภค อาหารขอประชาชน สํานักงานสถิติแหงชาติ ในขณะที่เด็กวัยรุนอายุ 13-22 ป ในกรุงเทพมหานคร มีพฤติกรรมบั่นทอนสุขภาพ รอยละ 51.3 ชอบกินอาหารฟาสตฟูด (ศูนยวิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ. กรุงเทพโพลล) นอกจากนี้เด็กประถมศึกษากินขนมกรุบกรอบเปนประจําเพิ่มขึ้น จากรอละ 26.7 ใน ป 2547 เปนรอยละ 38.1 ในป 2551 นอกจากนี้พบวาคนไทยโดยเฉลี่ยบริโภคเกลือโซเดียมคลอไรด เพิ่มขึ้น 3 เทาตัว จากพฤติกรรมการบริโภคผลไมจิ้มเกลือ พริกน้ําปลา การใชเกลือแกงที่มีสาร อันตรายอยางโซเดียมหรือโซเดียมคลอไรดในการถนอมอาหารและปรุงอาหาร ในป 2550 คนไทย ไดรับเกลือโซเดียมคลอไรดจากแหลงอาหารตางๆ โดยเฉลี่ย 10,879 2,604 มิลลิกรัมต่อคน ต่อวัน (มีโซเดียมประมาณ 8,275-13,483 มิลลิกรัมต่อคนต่อวัน การบริโภคไม่ควรเกิน 2,400 มิลลิกรัมต่อคนต่อวัน) โดยมีผลิตภัณฑ์เครื่องปรุงรสที่ครัวเรือนใช้ปริมาณเฉลี่ยมากใน 5 ลําดับ แรก ได้แก่ น้ําปลา ซีอิ๊ว เกลือ กะปิ และซอสหอยนางรม ซึ่งโดยหลักแล้วไม่ควรบริโภคเกลือ เกิน 1-1.5 ช้อนชาต่อวัน น้ําปลา ไม่ควรเกิน 2-3 ช้อนโต๊ะต่อวัน รวมทั้งโมโนโซเดียมกลูตาเมท ในผงชูรส (การสํารวจปริมาณการบริโภคโซเดียมคลอไรด์ของประชากรไทย กองโภชนาการ กรมอนามัย และองค์การยูนิเซฟ) 3) การสูบบุหรี่และดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ องค์การอนามัยโลกชี้ ควันบุหรี่เป็นค็อกเทลพิษรวมของสารพิษต่างๆ กว่า 400 ชนิด มีผู้สูบบุหรี่ประมาณ 1,100 ล้าน คน กว่าร้อยละ 50 อยู่ในเอเชีย ผู้สูบกว่าร้อยละ 50 จะต้องเสียชีวิตก่อนถึงวัยชรา และแต่ละวัน มีวัยรุ่นกลายเป็นผู้สูบบุหรี่หน้าใหม่เพิ่มขึ้น 80,000-100,000 คนทั่วโลก โดยมีผู้เสียชีวิตจาก บุหรี่ปีละ 5 ล้านคน ในปี 2563 จะเสียชีวิตเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า หรือประมาณ 10 ล้านคน เฉลี่ย นาทีละ 19 คน โดยร้อยละ 70 อยู่ในประเทศกําลังพัฒนา และจะเพิ่มขึ้นปีละ 1 พันล้านคน ในปี 2642 เฉลี่ยวินาทีละ 32 คน มีคนสูบบุหรี่วันละ 15,000 ล้านมวน สําหรับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือการดื่มสุรา ทั่วโลกมีการดื่มกว่า 2,000 ล้านคน ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ ทําให้เกิดโรคภัยกว่า 60 ชนิด และคร่าชีวิตประชากรโลก ถึง 2.3 ล้านคน ในปี 2547 โดยมีความชุกของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ในปี 2551-2552 ร้อยละ 45.3 (23 ล้านคน) ดื่มตั้งแต่ระดับเสี่ยงปานกลางขึ้นไป (ได้รับแอลกอฮอล์ 41 กรัมต่อวัน ในผู้ชาย และ 21 กรัมต่อวันในผู้หญิง) ร้อยละ 7.3 (3.7 ล้านคน) และดื่มอย่างหนักร้อยละ 17.6 (8.9 ล้านคน) ลดลงจากปี 2546-2547 ที่มีความชกถึง
  • 24. 7 ร้อยละ 9.2 และ 44.6 ตามลําดับ โดยเริ่มดื่มเมื่ออายุเฉลี่ย 21.5 ปี (ชาย อายุ 19.1 ปี หญิงอายุ เฉลี่ย 26.3 ปี) (สํานักงานสํารวจสุขภาพประชากรไทย, 2551-2552) ทั้งนี้สามารถเข้าถึงแหล่ง จําหน่ายได้ง่ายมาก ในปี 2547 มีร้านขายสุราที่ได้รับอนุญาตจําหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ถึง 585,700 ร้าน หรือ 1 ร้านต่อประชากรไทย 110 คน โดยผู้บริโภคใช้เวลาเพียง 7.5 นาที ในการ หาซื้อ และมีผู้บริโภคเพียงร้อยละ 3 ที่รายงานว่ามีความยุ่งยากในการซื้อ และในปี 2552 มีร้าน จําหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในรัศมี 500 เมตร รอบมหาวิทยาลัยในกรุเทพมหานคร เฉลี่ย 57 ร้านต่อตารางกิโลเมตร โดยมีปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยของประชากรไทย เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในผู้ใหญ่เพิ่มจาก 7.28 ลิตรของแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนในปี 2550 เป็น 7.71 ลิตร (แผนยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2552 และ ภัทรพร พลพนาธรรม, 2552) นอกจากนี้ จากการประเมินต้นทุนหรือความ สูญเสียทางเศรษฐกิจจากการดื่มแอลกอฮอล์ของคนไทย ในปี 2549 มรมูลค่าสูงถึง 150,677 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.92 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product- GDP)คิดเป็น 2,398 บาทต่อหัวประชากร (กระทรวงสาธารณาสุข มหาวิทยาลัยมหิดล และศูนย์วิจัยปัญหาสุรา, 2550) ในช่วง / ทศวรรษที่ผ่านมา ปี 2524-2550 ครัวเรือนไทย บริโภคสินค้าที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และยาสูบ) ในมูลค่าคงที่ ปี 2550 เพิ่มขึ้น 2 เท่า จาก 32}910 ล้านบาท ในปี 2554 เป็น 63,915 ล้านบาท ในปี 2550 โดยมี อัตราเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 5.7 ในมูลค่าจริง ในขณะที่ครัวเรือนจ่ายเงินเพื่อสุขภาพ (การ รักษาพยาบาล) น้อยกว่าเพียง 60,861 ล้านบาท ในปี 2550 หรือเพิ่มขึ้น 2 เท่า ในอัตราเพิ่ม เฉลี่ยร้อยละ 5.8 ในมูลค่าจริง (สํานักงานสถิติแห่งชาติ การสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม ของครัวเรือน, 2550) 2.2 การออกกําลังกายที่ไม่เพียงพอ องค์การอนามัยโลกได้ประมาณว่า การไม่มี กิจกรรมทางกายเพียงพอเป็นสาเหตุของโรคหัวใจและหลอดเลือด ร้อยละ 22-23 โรคมะเร็ง ลําไส้ใหญ่ ร้อยละ 16-17 โรคเหวาน ร้อยละ 15 โรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 12-13 สํานักงาน สถิติแห่งชาติได้รายงานว่า ในปี 2550 คนไทยอายุ 11ปีขึ้นไป ที่มีอาการป่วยในรอบ 1 เดือนที่ ผ่านมา ร้อยละ 16.7 ในจํานวนนี้เป็นผู้ที่ไม่ออกกําลังกายร้อยละ68.5 และผู้ที่เข้าพักรักษาใน สถานพยาบาลระหว่าง 12 เดือนที่ผ่านมา ร้อยละ 16.7 เป็นผู้ที่ได้ออกกําลังกายถึงร้อยละ 74.2 อย่างไรก็ตาม จากการสํารวจสุขภาพของคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ เพิ่มขึ้นร้อยละ 77.5 ในปี 2546-2547 เป็นร้อยละ 81.5 (41.2 ล้านคน) ในปี 2551-2552 ซึ่ง สอดคล้องกับการสํารวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บของสํานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค พบคนไทยอายุ 15-74 ปี ออกกําลังกายในระดับปานกลางและระดับหนัก
  • 25. 8 ครั้งละนานกว่า 30 นาที อย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 30.9 ในปี 2548 เป็น ร้อยละ 37.5 (16.3 ล้านคน) ในปี 2550 2.3 ปัญหาสุขภาพจิต จากรายงานของบริษัทเซเรบอส แปซิฟิก จํากัด ได้สํารวจ พฤติกรรมทางสุขภาพของประชาชนอายุ 15-60 ปี ในภูมิภาคเอเชีย 6 ประเทศ ได้แก่ จีน ฮ่องกง มาเลเซีย สิงค์โปร์ ไต้หวัน และประเทศไทย พบว่ามีปัญหาด้านความเครียดเป็นอันดับ หนึ่ง โดยมีสาเหตุมาจากปัญหาเศรษฐกิจ รองลงมาเป็นความรับผิดชอบต่อครอบครัวและ ปัญหาเรื่องงาน ทั้งนี้จากการสํารวจของสํานักงานสถิติแห่งชาติ ในปี 2551 พบว่าคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ประมาณ 1 ใน5 มีสุขภาพจิตต่ํากว่าคนทั่วไป หญิงมีสัดส่วนของผู้มีสุขภาพจิตต่ํากว่า คนทั่วไปมากกว่าชาย ร้อยละ 18.43 และ 17.06 ตามลําดับ นอกจากนี้จากการสํารวจของ ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุเทพ ปี 2552 มีวัยรุ่นอายุ 13-22 ปี ในกรุงเทพ มีพฤติกรรมบั่นทอน สุขภาพ โดยประมาณ 2 ใน 3 มีพฤติกรรมนอนดึก และพักผ่อนน้อย และ 1 ใน4 มีปัญหา ความเครียด 2.4 น้ําหนักตัวเกินและอ้วน จากพฤติกรรมการบริโภคเกินความจําเป็น ขาดความ สมดุลของพลังงาน ไม่สามารถควบคุมน้ําหนักที่เหมาะสมได้ ทําให้เกิดภาวะโภชนาการเกินหรือ เป็นโรคอ้วน องค์การอนามัยโลกรายงานในปี 2548 ว่ามีประชากรโลกอายุ 15 ปีขึ้นไปมีน้ําหนัก เกินมาตรฐานประมาณ 1,600 ล้านคน และมีผู้ใหญ่อ้วนมากถึง 400 ล้านคน ส่วนในเด็กอายุต่ํา กว่า 5 ปี มีน้ําหนักตัวเกินมาตรฐานประมาณ 20 ล้านคน โดยในปี 2558 ทั่วโลกจะมีผู้ใหญ่ที่มี น้ําหนักเกินมาตรฐานประมาณ 2,300 ล้านคน และมีคนอ้วนประมาณ 700 ล้านคน โดยมี ข้อมูลการศึกษาที่น่าสนใจว่า หลังพ้นวัยทารกแล้วเด็กผู้หญิงจะอ้วนมากกว่าเด็กผู้ชาย เด็กที่ อ้วนเมื่ออายุ 6 ปีขึ้นไป จะมีโอกาสเป็นผู้ใหญ่อ้วนร้อยละ 25 หากเด็กอ้วนเมื่ออายุ 12 ปี เมื่อ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีโอกาสอ้วนได้มากถึงร้อยละ 75 นอกจากนี้จากการศึกษาติดตามเด็ก อ้วนในระยะยาว พบว่า 1 ใน 3 ของเด็กที่อ้วนในวัยก่อนเรียน และครึ่งหนึ่งของเด็กที่อ้วนในวัย เรียนจะยังคงอ้วนเมื่อเป็นผู้ใหญ่ หากยังอ้วนเมื่อเป็นวัยรุ่นโอกาสที่จะเป็นผู้ใหญ่อ้วนจะยิ่งสูง มากขึ้น ความอ้วนทําให้มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดปัญหาเรื่องความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือด สูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง ไตวายเรื้อรัง นิ่วในถุงน้ําดี โรคเก๊าท์ กระดูกและข้อ เสื่อม โรคเบาหวานชนิดที่ 2 หากอ้วนรุนแรงมีผลกระทบต่อโรคทางเดินหายใจอุดกั้นและหยุด หายใจขณะหลับ การหลั่งฮอร์โมนผิดปกติ รวมทั้งปัญหาด้านจิตใจและสังคม สําหรับประเทศ ไทยแนวโน้มคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป มีภาวะน้ําหนักเกินและอ้วน (ดัชนีมวลกาย หรือ Body Mass Index ; BMI 25 กิโลกรัมต่อตารางเมตร) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 28.6 ในปี 2546-2547 เป็น ร้อยละ 34.7 (17.6 ล้านคน ชายร้อยละ 28.4 หญิงร้อยละ 40.7) ในปี 2551-2552 และมีภาวะ
  • 26. 9 อ้วนลงพุง (รอบเอง 90 เซนติเมตรในชาย และ 80 เซนติเมตรในหญิง) เพิ่มขึ้นเช่นกัน จากร้อยละ 26.0 เป็นร้อยละ 32.1 (16.2 ล้านคน ชายร้อยละ 18.6 หญิงร้อยละ 45) นอกจากนี้ จากการศึกษาหลายแห่งบ่งชี้ว่าปัญหาภาวะโภชนาการเกินในเด็กไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกัน โดยพบว่าเด็กไทยอยู่ในภาวะโภชนาการเกินเพิ่มขึ้นปีละ 5หมื่นคน เด็กอายุต่ํากว่า 5 ปี อ้วน เพิ่มขึ้นเป็น 3 เท่า ในระยะเวลาเพียง 6 ปี ในปี 2551-2552 มีเด็กอายุ 1-5 ปี และเด็กอายุ 6-9 ปี ร้อยละ 11-12 มีน้ําหนักตัวอยู่ในเกณฑ์ท้วมถึงอ้วน และสัดส่วนนี้เป็นร้อยละ 14.9 เมื่ออายุ 10-14 ปี รวมทั้งสิ้นประมาณ 1.6 ล้านคน พบในกรุงเทพมหานครและภาคกลางสูงกว่าภาคอื่นๆ และในเขตเทศบาลมากกว่านอกเขตเทศบาล จากความนิยมในการบริโภคเครื่องดื่ม นมหวาน น้ําอัดลม ขนม ลูกอมที่มีรสหวาน ซึ่งเด็กได้รับอิทธิพลของสื่อโฆษณาในโทรทัศน์ ซึ่งจาก การศึกษาในสหรัฐอเมริกาบ่งชี้ว่าเด็กที่ดูโทรทัศน์วันละ 2-4 ชั่วโมง จะอ้วนเกินปกติเสี่ยงที่จะ เป็นโรคความดันโลหิตสูงอันทําให้เกิดโรคหัวใจและอัมพาตต่อไปได้สูงกว่าปกติ 2.5 เท่า และ หากดูโทรทัศน์มากกว่าวันละ 4 ชั่วโมง จะยิ่งเสี่ยงสูงขึ้นเป็น 3.3 เท่า สําหรับเด็กไทย นอกเหนือจากการเรียนและกิจวัตรประจําวัน 1 ใน 5 ไปกับการดูโทรทัศน์ โดยรายการการ์ตูน เป็นที่นิยมของเด็กในเช้าวัยเสาร์และวันอาทิตย์ ใช้เวลา 1 ใน 4 เป็นการโฆษณา และ 2 ใน 3 เป็นการโฆษณาขนมเด็ก หรือคิดเป็นร้อยละ 15 ซึ่งเป็นขนมขบเคี้ยว มันฝรั่ง ข้าวเกรียบ ขนมปัง อบกรอบ มีความถี่ในการโฆษณาสูงสุด รวมทั้งการใช้เวลาไปกับการเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์และ การใช้อินเทอร์เน็ต ซึ่งมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคขนมที่อุดมด้วยแป้งไขมัน และไม่ เคลื่อนไหว ไม่ออกกําหลังกาย ทําให้เด็กยิ่งก้าวเข้าใกล้ภาวะโภชนาการขาดสมดุลมากขึ้นเรื่อยๆ 3. ส่วนที่ 3 : สถานการณ์ความรุนแรงของโรควิถีชีวิต 3.1 โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus) สมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ คาดการณ์ว่ามี ผู้ป่วยเบาหวานที่มีอายุระหว่าง 20-79 ปีทั่วโลก 285 ล้านคน ในปี 2553 และจะเพิ่มขึ้นเป็น 438 ล้านคน ในอีก 20 ปีข้างหน้า ในจํานวนนี้ 4 ใน 5 เป็นชาวเอเชีย เฉพาะภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้คาดว่าจะเพิ่มมากกว่า 58.7 ล้านคน เป็น 101 ล้านคนในปี 2573 นอกจากนี้ เด็กที่อายุต่ํากว่า 14 ปี จํานวน 4.4 แสนคนจากทั่วโลกเป็นเบาหวานชนิดที่ 1 (เบาหวานชนิดที่ ต้องพึ่งอินซูลินในเด็ก ต้องรักษาด้วยการฉีดอินซูลินทุกวัน) และแต่ละปีมีเด็กมากกว่า 70,000 คน กําลังพัฒนาสู่การเป็นโรคเบาหวานชนิดรี้ โดยพบในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มากที่สุด และเด็กที่เป็นเบาหานจะมีอายุสั้นลงอีก 10-20 ปี สําหรับประเทศไทยในช่วงปี 2546- 2547 และปี 2551-2552 แนวโน้มความชุกของโรคเบาหวานคงเดิมร้อยละ 6.9 (3.5 ล้านคน) ความชุกในผู้หญิงสูงกว่าผู้ชาย (ร้อยละ 7.7 และ 6) แต่มีผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 44.3 เป็นร้อยละ 68.8 และในส่วนของการรักษาสามารถควบคุมได้เพิ่มขึ้นจากร้อยละ
  • 27. 10 12.2 เป็นร้อยละ 28.5 ตามลําดับ และจากการคัดกรองคนไทยอายุ 35 ปีขึ้นไป ในปี 2552 จํานวน 21 ล้านคน พบเป็นผู้ป่วยเบาหวาน 1.4 ล้านคน (ร้อยละ 6.8) และกลุ่มเสี่ยง 1.7 ล้านคน (ร้อยละ 8.2) กลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน 107,225 คน (ร้อยละ 10) ทั้งทางตา ร้อยละ 38.5 เท้า ร้อยละ 31.6 และไตร้อยละ 21.5 และคาดว่าในปี 2568 จะพบผู้ป่วยถึง 4.7 ล้านคน เสียชีวิตเฉลี่ยปีละ 52,800 คน ภาวะแทรกซ้อนทางตาทําให้มีสายตาที่เลือนลางและอาจตาบอด ในที่สุด ถ้ามีการตรวจรักษาตาในระยะที่เหมาะสมสามารถลดโอกาสตาบอดได้ถึงร้อยละ 50 นอกจากนี้ผู้ป่วยเบาหวานยังมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจและสมองสูงเป็น 2-4 เท่า เมื่อเทียบกับคนปกติ และมากกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยเบาหวานพบความผิดปกติของปลายระบบ ประสาท ผู้ชายเกินกว่าครึ่งเสื่อมสมรรถภาพทางเพศมีสาเหตุมาจากโรคเบาหวาน ดังนั้นหาก สามรถป้องกันควบคุมการเกิดปัจจัยเสี่ยงร่วม ก็จะสามารถลดโรคได้อีกหลายโรคโดยการ ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตที่สําคัญ คือการลดน้ําหนักให้อยู่ในระดับดัชนีมวลกายตามเกณฑ์ปกติ และ ออกกกําลังกายสม่ําเสมอทําให้ความเสี่ยงจากการเกิดโรคเบาหวานลดลงถึงร้อยละ 58 และถ้า ใช้ยา (Metformin) จะมีความเสี่ยงลดลงร้อยละ 31 ดังนั้นการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตโดยเฉพาะ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกําลังกาย การคัดกรองกลุ่มเสี่ยง และการคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนของกลุ่มผู้ป่วย จึงเป็นสิ่งที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสําคัญเพื่อสกัดกั้นปัญหา ดังกล่าว 3.2 โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) โรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาที่ กําลังขยายตัวอย่างรวดเร็วในประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ที่ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบตะวันตก องค์การอนามัยโลกได้คาดการณ์ว่า ผู้ป่วยมีความดันโลหิตสูงประมาณ 1,000 ล้านคนทั่วโลก ขณะที่เครือข่ายความดันโลหิตสูงโลก (World Hypertension League) พบว่า 1 ใน 4 ของพลโลก ทั้งชายและหญิงมีภาวะความดันโลหิตสูง มีส่วนทําให้คนทั่วโลกเสียชีวิตปีละ 7.1 ล้านคน โรค ความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มสูงขึ้นตามอายุที่มากขึ้นและเป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่สําคัญของการ เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมอง เป็นตัวการที่สําคัญต่อการป่วย เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต ความดันโลหิต จากการสํารวจสภาวะสุขภาพของคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป พบมีความชุกของโรคความดันโลหิตสูงลดลงเล็กน้อย จากร้อยละ 22 ในปี 254-2547 เป็น ร้อยละ 21.4 (10.8 ล้านคน) ในปี 2551-2552 ผู้ชายและผู้หญิงมีภาวะความชุกโรคความดัน โลหิตสูงใกล้เคียงกัน โดยมีผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 28.6 เป็นร้อยละ 49.7 ทั้งในส่วนของการรักษาและสามารถควบคุมได้ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 8.6 เป็นร้อยละ 20.9 ตามลําดับ นอกจากนี้จากการตรวจคัดกรองสุขภาพคนไทยอายุ 35 ปีขึ้นไป ทั่วประเทศในปี 2552 ทั้งสิ้น 21.2 ล้านคน พบผู้ป่วยโรคความดันโลหิต 2.2 ล้านคน (ร้อยละ 10.2) และกลุ่ม