SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Download to read offline
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ
โรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวาน
และความดันโลหิตสูง
ชื่อหนังสือ	 การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
	 ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ISBN 	978-616-11-2615-5
ที่ปรึกษา	 นายแพทย์โสภณ เมฆธน
	 	 อธิบดี กรมควบคุมโรค
	 แพทย์หญิงประนอม ค�ำเที่ยง
	 	 ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย
	 นายแพทย์สมเกียรติ โพธิสัตย์
	 	 นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ กรมการแพทย์
	 นายแพทย์ภานุมาศ ญาณเวทย์สกุล	
	 	 รองอธิบดี กรมควบคุมโรค
	 ดร.นายแพทย์ภานุวัฒน์ ปานเกตุ      
	 	 ผู้อ�ำนวยการส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
คณะบรรณาธิการ
	 แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ
	 แพทย์หญิงสุมนี วัชรสินธุ์
	 นางณัฐธิวรรณ พันธ์มุง
	 ลิขสิทธิ์ของส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
จัดพิมพ์และเผยแพร่ ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
พิมพ์ครั้งที่ 1	 กรกฎาคม 2558
จ�ำนวน	 10,000 เล่ม
พิมพ์ที่	 โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด
ค�ำน�ำ
	 โรคหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจ
และโรคหลอดเลือดสมองตีบ (อัมพฤกษ์ อัมพาต) เป็นปัญหา
สาธารณสุขส�ำคัญระดับประเทศ เป็นสาเหตุการป่วย พิการและ
เสียชีวิตอันดับต้นๆ ของโลกรวมถึงประเทศไทย ส่งผลให้เกิด
ภาระและการสูญเสียในทุกมิติทั้งกาย จิต สังคม เศรษฐกิจ
ต่อทั้งผู้ป่วย ครอบครัว และประเทศชาติ โดยปัจจัยเสี่ยงหลักต่อ
การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในคนไทยที่ส�ำคัญ ได้แก่ ภาวะ
ความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันเลือดสูง เบาหวาน การสูบบุหรี่
ภาวะอ้วน และการมีประวัติโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอด
เลือดสมองในครอบครัว การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ
และหลอดเลือดในกลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยงหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่
มีโรคประจ�ำตัวเบาหวานและความดันโลหิตสูง อย่างสม�่ำเสมอ
ช่วยให้เกิดการรับรู้ ตระหนัก ถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้น เกิดแรง
จูงใจ เกิดปฏิบัติการจัดการตนเองเพื่อลดความเสี่ยง
	 คณะท�ำงานจัดท�ำแนวทางการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ
การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดัน
โลหิตสูง ร่วมกับคณะนักวิจัยจากสหสถาบันอุดมศึกษา จึงได้จัด
ท�ำหนังสือแนวทางฯ เล่มนี้ขึ้นวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคลากร
ทางการแพทย์ได้ใช้แบบการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค
หัวใจและหลอดเลือดในคนไทย (Thai CV risk score) ที่พัฒนา
จากข้อมูลที่ได้จากการติดตามศึกษาหาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด
โรคหัวใจและหลอดเลือดในประชากรไทย ภายใต้โครงการศึกษา
พนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เป็นระยะเวลา
ยาวนานกว่า 30 ปี ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความแม่นย�ำ ความเชื่อถือได้
ของโอกาสเสี่ยงในคนไทยที่ใกล้เคียงกับอุบัติการณ์ของโรคและ
ปัจจัยเสี่ยงหลัก มากกว่าที่พัฒนาโดยองค์การอนามัยโลกที่ใช้
ข้อมูลในภาพของกลุ่มประเทศ และหลังการประเมินมีการจัด
บริการลดความเสี่ยงตามสถานะความเสี่ยง ป้องกันการเป็น
ผู้ป่วยหน้าใหม่ของโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง
ต่อไป
	 ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรคขอขอบพระคุณ
ทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการจัดท�ำแนวทางการประเมินโอกาส
เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดมา ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดท�ำ
ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ
กรมควบคุมโรค
สารบัญ
	 	 	 	 หน้า
สถานการณ์ความรุนแรงของโรคหัวใจและหลอดเลือด	 1
	 ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
แนวทางการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและ	 3
	 หลอดเลือดโดยใช้ตารางสี (Color Chart)
	 •	 วัตถุประสงค์ของการใช้แนวทางการประเมิน	 3
	 •	 ตารางสีการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ	 4
	 	 และหลอดเลือด
		o	ตารางการประเมิน ที่ 1 กรณีทราบผล 	 5
	 	 	 โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
		o	ตารางการประเมิน ที่ 2 กรณีไม่ทราบผล 	 7
	 	 	 โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
	 •	 ขั้นตอนการประเมินโอกาสเสี่ยงโดยการใช้ตารางสี	 9
แนวทางการจัดบริการหลังการประเมิน	 12
	 •	 เป้าหมายผลลัพธ์การบริการและจัดการตนเอง	 12
	 	 เพื่อลดโอกาสเสี่ยง
	 •	 ขั้นตอนการบริการหลังประเมินในกลุ่มป่วย	 15
	 	 โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (DM, HT)
	 •	 ข้อแนะน�ำในการปรับพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกัน	 17
	 	 การเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง
	 	 หลังการประเมิน โอกาสเสี่ยง
หน้า
แนวทางการส่งต่อในระบบบริการสุขภาพ	 22
	 •	 บทบาทการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน	 22
	 	 ทางโรคหลอดเลือดหัวใจและสมองสถานบริการ
	 	 แต่ละระดับ
	 •	 ขั้นตอนการส่งต่อผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็น	 24
	 	 โรคหลอดเลือดหัวใจ
	 •	 ขั้นตอนการส่งต่อผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็น	 26
	 	 โรคหลอดเลือดสมอง
เอกสารอ้างอิง	 28
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 1
สถานการณ์ความรุนแรงของโรคหัวใจ
และหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวาน
และความดันโลหิตสูง
	 โรคหัวใจและหลอดเลือด ในที่นี้ หมายถึง โรคหลอด
เลือดหัวใจ (Coronary heart disease) และ โรคหลอดเลือด
สมอง (Cerebrovascular disease) เป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิด
กับหลอดเลือดแดงใหญ่ (Macro vascular complication)
ที่ส�ำคัญในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูง
เนื่องจากมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็งและ
ตีบตันสูงกว่าประชากรทั่วไป และมีความรุนแรงขึ้นเมื่อผู้ป่วย
เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไม่สามารถควบคุมระดับน�้ำตาล
ในเลือด ระดับความดันโลหิตได้ตามค่าเป้าหมาย หรือมีภาวะ
ไขมันในเลือดผิดปกติ (Dyslipidemia) ผู้ป่วยเบาหวานเมื่อเกิด
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย จะมีการพยากรณ์โรคเลวร้ายกว่า
ผู้ไม่เป็นเบาหวาน ในประเทศไทยพบว่าผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
และความดันโลหิตสูงมีภาวะแทรกซ้อนของโรคหัวใจและ
หลอดเลือดเพิ่มสูงขึ้น
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง2
	 การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง รวมทั้ง
การให้ค�ำปรึกษาปรับพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับยา ตามความเหมาะสม
ของสถานบริการสุขภาพทุกระดับ เป็นสิ่งส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างยิ่ง
ช่วยให้เกิดความตระหนักถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ท�ำให้มีการจัดการ
ตนเองเพื่อลดความเสี่ยง และควบคุมผลลัพธ์การรักษาได้ตามเป้าหมาย
REV 3/Aug/2015 Jureen
โรคหัวใจและหลอดเลือดในที่นี้หมายถึง โรคหลอดเลือดหัวใจ(Coronary heart disease) และ
โรคหลอดเลือดสมอง( Cerebrovascular disease) เป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับหลอดเลือดแดงใหญ่ ( Macro
vascular complication) ที่สําคัญในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูง เนื่องจากมีความเสี่ยงต่อการ
เกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็งและตีบตันสูงกว่าประชากรทั่วไป และมีความรุนแรงขึ้นเมื่อผู้ป่วยเบาหวาน ความ
ดันโลหิตสูงไม่สามารถควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือด ความดันโลหิตได้ตามค่าเป้ าหมาย หรือมีภาวะไขมันในเลือด
ผิดปกติ (Dyslipidemia) ร่วมด้วย ผู้ป่วยเบาหวานเมื่อเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายจะมีการพยากรณ์โรคเลวร้าย
กว่าผู้ไม่เป็นเบาหวาน ในประเทศไทยพบว่าผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่  และความดันโลหิตสูงมีภาวะแทรกซ้อนของ
โรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มสูงขึ้น
อัตราภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน อัตราภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
ที่มา ; เครือข่ายวิจัยกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (MedResNet)
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง รวมทั้งการให้คําปรึกษาปรับพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับยา ตามความเหมาะสม ของสถาน
บริการสุขภาพทุกระดับ จึงเป็นสิ่งที่สําคัญและจําเป็นอย่างยิ่ง ช่วยให้เกิดตระหนัก ตื่นตัว ถึงอันตรายที่อาจจะ
เกิดขึ้น เกิดการจัดการตนเองเพื่อลดความเสี่ยง ควบคุมผลลัพธ์การรักษาได้ตามเป้ าหมายเพื่อป้ องกันและชะลอ
1.2 1.3
7.1
8
0.5 0.5
3.9
4.4
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
ปี2555 ปี2557
หลอดเลือดหัวใจในรอบ12เดือน
หลอดเลือดหัวใจที่พบทั้งหมด
หลอดเลือดสมองในรอบ12เดือน
หลอดเลือดสมองที่พบทั้งหมด
0.1
1.31.1
6.4
0.5 0.6
2.4
3.1
0
1
2
3
4
5
6
7
ปี2555 ปี2557
หลอดเลือดหัวใจในรอบ12เดือน
หลอดเลือดหัวใจที่พบทั้งหมด
หลอดเลือดสมองในรอบ12เดือน
หลอดเลือดสมองที่พบทั้งหมด
	 อัตราภาวะแทรกซ้อน	 อัตราภาวะแทรกซ้อน
	 ในผู้ป่วยเบาหวาน	 ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
ที่มา : เครือข่ายวิจัยกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (MedResNet)
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3
แนวทางการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ
โรคหัวใจและหลอดเลือดโดยใช้ตารางสี
(Color Chart)
วัตถุประสงค์ของการใช้แนวทางการประเมิน
	 เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ใช้ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ
การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในคนไทย (Thai CV risk
score) โดยแสดงผลการประเมินเป็นความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต
หรือเจ็บป่วยจากโรคเส้นเลือดหัวใจตีบตัน และโรคเส้นเลือด
สมองตีบตันในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า ในกลุ่มเป้าหมายหลัก
ได้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และสามารถน�ำมาใช้ใน
ประชากรทั่วไปที่มีอายุ 40-70 ปี ที่ยังไม่ป่วยเป็นโรคหัวใจ
	 เป้าหมายของการใช้ เพื่อป้องกันและควบคุมอุบัติการณ์
โรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมองรายใหม่ (ระดับ
ปฐมภูมิ) ให้มีการจัดบริการที่เหมาะสม สอดคล้องกับโอกาส
เสี่ยงรายบุคคล เพื่อให้ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยงสามารถจัดการตนเอง
ลดปัจจัยเสี่ยงและปรับพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง ส่งผลให้
นํ้าหนักตัว ระดับความดันโลหิต ระดับนํ้าตาลและไขมันในเลือด
อยู่ในเกณฑ์ปกติ ตลอดจนได้รับยาในรายที่มีข้อบ่งชี้
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง4
ตารางสีการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ
และหลอดเลือด
	 เป็นการประเมินท�ำนายโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคกล้าม
เนื้อหัวใจตาย (myocardial infarction) และ โรคอัมพฤกษ์
อัมพาต (stroke) ในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า โดยใช้ตารางสี
(color chart) ที่ประกอบด้วยข้อมูลปัจจัยเสี่ยงหลัก ได้แก่ อายุ
เพศ การเป็นเบาหวาน การสูบบุหรี่ ค่าระดับความดันโลหิต
ตัวบน (systolic BP) ค่าระดับไขมันโคเลสเตอรอล (cholesterol)
ในเลือด อ้วนลงพุง (การที่เส้นรอบเอว มากกว่าค่า ส่วนสูงหาร 2)
	 แปรผลโอกาสเสี่ยงเป็น 5 ระดับ ดังนี้
	 <10% 	 10- <20 % 	 20-<30%
	 ต�่ำ	 ปานกลาง	 สูง
	 30-<40% 	 >40%
	 สูงมาก 	 สูงอันตราย
และโรคเส้นเลือดสมองตีบตันในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า ในกลุ่มเป้
โลหิตสูง และสามารถนํามาใช้ในประชากรทั่วไปที่มีอายุ 40-70 ปี ท
เป้ าหมายของการใช้ เพื่อป้ องกันและควบคุมอุบัติการณ
รายใหม่(ระดับปฐมภูมิ) มีการจัดบริการที่เหมาะสม สอดคล้องกับโอ
สามารถจัดการตนเอง ลดปัจจัยเสี่ยงและปรับพฤติกรรมสุขภาพให้ถ
ความดันโลหิต ระดับนํ้าตาลและไขมันในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ตลอ
ตารางสีการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
เป็นการประเมินทํานายโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจ
โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต (stroke) ในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า โดยใช้
ปัจจัยเสี่ยงหลักสําคัญ ได้แก่ อายุ เพศ การเป็นเบาหวาน การสูบบุห
ค่าระดับไขมันโคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด อ้วนลงพุง(เส้น
แปรผลโอกาสเสี่ยงเป็น 5 ระดับ ดังนี้
■ <10% ■ 10- <20 % ■ 20-<30% ■ 3
ตํ่า ปานกลาง สูง สง
และโรคเส้นเลือดสมองตีบตันในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า ในกลุ่มเป้
โลหิตสูง และสามารถนํามาใช้ในประชากรทั่วไปที่มีอายุ 40-70 ปี ที่ย
เป้ าหมายของการใช้ เพื่อป้ องกันและควบคุมอุบัติการณ์โ
รายใหม่(ระดับปฐมภูมิ) มีการจัดบริการที่เหมาะสม สอดคล้องกับโอ
สามารถจัดการตนเอง ลดปัจจัยเสี่ยงและปรับพฤติกรรมสุขภาพให้ถก
ความดันโลหิต ระดับนํ้าตาลและไขมันในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ตลอ
ตารางสีการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
เป็นการประเมินทํานายโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจ
โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต (stroke) ในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า โดยใช้ต
ปัจจัยเสี่ยงหลักสําคัญ ได้แก่ อายุ เพศ การเป็นเบาหวาน การสูบบุห
ค่าระดับไขมันโคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด อ้วนลงพุง(เส้น
แปรผลโอกาสเสี่ยงเป็น 5 ระดับ ดังนี้
■ <10% ■ 10- <20 % ■ 20-<30% ■ 3
ตํ่า ปานกลาง สูง สูง
และโรคเส้นเลือดสมองตีบตันในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า ในกลุ่มเป้ าหม
โลหิตสูง และสามารถนํามาใช้ในประชากรทั่วไปที่มีอายุ 40-70 ปี ที่ยังไม
เป้ าหมายของการใช้ เพื่อป้ องกันและควบคุมอุบัติการณ์โรคห
รายใหม่(ระดับปฐมภูมิ) มีการจัดบริการที่เหมาะสม สอดคล้องกับโอกาส
สามารถจัดการตนเอง ลดปัจจัยเสี่ยงและปรับพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อ
ความดันโลหิต ระดับนํ้าตาลและไขมันในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ตลอดจน
ตารางสีการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
เป็นการประเมินทํานายโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย
โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต (stroke) ในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า โดยใช้ตารา
ปัจจัยเสี่ยงหลักสําคัญ ได้แก่ อายุ เพศ การเป็นเบาหวาน การสูบบุหรี่ ค่า
ค่าระดับไขมันโคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด อ้วนลงพุง(เส้นรอบ
แปรผลโอกาสเสี่ยงเป็น 5 ระดับ ดังนี้
■ <10% ■ 10- <20 % ■ 20-<30% ■ 30-<
ตํ่า ปานกลาง สูง สูงมาก
ระเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในคนไทย (Thai
ป็นความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตหรือเจ็บป่วยจากโรคเส้นเลือดหัวใจตีบตัน
10 ปีข้างหน้า ในกลุ่มเป้ าหมายหลักได้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน ความดัน
ทั่วไปที่มีอายุ 40-70 ปี ที่ยังไม่ป่วยเป็นโรคหัวใจ
กันและควบคุมอุบัติการณ์โรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง
หมาะสม สอดคล้องกับโอกาสเสี่ยงรายบุคคล เพื่อให้ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง
รับพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเหมาะสม ส่งผลให้นํ้าหนักตัว ระดับ
ลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ตลอดจนได้รับยาในรายที่มีข้อบ่งชี้
หัวใจและหลอดเลือด
จะเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย (myocardial infarction) และ
ลา 10 ปีข้างหน้า โดยใช้ตารางสี (color chart) ที่ประกอบด้วยข้อมูล
รเป็นเบาหวาน การสูบบุหรี่ ค่าระดับความดันโลหิตตัวบน(systolic BP)
) ในเลือด อ้วนลงพุง(เส้นรอบเอวมากกว่าค่า ส่วนสูงหาร )
■ 20-<30% ■ 30-<40% ■ >40%
สูง สูงมาก สูงอันตราย
เมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในคนไทย (Thai
นความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตหรือเจ็บป่วยจากโรคเส้นเลือดหัวใจตีบตัน
0 ปีข้างหน้า ในกลุ่มเป้ าหมายหลักได้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน ความดัน
วไปที่มีอายุ 40-70 ปี ที่ยังไม่ป่วยเป็นโรคหัวใจ
และควบคุมอุบัติการณ์โรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง
มาะสม สอดคล้องกับโอกาสเสี่ยงรายบุคคล เพื่อให้ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง
บพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเหมาะสม ส่งผลให้นํ้าหนักตัว ระดับ
ดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ตลอดจนได้รับยาในรายที่มีข้อบ่งชี้
วใจและหลอดเลือด
ะเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย (myocardial infarction) และ
10 ปีข้างหน้า โดยใช้ตารางสี (color chart) ที่ประกอบด้วยข้อมูล
ป็นเบาหวาน การสูบบุหรี่ ค่าระดับความดันโลหิตตัวบน(systolic BP)
นเลือด อ้วนลงพุง(เส้นรอบเอวมากกว่าค่า ส่วนสูงหาร )
■ 20-<30% ■ 30-<40% ■ >40%
สูง สูงมาก สูงอันตราย
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 5
ตารางสีที่ 1 กรณีไม่ทราบผลโคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ที่มา :	 Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัย
เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดลือด 2528-2558 (เป็นการปรับตารางสี
จากเดิมที่ใช้ข้อมูลระดับภูมิภาคขององค์การอนามัยโลก มาใช้ข้อมูลของประเทศไทย
ที่มีอยู่แทน)
ส�ำหรับ android สามารถดาวน์โหลด application ได้ที่ Thai CV risk score (TCVRS)
ส�ำหรับ i-phone สามารถดาวน์โหลด application ได้ที่ Thai CV risk calculator
REV 2/Aug/2015 Jureen
ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-% %-<% >40%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด
ลือด 2528-2558
REV 2/Aug/2015 Jureen
ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-% %-<% >40%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด
ลือด 2528-2558
REV 2/Aug/2015 Jureen
ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-% %-<% >40%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด
ลือด 2528-2558
REV 2/Aug/2015 Jureen
ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-% %-<% >40%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด
ลือด 2528-2558
REV 2/Aug/2015 Jureen
ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-% %-<% >40%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด
ลือด 2528-2558
ตารางสีที่ 1 กรณีไม่ทราบผล cholesterol ในเลือด
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด
โรคหัวใจและหลอดลือด 2528-2558 (เป็นการปรับตารางสีจากเดิมที่ใช้ข้อมูลระดับภูมิภาคของ
องค์การอนามัยโลก มาใช้ข้อมูลของประเทศไทยที่มีอยู่แทน)
สําหรับ android สามารถดาวน์โหลดapplication ได้ที่ Thai CV risk score(TCVRS)
สําหรับ i-phone สามารถดาวน์โหลดapplication ได้ที่ Thai CV risk calculator
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง6
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัย
เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดลือด 2528-2558
REV 2/Aug/2015 Jureen
ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-% %-<% >40%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด
ลือด 2528-2558
REV 2/Aug/2015 Jureen
ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-% %-<% >40%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด
ลือด 2528-2558
REV 2/Aug/2015 Jureen
ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-% %-<% >40%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด
ลือด 2528-2558
REV 2/Aug/2015 Jureen
ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-% %-<% >40%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด
ลือด 2528-2558
REV 2/Aug/2015 Jureen
ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-% %-<% >40%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด
ลือด 2528-2558
ผู้ที่ไม่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-3% 3%-<4% >0%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัว
และหลอดเลือด 2528-2558
ผู้ที่ไม่เป็นเบาหวาน
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 7
ตารางสีที่ 2 กรณีทราบผลโคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัย
เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดลือด 2528-2558
ตารางสีที่ 2 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-3% 3%-<4% >0%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ
และหลอดเลือด 2528-2558
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง8
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของ
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดลือด 2528-2558
ผู้ที่ไม่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-% %-<% >40%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด
เลือด 2528-2558REV 2/Aug/2015 Jureen
ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-% %-<% >40%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด
ลือด 2528-2558
REV 2/Aug/2015 Jureen
ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-% %-<% >40%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด
ลือด 2528-2558
REV 2/Aug/2015 Jureen
ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-% %-<% >40%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด
ลือด 2528-2558
REV 2/Aug/2015 Jureen
ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-% %-<% >40%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด
ลือด 2528-2558
REV 2/Aug/2015 Jureen
ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
ผู้ที่เป็นเบาหวาน
<10% %-% %-% %-<% >40%
ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด
ลือด 2528-2558
ผู้ที่ไม่เป็นเบาหวาน
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 9
ขั้นตอนประเมินโอกาสเสี่ยงโดยการใช้ตารางสี
ขั้นตอนที่ 1	สถานบริการมีบริการตรวจหา cholesterol ในเลือด
	 หรือไม่ถ้าไม่มีบริการตรวจหา cholesterol ให้ใช้
	 ตารางสีที่ 1 ถ้ามีใช้ตารางสีที่ 2
ขั้นตอนที่ 2 	เลือกตารางว่าเป็นโรคเบาหวานหรือไม่
ขั้นตอนที่ 3 	เลือกเพศชาย หรือหญิง
ขั้นตอนที่ 4 	เลือกการสูบบุหรี่ ว่าสูบหรือไม่สูบ
	 ผู้ที่ยังคงสูบบุหรี่ ยาเส้น ยาสูบ บุหรี่ซิกาแรต
	 บุหรี่ซิการ์ ในปัจจุบัน และผู้ที่หยุดสูบไม่เกิน 1 ปี
	 ก่อนการประเมิน เลือก ช่องสูบบุหรี่
ขั้นตอนที่ 5	เลือกช่วงอายุ
ช่วงอายุ (ปี) เลือกช่อง
<40-49 40
50-54 50
55-59 55
60-64 60
65 ปีขึ้นไป 65
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง10
ขั้นตอนที่ 6	เลือกค่า systolic blood pressure โดยใช้จาก
	 การวัด 2 ครั้ง 2 ช่วงเวลาห่างกันอย่างน้อย 1 สัปดาห์
	 (ไม่ใช่ก่อนการรักษา)
ค่า systolic blood pressure
(มม.ปรอท)
เลือกช่อง
<120 - 139 120
140 - 159 140
160 - 179 160
180 ขึ้นไป 180
ขั้นตอนที่ 7	เลือกค่ารอบเอว : หน่วย ซม. น้อยกว่า หรือมากกว่า
	 ส่วนสูงหาร 2
ขั้นตอนที่ 8	ค่า cholesterol กรณีทราบค่า cholesterol
ค่า cholesterol (มก./ดล.) เลือกช่อง
<160 - 199 160
200 - 239 200
240 - 279 240
280 - 319 280
320 ขึ้นไป 320
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 11
	 ทั้งนี้ โอกาสเสี่ยงอาจสูงกว่าที่ประเมิน ได้ เนื่องจาก
ปัจจัยอื่นๆ ได้แก่
	 1. 	รับประทานผัก ผลไม้น้อย
	 2. 	ความอ้วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งอ้วนลงพุง
	 3. 	วิถีชีวิตนั่งๆนอนๆ
	 4. 	ประวัติครอบครัวญาติสายตรง (first degree
relative) ได้แก่ พ่อ แม่ พี่หรือน้องท้องเดียวกัน การได้รับการ
วินิจฉัย จากแพทย์ว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ (coronary heart
disease) หรือโรคหลอดเลือดสมอง (stroke) ก่อนวัยอันควร คือ
ก่อนอายุ 55 ปีในชาย และก่อนอายุ 65 ปีในหญิง ซึ่งก�ำลังรับการ
รักษาอยู่หรือไม่ก็ได้
	 5. 	ได้รับยาลดความดันโลหิต
	 6. 	ระดับไขมัน triglycerides สูง มากกว่า 180 มก./ดล.
	 7. 	ระดับ HDL ตํ่ากว่า 40 มก./ดล. ในชาย หรือตํ่ากว่า
50 มก./ดล. ในหญิง
	 8. 	มีการเพิ่มขึ้นของ C-reactive protein, fibrinogen,
homocysteine, apolipoprotein B,Lp (a), fasting impaired
glucose หรือ impaired glucose tolerance
	 9.	 มี microalbuminuria (จะเพิ่มโอกาสเสี่ยงใน 5 ปี
อีก 5% .ในผู้ที่เป็นเบาหวาน)
	 10.	มีระดับนํ้าตาลในเลือดสะสม (HbA1c) มากกว่า 7%
	 11.	Premature menopause
	 12.	เศรษฐานะตํ่า
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง12
แนวทางการจัดบริการหลังการประเมิน
เป้าหมายผลลัพธ์การบริการและจัดการตนเองเพื่อ
ลดโอกาสเสี่ยง
	 ในการจัดบริการหลังการประเมิน เมื่อประเมินโอกาส
เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดแล้ว ได้จัด กลุ่มเสี่ยงเป็น
3 กลุ่ม ได้แก่
	 กลุ่มเสี่ยงปานกลาง หมายถึงผู้ที่ผลประเมินโอกาส
เสี่ยงจากตารางสี < 20 %
	 กลุ่มเสี่ยงสูง หมายถึงผู้ที่ผลประเมินโอกาสเสี่ยงจาก
ตารางสี 20 - < 30 %
	 กลุ่มเสี่ยงสูงมาก หมายถึงผู้ที่ผลประเมินโอกาสเสี่ยง
จากตารางสี > 30%
	 โดยมีเป้าหมายการให้บริการเพื่อเกิดผลลัพธ์รายบุคคล
ดังตาราง
เป้าหมาย ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิต (มม.ปรอท) < 140/80 < 140/90
ความดันโลหิตเฉลี่ยที่บ้าน
(มม.ปรอท)
< 135/75 < 135/85
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 13
เป้าหมาย ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
ระดับน�้ำตาลในเลือด
FPG (มก./ดล.) ตามระดับ
ความควบคุม *
70 - 110
(เข้มงวดมาก)
90 - < 130
(เข้มงวด)
< 150
(ไม่เข้มงวด)
70 - 99
HbA1c (%) < 7
ไขมันในเลือด
High Density
Lipoprotein (HDL)
(มก./ดล.)
> 40 (ชาย)
> 50 (หญิง)
> 40 (ชาย)
> 50 (หญิง)
Triglycerides (มก./ดล.) < 150
Total Cholesterol (TC)
(มก./ดล.)
< 280 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยง
ปานกลาง)
< 200 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยงสูง
และกลุ่มเสี่ยงสูงมาก)
Low Density
Lipoprotein (LDL)
(มก./ดล.)
< 160 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยง
ปานกลาง
< 100 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยงสูง)
< 70 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยงสูงมาก)
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง14
เป้าหมาย ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
การสูบบุหรี่ งดสูบและดมควันบุหรี่
น�้ำหนักและรอบเอว ดัชนีมวลกาย 18.5 - 22.9 กก./ม2
หรือ
ใกล้เคียง รอบเอว น้อยกว่าส่วนสูง/2
(เซนติเมตร)
การออกก�ำลังกาย ** หนักระดับปานกลาง 30 นาทีต่อครั้ง
5 ครั้งต่อสัปดาห์
การบริโภคอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักและผลไม้
แอลกอฮอล์ หยุดดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์***
ในรายที่หยุดดื่มไม่ได้ แนะน�ำให้ลดการดื่ม
ลง (ผู้ชาย < 2 หน่วยมาตรฐาน ; ผู้หญิง
< 1 หน่วยมาตรฐาน)
* ที่มา : แนวทางเวชปฏิบัติส�ำหรับโรคเบาหวาน 2557
** หนักระดับปานกลาง เช่น เดินเร็วอย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน (หน้า​ 18)
*** ที่มา :  Evidence-Based Guideline For the Management of High Blood
Pressure in Adults Report  From The Panel Members Appointed to the
Eighth Joint National Committee,  2014 (JNC8)
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 15
ขั้นตอนการบริการหลังประเมินในกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและ
โรคความดันโลหิตสูง
	
REV 3/Aug/2015 Jureen
ขั้นตอนการบริการหลังประเมินในกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
* แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557 แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป
พ.ศ.2555
กลุ่มเสี่ยงสูงมาก
Risk >30%
. ให้ข้อมูลปัจจัยเสี่ยงและอาการเตือนของโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง
2. ประเมินโอกาสเสี่ยงตาม Check Life’s Simple 7 ได้แก่ ค่าความดันโลหิตครั้งสุดท้าย ค่าไขมันในเส้นเลือด
ครั้งสุดท้าย ค่าระดับนํ้าตาลในเลือดครั้งสุดท้าย การสูบบุหรี่ นํ้าหนัก/รอบเอว/ดัชนีมวลกาย การออกกําลังกาย
(สัปดาห์ละกี่ครั้ง ครั้งละกี่นาที การรับประทานอาหาร (หวาน มัน เค็ม ผัก ผลไม้ เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์)
กลุ่มเสี่ยงสูง
Risk 20-<30%
ลงทะเบียนกลุ่มเสี่ยงสูงมาก
.ให้คําปรึกษาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพและการจัดการตนเอง
2. บันทึกในแบบบันทึก น.ค.ร.สุขภาพ
หรือในบันทึกรูปแบบอื่น
3. ติดตามประเมินปัจจัยเสี่ยง/การ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - เดือน
4. ให้ยาตามข้อบ่งชี้*
5. ติดตามประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการ
เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดทุกปี
.ส่งพบแพทย์เพื่อให้คําแนะนํา/ให้ยาตาม
ความเหมาะสม
2.บันทึกในแบบบันทึก น.ค.ร.สุขภาพหรือ
ในบันทึกรูปแบบอื่น
3.ให้คําปรึกษาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพและการจัดการตนเองอย่างเข้มข้น
และรีบด่วน
4. ติดตามประเมินปัจจัยเสี่ยง/การ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - เดือน
5.ให้ยาตามข้อบ่งชี้*
6. ติดตามประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด
โรคหัวใจและหลอดเลือดทุก - เดือน
. ให้คําปรึกษาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพและการจัดการตนเองอย่าง
เข้มข้น
2.บันทึกในแบบบันทึก น.ค.ร.สุขภาพ
หรือในบันทึกรูปแบบอื่น
3.ติดตามประเมินปัจจัยเสี่ยง/การ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -เดือน
4.ให้ยาตามข้อบ่งชี้*
5. ติดตามประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการ
เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดทุก -
เดือน
ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
กลุ่มเสี่ยงปานกลาง
Risk < 20%
* แนวทางเวชปฏิบัติส�ำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557 แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง
ในเวชปฏิบัติทั่วไปพ.ศ.2555
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง16
แบบบันทึก น.ค.ร.สุขภาพ
น.นํ้าหนัก ทุกสัปดาห์ (กก.), ค. ค่าความดันโลหิตตัวบน ทุกเดือน (มม.ปรอท),
ร.รอบเอว ทุก 3 เดือน (ซม.)
ชื่อ............................................................เพศ............
แบบบันทึก น.ค.ร.สุขภาพ
น.นํ้าหนัก ทุกสัปดาห์ (กก.), ค. ค่าความดันโลหิตตัวบน ทุกเดือน (มม.ปรอท), ร.รอบเอว ทุก 3 เดือน(ซม.)
ชื่อ............................................................เพศ............
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 17
ข้อแนะน�ำในการปรับพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกัน
การเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง
หลังการประเมินโอกาสเสี่ยง
การหยุดสูบบุหรี่
	 หยุดสูบบุหรี่หรือไม่เริ่มสูบ (รวมทั้งยาสูบในรูปแบบอื่น)
และไม่สูดดมควันบุหรี่เป็นประจ�ำ ไม่แนะน�ำให้สูบบุหรี่ไฟฟ้า
(e-cigarette) เพื่อการหยุดสูบบุหรี่ ในรายที่ให้ค�ำปรึกษาแล้ว
ไม่ได้ผลอาจพิจารณาให้ nicotine replacement และ/หรือ
ยา nortriptyline หรือ amfebutamone (bupropion)
การบริโภคอาหาร
	 1.	 ลดอาหารไขมันสูง
	 	 ลดกินไขมันที่มาจากสัตว์และผลิตภัณฑ์สัตว์ เช่น
เนื้อ นม เนย ผู้ป่วยเบาหวานหรือผู้ที่กินยาลดไขมันอยู่ ให้กินไข่
ทั้งฟอง 2 ถึง 3 ฟองต่อสัปดาห์ ลดกินของมัน ของทอด อาหาร
เครื่องดื่มที่มีไขมันสูง งดกินเบเกอรี่ เช่น คุ๊กกี้ เค้ก เฟรนช์ฟรายด์
หรือ ของทอดซ�้ำ ซึ่งมีกรดไขมันทรานส์มาก ใช้นํ้ามันมะกอก
นํ้ามันร�ำข้าว ถั่วลิสง และ กินไขมันจากปลา ทั้งปลาทะเลและ
ปลานํ้าจืด
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง18
	 2. 	ลดอาหารเค็มหรือมีเกลือโซเดียมสูง
	 	 ลดกินอาหารที่มีรสเค็มลงครึ่งหนึ่ง และลดเครื่องดื่ม
ที่มีรสเค็มลง เช่น เครื่องดื่มผสมเกลือแร่ ไม่เติมนํ้าปลา ซีอิ๊ว
เต้าเจี้ยว กะปิ ผงชูรส ของส�ำเร็จรูป ในอาหาร แต่กินแบบ
“จิ้ม”แทน กินอาหาร ผลไม้สด แทนอาหาร เครื่องดื่มส�ำเร็จรูป
	 3. 	ลดอาหารและเครื่องดื่มที่มีรสหวานหรือนํ้าตาลสูง
	 	 หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีรสหวาน เช่น นํ้าอัดลม
นํ้าหวาน เครื่องดื่มชูก�ำลัง นํ้าผลไม้ ลดกินนํ้าตาล ไม่เกินวันละ
6 ถึง 8 ช้อนชา (หรือ 24 ถึง 32 กรัม)
	 4. 	เพิ่มผักสดและผลไม้ที่ไม่หวานจัด
	 	 รับประทานผักสดมื้อละ 2 ฝ่ามือพูน หรือ ผักสุก
มื้อละ 1 ฝ่ามือพูน ผลไม้ไม่หวานจัด 15 ค�ำต่อวัน หรือ
รับประทาน ผัก ผลไม้อย่างน้อย ครึ่งกิโลกรัมต่อวัน
การออกก�ำลังกาย (กิจกรรมทางกาย)
	 การเคลื่อนไหวร่างกาย ระดับหนักปานกลาง เช่น
เดินเร็ว อย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน การเดิน 10,000 ก้าวต่อวัน
โดยใช้เครื่องนับก้าว (pedometer) และ มีการเคลื่อนไหว
ร่างกายในชีวิตประจ�ำวัน เวลาว่าง หน้าทีวี และการท�ำงาน
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 19
กิจกรรมทางกายที่ป้องกันโรค
	 การออกกก�ำลังกาย แบบแอโรบิค (aerobic) จะท�ำให้
หัวใจแข็งแรงและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และควรออกสม�่ำเสมอ
มากกว่า 30 นาทีต่อวัน วิธีออกก�ำลังกายเพื่อให้ได้ aerobic
มีได้หลายวิธี เช่น การเดิน การวิ่ง การวิ่งบนสายพาน การขึ้นบันได
การว่ายน�้ำ การออกก�ำลังกาย water aerobic การขี่จักรยาน
การเล่นเทนนิส การเล่นกอล์ฟ
การควบคุมนํ้าหนักตัวให้เหมาะสม
	 โดยการลดพลังงานจากอาหารที่รับประทาน ปรับเปลี่ยน
วิถีชีวิตการรับประทานอาหาร และเพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกาย
ดังนี้
	 1.	 ความตั้งใจ สร้างก�ำลังใจให้ตนเอง มีความตั้งใจที่จะ
ไปให้ถึงเป้าหมาย สร้างภาพพจน์ให้ชัดเจนในใจ จินตนาการถึง
สิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อท�ำส�ำเร็จ
	 2.	 ไม่ควรอดอาหาร การอดอาหารเป็นเวลานาน
จะท�ำให้ร่างกายเผาผลาญพลังงานน้อยลง และจะกลายเป็น
คนอ้วนง่าย วิธีการควบคุมอาหารที่ถูกต้อง คือ รับประทาน
อาหารประเภท แป้ง คาร์โบไฮเดรตและโปรตีนในสัดส่วน
ที่พอเหมาะ ลดอาหารไขมันสูง รับประทานผักและผลไม้
แทนมาก ๆ
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง20
	 3. หาเวลาออกก�ำลังกาย ควรออกก�ำลังกายทั้งแบบ
แอโรบิก เพื่อให้เกิดการเผาผลาญพลังงาน และหัวใจได้สูบฉีด
โลหิต ควบคู่ไปกับการออกก�ำลังกาย แบบเพิ่มความแข็งแรง
ให้กล้ามเนื้อ จะท�ำให้ร่างกายกระชับได้สัดส่วน อย่างน้อยวันละ
30 นาที
	 4. 	งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ น�้ำหวาน น�้ำอัดลม
ให้ดื่มน�้ำเปล่า วันละประมาณ 8 แก้ว หรือ ดื่มน�้ำผลไม้ 100%
ที่ไม่มีน�้ำตาล
	 5.	 อย่ารับประทานอาหารเร็วเกินไป เนื่องจากร่างกาย
มีกลไก การรับรู้ความรู้สึกอิ่มจากสารอาหาร โดยเฉพาะน�้ำตาล
ที่เข้าสู่กระแสเลือด หากรับประทานเร็วเกินไป กว่าร่างกาย
จะตอบสนองว่าอิ่ม ก็ได้รับประทานอาหารมากเกินไปแล้ว เคี้ยว
อาหารให้ช้าลง
	 6. 	ควรรับประทานอาหารให้อิ่ม ก่อนที่จะท�ำกิจกรรม
อย่างอื่น ไม่ควรรับประทานอาหารไป ดูทีวีไป เพราะจะท�ำให้เพลิน
และรับประทานอาหารเกินความต้องการของร่างกาย
	 7. 	ไม่ควรรับประทานอาหารมื้อดึก งดอาหารว่าง
ระหว่างมื้อที่เป็นของขบเคี้ยว เบเกอรี่ หรือของหวาน
	 8. 	ชั่งน�้ำหนักทุกสัปดาห์ และวัดรอบเอวทุก 3 เดือน
	 9.	 ควบคุมขนาดรอบเอวไม่ให้มากกว่าเกณฑ์ที่เหมาะสม
(ส่วนสูงหาร 2) และน�้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 21
การบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
	 ลดการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ โดยชาย ไม่ควร
ดื่มเกิน 2 หน่วยมาตรฐานต่อวัน และหญิง ไม่ควรดื่มเกิน 1 หน่วย
มาตรฐานต่อวัน
	 หนึ่งดื่มมาตรฐาน คือ เครื่องดื่มที่มีปริมาณของแอลกอฮอล์
บริสุทธิ์ 10 กรัม โดยใช้ปริมาณที่เท่ากันของแอลกอฮอล์ใน
เครื่องดื่มเป็นมาตรฐานการวัด ตัวอย่าง หนึ่งดื่มมาตรฐาน ได้แก่
เบียร์ไม่เกิน 360 ml ไวน์ไม่เกิน 150 ml สุราอื่นไม่เกิน 45 ml
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง22
แนวทางการส่งต่อในระบบบริการสุขภาพ
บทบาทการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือด
ในสถานบริการแต่ละระดับ	
กิจกรรม
ศสม./
รพ.สต.
F3 F2 F1 M2 M1 S A
1.	รณรงค์สื่อสารสัญญาณ
เตือนของโรคหลอดเลือด
หัวใจและหลอดเลือดสมอง
√ √ √ √ √ √ √ √
2.	ส่งเสริมการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมระดับบุคคล
และชุมชน
√ √ √ √ √ √ √ √
3.	ประเมินโอกาสเสี่ยงโรค
หัวใจและ หลอดเลือดใน
ผู้ป่วย DM HT ปีละครั้ง
√ √ √ √ √ √ √ √
4.	แจ้งโอกาสเสี่ยงและ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตามความเสี่ยงเพื่อ
ป้องกันการเกิดโรค
หลอดเลือดหัวใจและ
ห ล อ ด เ ลื อ ด ส ม อ ง
(primary prevention)
ในรูปแบบต่างๆ ตาม
ความเหมาะสม เช่น
class group และ
รายบุคคล
√ √ √ √ √ √ √ √
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 23
กิจกรรม
ศสม./
รพ.สต.
F3 F2 F1 M2 M1 S A
5.	ลงทะเบียนผู้ที่มี CVD
Risk >30 % ใน 10 ปี
ข้างหน้า และติดตามผล
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
√ √ √ √ √ √ √ √
6.	ส่งต่อ ผู้ที่มีอาการโรค
หลอดเลือดหัวใจ หรือ
หลอดเลือดสมอง เพื่อ
การวินิจฉัย
√ *
* ตามศักยภาพ √ สามารถท�ำได้
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง24
ขั้นตอนการส่งต่อผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ที่สงสัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ
	 1.	 ประเมินอาการน�ำที่ส�ำคัญของโรคหลอดเลือดหัวใจ  
ดังนี้
	 	 •	 กลุ่มอาการเจ็บเค้นอก เช่น อาการเจ็บแน่น
หรืออึดอัดบริเวณหน้าอก หรือปวดเมื่อย หัวไหล่หรือปวดกราม
หรือจุกบริเวณลิ้นปี่ เป็นมากขณะออกก�ำลัง เป็นนานครั้งละ
2-3 นาที
	 	 •	 เหนื่อยง่ายขณะออกแรง เช่น  อาการเหนื่อยขณะ
ออกก�ำลังที่เกิดขึ้นเฉียบพลันภายใน 1-2 สัปดาห์ หรือ อาการ
เหนื่อยขณะออกก�ำลังที่เกิดขึ้นเรื้อรังเกินกว่า 3 สัปดาห์ ขึ้นไป
	 	 •	 กลุ่มอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวทั้งชนิดเฉียบพลัน
และเรื้อรัง เช่น หายใจหอบ นอนราบไม่ได้แน่นอึดอัด หายใจเข้า
ไม่เต็มปอดอาจมีอาการเจ็บเค้นอกร่วมด้วย
	 	 •	 อาการเนื่องจากความดันโลหิตเฉียบพลัน เช่น  
หน้ามืด เวียนศีรษะ เป็นลม ร่วมกับอาการแน่นหน้าอก
	 	 •	 อาการหมดสติหรือหัวใจหยุดเต้น
	 2.	 แพทย์หรือบุคคลากรทางการแพทย์ประเมินภาวะ
เร่งด่วนที่ต้องให้การบ�ำบัดภาวะฉุกเฉิน
	 	 (หัวใจหยุดเต้น, ความดันโลหิตต�่ำอยู่ในภาวะช็อก
และภาวะหัวใจล้มเหลว)
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 25
	 3.	 ให้การบ�ำบัดภาวะฉุกเฉินตามความจ�ำเป็น
	 4.	 สถานบริการสาธารณสุข ชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล โรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็ก
ให้ส่งต่อผู้ป่วยที่สงสัยภาวะหัวใจขาดเลือดทุกราย สถานพยาบาล
ระดับอื่น ให้การวินิจฉัยและรักษาขึ้นกับระดับของสถานพยาบาล
	 (ศึกษาแนวทางการวินิจฉัย รักษาและส่งต่อ เพิ่มเติม
จากแนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือด
ในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี 2557 และ Service Plan
สาขาโรคหัวใจ)
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง26
ขั้นตอนการส่งต่อผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ที่สงสัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมอง
	 1.	 ซักประวัติถึงอาการเตือนที่ส�ำคัญอยางใดอยางหนึ่ง
หรือมากกวา 1 ใน 5 อย่างตอไปนี้
	 	 •	 การออนแรงของกลามเนื้อ เชน มีอาการชาหรือ
ออนแรงแขนขาหรือใบหนา สวนใหญมักเปนที่รางกายเพียง
ซีกใดซีกหนึ่ง
	 	 •	 การมองเห็นผิดปกติ เชน ตามัว มองเห็นภาพซอน
หรือตาขางใดขางหนึ่งมองไมเห็นทันที
	 	 •	 การพูดผิดปกติ เชน พูดล�ำบาก พูดตะกุกตะกัก
หรือพูดไมไดหรือไมเขาใจค�ำพูด
	 	 •	 มีอาการปวดศีรษะอยางรุนแรงทันที โดยไมมี
สาเหตุชัดเจน
	 	 •	 เวียนศีรษะ มีอาการมึนงง บานหมุน หรือเดินเซ
เสียการทรงตัว
	 2.	 ประเมินอาการและซักประวัติเพิ่มเติม ดังนี้ ระยะ
เวลาที่เริ่มเปน การตรวจรางกาย สัญญาณชีพ และความผิดปกติ
ทางระบบประสาท
	 3.	 สงต่อผู้ป่วยไปสถานบริการที่มีศักยภาพสูงกว่าตาม
ระบบเครือข่ายโรคหลอดเลือดสมองของจังหวัด
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 27
	 (ศึกษาแนวทางการวินิจฉัย รักษาและส่งต่อ เพิ่มเติม
จากแนวทางการพยาบาล ผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมอง ส�ำหรับ
พยาบาลทั่วไป พ.ศ. 2250  แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือด
สมองตีบหรืออุตัน ส�ำหรับแพทย์ พ.ศ. 2250  และ Service
Plan สาขาโรคหลอดเลือดสมอง)
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง28
เอกสารอ้างอิง
•	 รายงานผลการด�ำเนินงานการประเมินผลการดูแลผู้ป่วย
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูง ของโรงพยาบาล
ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และโรงพยาบาลในสังกัด
กรุงเทพมหานคร ประจ�ำปี 2555. เครือข่ายวิจัยกลุ่ม
สถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย. สืบค้นข้อมูลจาก
www.thaimedresnet.org เข้าถึงเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2558
•	 รายงานผลการด�ำเนินงานการประเมินผลการดูแลผู้ป่วย
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูง ของโรงพยาบาล
ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และสถานพยาบาลในพื้นที่
กรุงเทพมหานคร ประจ�ำปี 2557.  เครือข่ายวิจัยกลุ่ม
สถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย. สืบค้นข้อมูลจาก
www.thaimedresnet.org เข้าถึงเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2558
•	 แบบประเมินต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ในระยะ
เวลา 10 ปี
•	 แนวทางเวชปฏิบัติส�ำหรับโรคเบาหวาน 2557. โดยสมาคม
โรคเบาหวานแห่งประเทศไทย สมาคมต่อมไร้ท่อแห่งประเทศไทย
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขและส�ำนักงานหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. มิถุนายน 2557
•	 แนวทางการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและ
หลอดเลือด.โดยส�ำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรคกระทรวง
สาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่ 3. ธันวาคม 2557
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 29
•	 แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือด
ในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี 2557. โดยสมาคมแพทย์
โรคหัวใจแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคม
โรคหลอดเลือดแดงแห่งประเทศไทย สมาคมศัลยแพทย์
ทรวงอกแห่งประเทศไทย ชมรมคลื่นสะท้อนเสียงหัวใจ
แห่งประเทศไทย ชมรมช่างไฟฟ้าหัวใจแห่งประเทศไทย
ชมรมคาร์ดิแอคอิมเมจจิงแห่งประเทศไทย ชมรมมัณฑนากร
หลอดเลือดหัวใจแห่งประเทศไทย (2551) ราชวิทยาลัย
อายุรแพทย์แห่งประเทศไทยแพทยสภากระทรวงสาธารณสุข.
สืบค้นข้อมูลจาก http://www.thaiheart.org/ เข้าถึง
เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2558
•	 แนวทางการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองส�ำหรับ
พยาบาลทั่วไป 2550. โดยสถาบันประสาทวิทยา ชมรม
พยาบาลโรคระบบประสาทแห่งประเทศไทย. สืบค้นข้อมูล
จาก http://pni.go.th/cpg/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2558
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง30
คณะท�ำงานเพื่อพัฒนาแนวทางการประเมินโอกาสเสี่ยง
ต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
นายแพทย์สมเกียรติ โพธิสัตย์ 	 ประธานคณะกรรมการพัฒนาระบบ
	 บริการสุขภาพ (Service plan)
	 สาขาโรคไม่ติดต่อ	 	
แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ	 รองผู้อ�ำนวยการ
	 ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
นายแพทย์เกรียงไกร เฮงรัศมี 	 นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ
	 สถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์
นายแพทย์สมชาย โตวณบุตร 	 นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ 	
	 สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์
นายแพทย์สุชาติ หาญไชยพิบูลย์กุล	 นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ 	
	 สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์
ผศ.นพ.สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์ 	อาจารย์ประจ�ำ
	 สาขาวิชาโรคหัวใจและหลอดเลือด
	 ภาควิชาอายุรศาสตร์
	 คณะแพทยศาสตร์
	 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 	 	
ศ.นพ.พีระ บูรณะกิจเจริญ 	 นายกสมาคมโรคความดัน	
	 โลหิตสูงแห่งประเทศไทย
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 31
ศ.นพ.ชัชลิต รัตรสาร	 กรรมการ สมาคมโรคเบาหวาน
	 แห่งประเทศไทย	
พลตรี นพ.ชุมพล เปี่ยมสมบูรณ์	 นายกสมาคมโรคหัวใจแห่งประเทศไทย
	 ในพระบรมราชูปถัมภ์	
พอ.รศ.นพ.สามารถ นิธินันทน์ 	 นายกสมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทย	
นางกนกพร แจ่มสมบูรณ์ 	 รองผู้อ�ำนวยการกลุ่มภารกิจบริการวิชาการ
	 สถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์	
แพทย์หญิงสุมนี วัชรสินธุ์ 	 นายแพทย์ช�ำนาญการพิเศษ 	
	 ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
นางนิตยา พันธุเวทย์ 	 นักวิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการ
	 ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค	
นางณัฐธิวรรณ พันธ์มุง 	 นักวิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการ
	 ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค	
นางสาวธิดารัตน์ อภิญญา	 นักวิชาการสาธารณสุข 	
	 ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
นางสาวณัฐสุดา แสงสุวรรณโต 	 นักวิชาการสาธารณสุข 	 	
	 ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง32
คณะนักวิจัยจากสหสถาบันอุดมศึกษา
นายแพทย์ปริญญ์ วาทีสาธกกิจ 	อายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจ
	 และหลอดเลือด
	 คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
ศ.นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา	 อายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจ
	 และหลอดเลือด
	 คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 33
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
NOTE
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

More Related Content

What's hot

การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555Utai Sukviwatsirikul
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงbird090533
 
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานMuay Muay Somruthai
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copyWatcharin Chongkonsatit
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 

What's hot (20)

Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
 
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวาน
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 

Viewers also liked

หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีTuang Thidarat Apinya
 
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดีหลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดีpluakdeang Hospital
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตTuang Thidarat Apinya
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2dumrongsuk
 
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงTuang Thidarat Apinya
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินควบคุมความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีวัยหมดระดู
การประเมินควบคุมความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีวัยหมดระดูการประเมินควบคุมความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีวัยหมดระดู
การประเมินควบคุมความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีวัยหมดระดูUtai Sukviwatsirikul
 
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรังหนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรังโรงพยาบาลสารภี
 
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...SlideShare
 
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินัง
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินังSlide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินัง
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินังAiman Sadeeyamu
 
โรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้นโรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้นanurug1912
 

Viewers also liked (20)

หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
 
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดีหลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
 
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
การประเมินควบคุมความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีวัยหมดระดู
การประเมินควบคุมความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีวัยหมดระดูการประเมินควบคุมความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีวัยหมดระดู
การประเมินควบคุมความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีวัยหมดระดู
 
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรังหนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
 
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
 
EGAT Heart Score
EGAT Heart ScoreEGAT Heart Score
EGAT Heart Score
 
EGAT Heart Score
EGAT Heart ScoreEGAT Heart Score
EGAT Heart Score
 
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินัง
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินังSlide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินัง
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินัง
 
โรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้นโรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้น
 

Similar to การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Utai Sukviwatsirikul
 
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPHCardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPHDMS Library
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาUtai Sukviwatsirikul
 
Update cardiac prevention rehabilitation 2014
Update cardiac prevention rehabilitation 2014Update cardiac prevention rehabilitation 2014
Update cardiac prevention rehabilitation 2014Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557Utai Sukviwatsirikul
 
Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Utai Sukviwatsirikul
 
Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Utai Sukviwatsirikul
 
Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Utai Sukviwatsirikul
 
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔Puku Wunmanee
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดVorawut Wongumpornpinit
 
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้มวันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้มKomen Chawarit
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 

Similar to การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง (20)

แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
 
Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560
 
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPHCardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
 
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of Ministry of Public...
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of Ministry of Public...Cardiovasculare risk among staff working at the Central of Ministry of Public...
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of Ministry of Public...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
 
2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 
2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 
Update cardiac prevention rehabilitation 2014
Update cardiac prevention rehabilitation 2014Update cardiac prevention rehabilitation 2014
Update cardiac prevention rehabilitation 2014
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
 
Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014
 
Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014
 
Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014
 
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
 
Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือด
 
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้มวันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
Cpg hypertension guideline 2013
Cpg hypertension guideline 2013Cpg hypertension guideline 2013
Cpg hypertension guideline 2013
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 

การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

  • 1.
  • 3. ชื่อหนังสือ การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ISBN 978-616-11-2615-5 ที่ปรึกษา นายแพทย์โสภณ เมฆธน อธิบดี กรมควบคุมโรค แพทย์หญิงประนอม ค�ำเที่ยง ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย นายแพทย์สมเกียรติ โพธิสัตย์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ กรมการแพทย์ นายแพทย์ภานุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดี กรมควบคุมโรค ดร.นายแพทย์ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค คณะบรรณาธิการ แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ แพทย์หญิงสุมนี วัชรสินธุ์ นางณัฐธิวรรณ พันธ์มุง ลิขสิทธิ์ของส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค จัดพิมพ์และเผยแพร่ ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค พิมพ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2558 จ�ำนวน 10,000 เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด
  • 4. ค�ำน�ำ โรคหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมองตีบ (อัมพฤกษ์ อัมพาต) เป็นปัญหา สาธารณสุขส�ำคัญระดับประเทศ เป็นสาเหตุการป่วย พิการและ เสียชีวิตอันดับต้นๆ ของโลกรวมถึงประเทศไทย ส่งผลให้เกิด ภาระและการสูญเสียในทุกมิติทั้งกาย จิต สังคม เศรษฐกิจ ต่อทั้งผู้ป่วย ครอบครัว และประเทศชาติ โดยปัจจัยเสี่ยงหลักต่อ การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในคนไทยที่ส�ำคัญ ได้แก่ ภาวะ ความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันเลือดสูง เบาหวาน การสูบบุหรี่ ภาวะอ้วน และการมีประวัติโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอด เลือดสมองในครอบครัว การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือดในกลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยงหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ มีโรคประจ�ำตัวเบาหวานและความดันโลหิตสูง อย่างสม�่ำเสมอ ช่วยให้เกิดการรับรู้ ตระหนัก ถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้น เกิดแรง จูงใจ เกิดปฏิบัติการจัดการตนเองเพื่อลดความเสี่ยง คณะท�ำงานจัดท�ำแนวทางการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดัน โลหิตสูง ร่วมกับคณะนักวิจัยจากสหสถาบันอุดมศึกษา จึงได้จัด ท�ำหนังสือแนวทางฯ เล่มนี้ขึ้นวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคลากร ทางการแพทย์ได้ใช้แบบการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค
  • 5. หัวใจและหลอดเลือดในคนไทย (Thai CV risk score) ที่พัฒนา จากข้อมูลที่ได้จากการติดตามศึกษาหาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือดในประชากรไทย ภายใต้โครงการศึกษา พนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เป็นระยะเวลา ยาวนานกว่า 30 ปี ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความแม่นย�ำ ความเชื่อถือได้ ของโอกาสเสี่ยงในคนไทยที่ใกล้เคียงกับอุบัติการณ์ของโรคและ ปัจจัยเสี่ยงหลัก มากกว่าที่พัฒนาโดยองค์การอนามัยโลกที่ใช้ ข้อมูลในภาพของกลุ่มประเทศ และหลังการประเมินมีการจัด บริการลดความเสี่ยงตามสถานะความเสี่ยง ป้องกันการเป็น ผู้ป่วยหน้าใหม่ของโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง ต่อไป ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรคขอขอบพระคุณ ทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการจัดท�ำแนวทางการประเมินโอกาส เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดมา ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดท�ำ ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
  • 6. สารบัญ หน้า สถานการณ์ความรุนแรงของโรคหัวใจและหลอดเลือด 1 ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง แนวทางการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและ 3 หลอดเลือดโดยใช้ตารางสี (Color Chart) • วัตถุประสงค์ของการใช้แนวทางการประเมิน 3 • ตารางสีการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ 4 และหลอดเลือด o ตารางการประเมิน ที่ 1 กรณีทราบผล 5 โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด o ตารางการประเมิน ที่ 2 กรณีไม่ทราบผล 7 โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด • ขั้นตอนการประเมินโอกาสเสี่ยงโดยการใช้ตารางสี 9 แนวทางการจัดบริการหลังการประเมิน 12 • เป้าหมายผลลัพธ์การบริการและจัดการตนเอง 12 เพื่อลดโอกาสเสี่ยง • ขั้นตอนการบริการหลังประเมินในกลุ่มป่วย 15 โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (DM, HT) • ข้อแนะน�ำในการปรับพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกัน 17 การเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง หลังการประเมิน โอกาสเสี่ยง
  • 7. หน้า แนวทางการส่งต่อในระบบบริการสุขภาพ 22 • บทบาทการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน 22 ทางโรคหลอดเลือดหัวใจและสมองสถานบริการ แต่ละระดับ • ขั้นตอนการส่งต่อผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็น 24 โรคหลอดเลือดหัวใจ • ขั้นตอนการส่งต่อผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็น 26 โรคหลอดเลือดสมอง เอกสารอ้างอิง 28
  • 8. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 1 สถานการณ์ความรุนแรงของโรคหัวใจ และหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ในที่นี้ หมายถึง โรคหลอด เลือดหัวใจ (Coronary heart disease) และ โรคหลอดเลือด สมอง (Cerebrovascular disease) เป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิด กับหลอดเลือดแดงใหญ่ (Macro vascular complication) ที่ส�ำคัญในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูง เนื่องจากมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็งและ ตีบตันสูงกว่าประชากรทั่วไป และมีความรุนแรงขึ้นเมื่อผู้ป่วย เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไม่สามารถควบคุมระดับน�้ำตาล ในเลือด ระดับความดันโลหิตได้ตามค่าเป้าหมาย หรือมีภาวะ ไขมันในเลือดผิดปกติ (Dyslipidemia) ผู้ป่วยเบาหวานเมื่อเกิด ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย จะมีการพยากรณ์โรคเลวร้ายกว่า ผู้ไม่เป็นเบาหวาน ในประเทศไทยพบว่าผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูงมีภาวะแทรกซ้อนของโรคหัวใจและ หลอดเลือดเพิ่มสูงขึ้น
  • 9. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง2 การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง รวมทั้ง การให้ค�ำปรึกษาปรับพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับยา ตามความเหมาะสม ของสถานบริการสุขภาพทุกระดับ เป็นสิ่งส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างยิ่ง ช่วยให้เกิดความตระหนักถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ท�ำให้มีการจัดการ ตนเองเพื่อลดความเสี่ยง และควบคุมผลลัพธ์การรักษาได้ตามเป้าหมาย REV 3/Aug/2015 Jureen โรคหัวใจและหลอดเลือดในที่นี้หมายถึง โรคหลอดเลือดหัวใจ(Coronary heart disease) และ โรคหลอดเลือดสมอง( Cerebrovascular disease) เป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับหลอดเลือดแดงใหญ่ ( Macro vascular complication) ที่สําคัญในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูง เนื่องจากมีความเสี่ยงต่อการ เกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็งและตีบตันสูงกว่าประชากรทั่วไป และมีความรุนแรงขึ้นเมื่อผู้ป่วยเบาหวาน ความ ดันโลหิตสูงไม่สามารถควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือด ความดันโลหิตได้ตามค่าเป้ าหมาย หรือมีภาวะไขมันในเลือด ผิดปกติ (Dyslipidemia) ร่วมด้วย ผู้ป่วยเบาหวานเมื่อเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายจะมีการพยากรณ์โรคเลวร้าย กว่าผู้ไม่เป็นเบาหวาน ในประเทศไทยพบว่าผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่  และความดันโลหิตสูงมีภาวะแทรกซ้อนของ โรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มสูงขึ้น อัตราภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน อัตราภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ที่มา ; เครือข่ายวิจัยกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (MedResNet) การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง รวมทั้งการให้คําปรึกษาปรับพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับยา ตามความเหมาะสม ของสถาน บริการสุขภาพทุกระดับ จึงเป็นสิ่งที่สําคัญและจําเป็นอย่างยิ่ง ช่วยให้เกิดตระหนัก ตื่นตัว ถึงอันตรายที่อาจจะ เกิดขึ้น เกิดการจัดการตนเองเพื่อลดความเสี่ยง ควบคุมผลลัพธ์การรักษาได้ตามเป้ าหมายเพื่อป้ องกันและชะลอ 1.2 1.3 7.1 8 0.5 0.5 3.9 4.4 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ปี2555 ปี2557 หลอดเลือดหัวใจในรอบ12เดือน หลอดเลือดหัวใจที่พบทั้งหมด หลอดเลือดสมองในรอบ12เดือน หลอดเลือดสมองที่พบทั้งหมด 0.1 1.31.1 6.4 0.5 0.6 2.4 3.1 0 1 2 3 4 5 6 7 ปี2555 ปี2557 หลอดเลือดหัวใจในรอบ12เดือน หลอดเลือดหัวใจที่พบทั้งหมด หลอดเลือดสมองในรอบ12เดือน หลอดเลือดสมองที่พบทั้งหมด อัตราภาวะแทรกซ้อน อัตราภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยเบาหวาน ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ที่มา : เครือข่ายวิจัยกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (MedResNet)
  • 10. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3 แนวทางการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ โรคหัวใจและหลอดเลือดโดยใช้ตารางสี (Color Chart) วัตถุประสงค์ของการใช้แนวทางการประเมิน เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ใช้ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในคนไทย (Thai CV risk score) โดยแสดงผลการประเมินเป็นความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต หรือเจ็บป่วยจากโรคเส้นเลือดหัวใจตีบตัน และโรคเส้นเลือด สมองตีบตันในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า ในกลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และสามารถน�ำมาใช้ใน ประชากรทั่วไปที่มีอายุ 40-70 ปี ที่ยังไม่ป่วยเป็นโรคหัวใจ เป้าหมายของการใช้ เพื่อป้องกันและควบคุมอุบัติการณ์ โรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมองรายใหม่ (ระดับ ปฐมภูมิ) ให้มีการจัดบริการที่เหมาะสม สอดคล้องกับโอกาส เสี่ยงรายบุคคล เพื่อให้ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยงสามารถจัดการตนเอง ลดปัจจัยเสี่ยงและปรับพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง ส่งผลให้ นํ้าหนักตัว ระดับความดันโลหิต ระดับนํ้าตาลและไขมันในเลือด อยู่ในเกณฑ์ปกติ ตลอดจนได้รับยาในรายที่มีข้อบ่งชี้
  • 11. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง4 ตารางสีการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือด เป็นการประเมินท�ำนายโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคกล้าม เนื้อหัวใจตาย (myocardial infarction) และ โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต (stroke) ในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า โดยใช้ตารางสี (color chart) ที่ประกอบด้วยข้อมูลปัจจัยเสี่ยงหลัก ได้แก่ อายุ เพศ การเป็นเบาหวาน การสูบบุหรี่ ค่าระดับความดันโลหิต ตัวบน (systolic BP) ค่าระดับไขมันโคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด อ้วนลงพุง (การที่เส้นรอบเอว มากกว่าค่า ส่วนสูงหาร 2) แปรผลโอกาสเสี่ยงเป็น 5 ระดับ ดังนี้ <10% 10- <20 % 20-<30% ต�่ำ ปานกลาง สูง 30-<40% >40% สูงมาก สูงอันตราย และโรคเส้นเลือดสมองตีบตันในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า ในกลุ่มเป้ โลหิตสูง และสามารถนํามาใช้ในประชากรทั่วไปที่มีอายุ 40-70 ปี ท เป้ าหมายของการใช้ เพื่อป้ องกันและควบคุมอุบัติการณ รายใหม่(ระดับปฐมภูมิ) มีการจัดบริการที่เหมาะสม สอดคล้องกับโอ สามารถจัดการตนเอง ลดปัจจัยเสี่ยงและปรับพฤติกรรมสุขภาพให้ถ ความดันโลหิต ระดับนํ้าตาลและไขมันในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ตลอ ตารางสีการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นการประเมินทํานายโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจ โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต (stroke) ในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า โดยใช้ ปัจจัยเสี่ยงหลักสําคัญ ได้แก่ อายุ เพศ การเป็นเบาหวาน การสูบบุห ค่าระดับไขมันโคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด อ้วนลงพุง(เส้น แปรผลโอกาสเสี่ยงเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ■ <10% ■ 10- <20 % ■ 20-<30% ■ 3 ตํ่า ปานกลาง สูง สง และโรคเส้นเลือดสมองตีบตันในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า ในกลุ่มเป้ โลหิตสูง และสามารถนํามาใช้ในประชากรทั่วไปที่มีอายุ 40-70 ปี ที่ย เป้ าหมายของการใช้ เพื่อป้ องกันและควบคุมอุบัติการณ์โ รายใหม่(ระดับปฐมภูมิ) มีการจัดบริการที่เหมาะสม สอดคล้องกับโอ สามารถจัดการตนเอง ลดปัจจัยเสี่ยงและปรับพฤติกรรมสุขภาพให้ถก ความดันโลหิต ระดับนํ้าตาลและไขมันในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ตลอ ตารางสีการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นการประเมินทํานายโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจ โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต (stroke) ในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า โดยใช้ต ปัจจัยเสี่ยงหลักสําคัญ ได้แก่ อายุ เพศ การเป็นเบาหวาน การสูบบุห ค่าระดับไขมันโคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด อ้วนลงพุง(เส้น แปรผลโอกาสเสี่ยงเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ■ <10% ■ 10- <20 % ■ 20-<30% ■ 3 ตํ่า ปานกลาง สูง สูง และโรคเส้นเลือดสมองตีบตันในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า ในกลุ่มเป้ าหม โลหิตสูง และสามารถนํามาใช้ในประชากรทั่วไปที่มีอายุ 40-70 ปี ที่ยังไม เป้ าหมายของการใช้ เพื่อป้ องกันและควบคุมอุบัติการณ์โรคห รายใหม่(ระดับปฐมภูมิ) มีการจัดบริการที่เหมาะสม สอดคล้องกับโอกาส สามารถจัดการตนเอง ลดปัจจัยเสี่ยงและปรับพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อ ความดันโลหิต ระดับนํ้าตาลและไขมันในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ตลอดจน ตารางสีการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นการประเมินทํานายโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต (stroke) ในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า โดยใช้ตารา ปัจจัยเสี่ยงหลักสําคัญ ได้แก่ อายุ เพศ การเป็นเบาหวาน การสูบบุหรี่ ค่า ค่าระดับไขมันโคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด อ้วนลงพุง(เส้นรอบ แปรผลโอกาสเสี่ยงเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ■ <10% ■ 10- <20 % ■ 20-<30% ■ 30-< ตํ่า ปานกลาง สูง สูงมาก ระเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในคนไทย (Thai ป็นความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตหรือเจ็บป่วยจากโรคเส้นเลือดหัวใจตีบตัน 10 ปีข้างหน้า ในกลุ่มเป้ าหมายหลักได้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน ความดัน ทั่วไปที่มีอายุ 40-70 ปี ที่ยังไม่ป่วยเป็นโรคหัวใจ กันและควบคุมอุบัติการณ์โรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง หมาะสม สอดคล้องกับโอกาสเสี่ยงรายบุคคล เพื่อให้ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง รับพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเหมาะสม ส่งผลให้นํ้าหนักตัว ระดับ ลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ตลอดจนได้รับยาในรายที่มีข้อบ่งชี้ หัวใจและหลอดเลือด จะเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย (myocardial infarction) และ ลา 10 ปีข้างหน้า โดยใช้ตารางสี (color chart) ที่ประกอบด้วยข้อมูล รเป็นเบาหวาน การสูบบุหรี่ ค่าระดับความดันโลหิตตัวบน(systolic BP) ) ในเลือด อ้วนลงพุง(เส้นรอบเอวมากกว่าค่า ส่วนสูงหาร ) ■ 20-<30% ■ 30-<40% ■ >40% สูง สูงมาก สูงอันตราย เมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในคนไทย (Thai นความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตหรือเจ็บป่วยจากโรคเส้นเลือดหัวใจตีบตัน 0 ปีข้างหน้า ในกลุ่มเป้ าหมายหลักได้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน ความดัน วไปที่มีอายุ 40-70 ปี ที่ยังไม่ป่วยเป็นโรคหัวใจ และควบคุมอุบัติการณ์โรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง มาะสม สอดคล้องกับโอกาสเสี่ยงรายบุคคล เพื่อให้ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง บพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเหมาะสม ส่งผลให้นํ้าหนักตัว ระดับ ดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ตลอดจนได้รับยาในรายที่มีข้อบ่งชี้ วใจและหลอดเลือด ะเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย (myocardial infarction) และ 10 ปีข้างหน้า โดยใช้ตารางสี (color chart) ที่ประกอบด้วยข้อมูล ป็นเบาหวาน การสูบบุหรี่ ค่าระดับความดันโลหิตตัวบน(systolic BP) นเลือด อ้วนลงพุง(เส้นรอบเอวมากกว่าค่า ส่วนสูงหาร ) ■ 20-<30% ■ 30-<40% ■ >40% สูง สูงมาก สูงอันตราย
  • 12. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 5 ตารางสีที่ 1 กรณีไม่ทราบผลโคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัย เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดลือด 2528-2558 (เป็นการปรับตารางสี จากเดิมที่ใช้ข้อมูลระดับภูมิภาคขององค์การอนามัยโลก มาใช้ข้อมูลของประเทศไทย ที่มีอยู่แทน) ส�ำหรับ android สามารถดาวน์โหลด application ได้ที่ Thai CV risk score (TCVRS) ส�ำหรับ i-phone สามารถดาวน์โหลด application ได้ที่ Thai CV risk calculator REV 2/Aug/2015 Jureen ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ผู้ที่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-% %-<% >40% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด ลือด 2528-2558 REV 2/Aug/2015 Jureen ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ผู้ที่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-% %-<% >40% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด ลือด 2528-2558 REV 2/Aug/2015 Jureen ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ผู้ที่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-% %-<% >40% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด ลือด 2528-2558 REV 2/Aug/2015 Jureen ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ผู้ที่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-% %-<% >40% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด ลือด 2528-2558 REV 2/Aug/2015 Jureen ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ผู้ที่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-% %-<% >40% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด ลือด 2528-2558 ตารางสีที่ 1 กรณีไม่ทราบผล cholesterol ในเลือด ผู้ที่เป็นเบาหวาน ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดลือด 2528-2558 (เป็นการปรับตารางสีจากเดิมที่ใช้ข้อมูลระดับภูมิภาคของ องค์การอนามัยโลก มาใช้ข้อมูลของประเทศไทยที่มีอยู่แทน) สําหรับ android สามารถดาวน์โหลดapplication ได้ที่ Thai CV risk score(TCVRS) สําหรับ i-phone สามารถดาวน์โหลดapplication ได้ที่ Thai CV risk calculator ผู้ที่เป็นเบาหวาน
  • 13. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง6 ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัย เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดลือด 2528-2558 REV 2/Aug/2015 Jureen ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ผู้ที่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-% %-<% >40% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด ลือด 2528-2558 REV 2/Aug/2015 Jureen ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ผู้ที่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-% %-<% >40% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด ลือด 2528-2558 REV 2/Aug/2015 Jureen ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ผู้ที่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-% %-<% >40% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด ลือด 2528-2558 REV 2/Aug/2015 Jureen ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ผู้ที่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-% %-<% >40% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด ลือด 2528-2558 REV 2/Aug/2015 Jureen ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ผู้ที่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-% %-<% >40% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด ลือด 2528-2558 ผู้ที่ไม่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-3% 3%-<4% >0% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัว และหลอดเลือด 2528-2558 ผู้ที่ไม่เป็นเบาหวาน
  • 14. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 7 ตารางสีที่ 2 กรณีทราบผลโคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัย เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดลือด 2528-2558 ตารางสีที่ 2 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ผู้ที่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-3% 3%-<4% >0% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือด 2528-2558 ผู้ที่เป็นเบาหวาน
  • 15. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง8 ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของ ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดลือด 2528-2558 ผู้ที่ไม่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-% %-<% >40% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด เลือด 2528-2558REV 2/Aug/2015 Jureen ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ผู้ที่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-% %-<% >40% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด ลือด 2528-2558 REV 2/Aug/2015 Jureen ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ผู้ที่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-% %-<% >40% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด ลือด 2528-2558 REV 2/Aug/2015 Jureen ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ผู้ที่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-% %-<% >40% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด ลือด 2528-2558 REV 2/Aug/2015 Jureen ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ผู้ที่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-% %-<% >40% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด ลือด 2528-2558 REV 2/Aug/2015 Jureen ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด ผู้ที่เป็นเบาหวาน <10% %-% %-% %-<% >40% ที่มา : Thai CV risk score , โครงการศึกษาระยะยาวเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด ลือด 2528-2558 ผู้ที่ไม่เป็นเบาหวาน
  • 16. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 9 ขั้นตอนประเมินโอกาสเสี่ยงโดยการใช้ตารางสี ขั้นตอนที่ 1 สถานบริการมีบริการตรวจหา cholesterol ในเลือด หรือไม่ถ้าไม่มีบริการตรวจหา cholesterol ให้ใช้ ตารางสีที่ 1 ถ้ามีใช้ตารางสีที่ 2 ขั้นตอนที่ 2 เลือกตารางว่าเป็นโรคเบาหวานหรือไม่ ขั้นตอนที่ 3 เลือกเพศชาย หรือหญิง ขั้นตอนที่ 4 เลือกการสูบบุหรี่ ว่าสูบหรือไม่สูบ ผู้ที่ยังคงสูบบุหรี่ ยาเส้น ยาสูบ บุหรี่ซิกาแรต บุหรี่ซิการ์ ในปัจจุบัน และผู้ที่หยุดสูบไม่เกิน 1 ปี ก่อนการประเมิน เลือก ช่องสูบบุหรี่ ขั้นตอนที่ 5 เลือกช่วงอายุ ช่วงอายุ (ปี) เลือกช่อง <40-49 40 50-54 50 55-59 55 60-64 60 65 ปีขึ้นไป 65
  • 17. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง10 ขั้นตอนที่ 6 เลือกค่า systolic blood pressure โดยใช้จาก การวัด 2 ครั้ง 2 ช่วงเวลาห่างกันอย่างน้อย 1 สัปดาห์ (ไม่ใช่ก่อนการรักษา) ค่า systolic blood pressure (มม.ปรอท) เลือกช่อง <120 - 139 120 140 - 159 140 160 - 179 160 180 ขึ้นไป 180 ขั้นตอนที่ 7 เลือกค่ารอบเอว : หน่วย ซม. น้อยกว่า หรือมากกว่า ส่วนสูงหาร 2 ขั้นตอนที่ 8 ค่า cholesterol กรณีทราบค่า cholesterol ค่า cholesterol (มก./ดล.) เลือกช่อง <160 - 199 160 200 - 239 200 240 - 279 240 280 - 319 280 320 ขึ้นไป 320
  • 18. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 11 ทั้งนี้ โอกาสเสี่ยงอาจสูงกว่าที่ประเมิน ได้ เนื่องจาก ปัจจัยอื่นๆ ได้แก่ 1. รับประทานผัก ผลไม้น้อย 2. ความอ้วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งอ้วนลงพุง 3. วิถีชีวิตนั่งๆนอนๆ 4. ประวัติครอบครัวญาติสายตรง (first degree relative) ได้แก่ พ่อ แม่ พี่หรือน้องท้องเดียวกัน การได้รับการ วินิจฉัย จากแพทย์ว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ (coronary heart disease) หรือโรคหลอดเลือดสมอง (stroke) ก่อนวัยอันควร คือ ก่อนอายุ 55 ปีในชาย และก่อนอายุ 65 ปีในหญิง ซึ่งก�ำลังรับการ รักษาอยู่หรือไม่ก็ได้ 5. ได้รับยาลดความดันโลหิต 6. ระดับไขมัน triglycerides สูง มากกว่า 180 มก./ดล. 7. ระดับ HDL ตํ่ากว่า 40 มก./ดล. ในชาย หรือตํ่ากว่า 50 มก./ดล. ในหญิง 8. มีการเพิ่มขึ้นของ C-reactive protein, fibrinogen, homocysteine, apolipoprotein B,Lp (a), fasting impaired glucose หรือ impaired glucose tolerance 9. มี microalbuminuria (จะเพิ่มโอกาสเสี่ยงใน 5 ปี อีก 5% .ในผู้ที่เป็นเบาหวาน) 10. มีระดับนํ้าตาลในเลือดสะสม (HbA1c) มากกว่า 7% 11. Premature menopause 12. เศรษฐานะตํ่า
  • 19. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง12 แนวทางการจัดบริการหลังการประเมิน เป้าหมายผลลัพธ์การบริการและจัดการตนเองเพื่อ ลดโอกาสเสี่ยง ในการจัดบริการหลังการประเมิน เมื่อประเมินโอกาส เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดแล้ว ได้จัด กลุ่มเสี่ยงเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเสี่ยงปานกลาง หมายถึงผู้ที่ผลประเมินโอกาส เสี่ยงจากตารางสี < 20 % กลุ่มเสี่ยงสูง หมายถึงผู้ที่ผลประเมินโอกาสเสี่ยงจาก ตารางสี 20 - < 30 % กลุ่มเสี่ยงสูงมาก หมายถึงผู้ที่ผลประเมินโอกาสเสี่ยง จากตารางสี > 30% โดยมีเป้าหมายการให้บริการเพื่อเกิดผลลัพธ์รายบุคคล ดังตาราง เป้าหมาย ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ความดันโลหิต (มม.ปรอท) < 140/80 < 140/90 ความดันโลหิตเฉลี่ยที่บ้าน (มม.ปรอท) < 135/75 < 135/85
  • 20. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 13 เป้าหมาย ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ระดับน�้ำตาลในเลือด FPG (มก./ดล.) ตามระดับ ความควบคุม * 70 - 110 (เข้มงวดมาก) 90 - < 130 (เข้มงวด) < 150 (ไม่เข้มงวด) 70 - 99 HbA1c (%) < 7 ไขมันในเลือด High Density Lipoprotein (HDL) (มก./ดล.) > 40 (ชาย) > 50 (หญิง) > 40 (ชาย) > 50 (หญิง) Triglycerides (มก./ดล.) < 150 Total Cholesterol (TC) (มก./ดล.) < 280 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยง ปานกลาง) < 200 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มเสี่ยงสูงมาก) Low Density Lipoprotein (LDL) (มก./ดล.) < 160 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยง ปานกลาง < 100 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยงสูง) < 70 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยงสูงมาก)
  • 21. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง14 เป้าหมาย ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง การสูบบุหรี่ งดสูบและดมควันบุหรี่ น�้ำหนักและรอบเอว ดัชนีมวลกาย 18.5 - 22.9 กก./ม2 หรือ ใกล้เคียง รอบเอว น้อยกว่าส่วนสูง/2 (เซนติเมตร) การออกก�ำลังกาย ** หนักระดับปานกลาง 30 นาทีต่อครั้ง 5 ครั้งต่อสัปดาห์ การบริโภคอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักและผลไม้ แอลกอฮอล์ หยุดดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์*** ในรายที่หยุดดื่มไม่ได้ แนะน�ำให้ลดการดื่ม ลง (ผู้ชาย < 2 หน่วยมาตรฐาน ; ผู้หญิง < 1 หน่วยมาตรฐาน) * ที่มา : แนวทางเวชปฏิบัติส�ำหรับโรคเบาหวาน 2557 ** หนักระดับปานกลาง เช่น เดินเร็วอย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน (หน้า​ 18) *** ที่มา : Evidence-Based Guideline For the Management of High Blood Pressure in Adults Report From The Panel Members Appointed to the Eighth Joint National Committee, 2014 (JNC8)
  • 22. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 15 ขั้นตอนการบริการหลังประเมินในกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง REV 3/Aug/2015 Jureen ขั้นตอนการบริการหลังประเมินในกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง * แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557 แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ.2555 กลุ่มเสี่ยงสูงมาก Risk >30% . ให้ข้อมูลปัจจัยเสี่ยงและอาการเตือนของโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง 2. ประเมินโอกาสเสี่ยงตาม Check Life’s Simple 7 ได้แก่ ค่าความดันโลหิตครั้งสุดท้าย ค่าไขมันในเส้นเลือด ครั้งสุดท้าย ค่าระดับนํ้าตาลในเลือดครั้งสุดท้าย การสูบบุหรี่ นํ้าหนัก/รอบเอว/ดัชนีมวลกาย การออกกําลังกาย (สัปดาห์ละกี่ครั้ง ครั้งละกี่นาที การรับประทานอาหาร (หวาน มัน เค็ม ผัก ผลไม้ เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์) กลุ่มเสี่ยงสูง Risk 20-<30% ลงทะเบียนกลุ่มเสี่ยงสูงมาก .ให้คําปรึกษาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพและการจัดการตนเอง 2. บันทึกในแบบบันทึก น.ค.ร.สุขภาพ หรือในบันทึกรูปแบบอื่น 3. ติดตามประเมินปัจจัยเสี่ยง/การ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - เดือน 4. ให้ยาตามข้อบ่งชี้* 5. ติดตามประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการ เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดทุกปี .ส่งพบแพทย์เพื่อให้คําแนะนํา/ให้ยาตาม ความเหมาะสม 2.บันทึกในแบบบันทึก น.ค.ร.สุขภาพหรือ ในบันทึกรูปแบบอื่น 3.ให้คําปรึกษาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพและการจัดการตนเองอย่างเข้มข้น และรีบด่วน 4. ติดตามประเมินปัจจัยเสี่ยง/การ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - เดือน 5.ให้ยาตามข้อบ่งชี้* 6. ติดตามประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือดทุก - เดือน . ให้คําปรึกษาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพและการจัดการตนเองอย่าง เข้มข้น 2.บันทึกในแบบบันทึก น.ค.ร.สุขภาพ หรือในบันทึกรูปแบบอื่น 3.ติดตามประเมินปัจจัยเสี่ยง/การ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -เดือน 4.ให้ยาตามข้อบ่งชี้* 5. ติดตามประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการ เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดทุก - เดือน ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง กลุ่มเสี่ยงปานกลาง Risk < 20% * แนวทางเวชปฏิบัติส�ำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557 แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง ในเวชปฏิบัติทั่วไปพ.ศ.2555
  • 23. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง16 แบบบันทึก น.ค.ร.สุขภาพ น.นํ้าหนัก ทุกสัปดาห์ (กก.), ค. ค่าความดันโลหิตตัวบน ทุกเดือน (มม.ปรอท), ร.รอบเอว ทุก 3 เดือน (ซม.) ชื่อ............................................................เพศ............ แบบบันทึก น.ค.ร.สุขภาพ น.นํ้าหนัก ทุกสัปดาห์ (กก.), ค. ค่าความดันโลหิตตัวบน ทุกเดือน (มม.ปรอท), ร.รอบเอว ทุก 3 เดือน(ซม.) ชื่อ............................................................เพศ............
  • 24. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 17 ข้อแนะน�ำในการปรับพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกัน การเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง หลังการประเมินโอกาสเสี่ยง การหยุดสูบบุหรี่ หยุดสูบบุหรี่หรือไม่เริ่มสูบ (รวมทั้งยาสูบในรูปแบบอื่น) และไม่สูดดมควันบุหรี่เป็นประจ�ำ ไม่แนะน�ำให้สูบบุหรี่ไฟฟ้า (e-cigarette) เพื่อการหยุดสูบบุหรี่ ในรายที่ให้ค�ำปรึกษาแล้ว ไม่ได้ผลอาจพิจารณาให้ nicotine replacement และ/หรือ ยา nortriptyline หรือ amfebutamone (bupropion) การบริโภคอาหาร 1. ลดอาหารไขมันสูง ลดกินไขมันที่มาจากสัตว์และผลิตภัณฑ์สัตว์ เช่น เนื้อ นม เนย ผู้ป่วยเบาหวานหรือผู้ที่กินยาลดไขมันอยู่ ให้กินไข่ ทั้งฟอง 2 ถึง 3 ฟองต่อสัปดาห์ ลดกินของมัน ของทอด อาหาร เครื่องดื่มที่มีไขมันสูง งดกินเบเกอรี่ เช่น คุ๊กกี้ เค้ก เฟรนช์ฟรายด์ หรือ ของทอดซ�้ำ ซึ่งมีกรดไขมันทรานส์มาก ใช้นํ้ามันมะกอก นํ้ามันร�ำข้าว ถั่วลิสง และ กินไขมันจากปลา ทั้งปลาทะเลและ ปลานํ้าจืด
  • 25. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง18 2. ลดอาหารเค็มหรือมีเกลือโซเดียมสูง ลดกินอาหารที่มีรสเค็มลงครึ่งหนึ่ง และลดเครื่องดื่ม ที่มีรสเค็มลง เช่น เครื่องดื่มผสมเกลือแร่ ไม่เติมนํ้าปลา ซีอิ๊ว เต้าเจี้ยว กะปิ ผงชูรส ของส�ำเร็จรูป ในอาหาร แต่กินแบบ “จิ้ม”แทน กินอาหาร ผลไม้สด แทนอาหาร เครื่องดื่มส�ำเร็จรูป 3. ลดอาหารและเครื่องดื่มที่มีรสหวานหรือนํ้าตาลสูง หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีรสหวาน เช่น นํ้าอัดลม นํ้าหวาน เครื่องดื่มชูก�ำลัง นํ้าผลไม้ ลดกินนํ้าตาล ไม่เกินวันละ 6 ถึง 8 ช้อนชา (หรือ 24 ถึง 32 กรัม) 4. เพิ่มผักสดและผลไม้ที่ไม่หวานจัด รับประทานผักสดมื้อละ 2 ฝ่ามือพูน หรือ ผักสุก มื้อละ 1 ฝ่ามือพูน ผลไม้ไม่หวานจัด 15 ค�ำต่อวัน หรือ รับประทาน ผัก ผลไม้อย่างน้อย ครึ่งกิโลกรัมต่อวัน การออกก�ำลังกาย (กิจกรรมทางกาย) การเคลื่อนไหวร่างกาย ระดับหนักปานกลาง เช่น เดินเร็ว อย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน การเดิน 10,000 ก้าวต่อวัน โดยใช้เครื่องนับก้าว (pedometer) และ มีการเคลื่อนไหว ร่างกายในชีวิตประจ�ำวัน เวลาว่าง หน้าทีวี และการท�ำงาน
  • 26. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 19 กิจกรรมทางกายที่ป้องกันโรค การออกกก�ำลังกาย แบบแอโรบิค (aerobic) จะท�ำให้ หัวใจแข็งแรงและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และควรออกสม�่ำเสมอ มากกว่า 30 นาทีต่อวัน วิธีออกก�ำลังกายเพื่อให้ได้ aerobic มีได้หลายวิธี เช่น การเดิน การวิ่ง การวิ่งบนสายพาน การขึ้นบันได การว่ายน�้ำ การออกก�ำลังกาย water aerobic การขี่จักรยาน การเล่นเทนนิส การเล่นกอล์ฟ การควบคุมนํ้าหนักตัวให้เหมาะสม โดยการลดพลังงานจากอาหารที่รับประทาน ปรับเปลี่ยน วิถีชีวิตการรับประทานอาหาร และเพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกาย ดังนี้ 1. ความตั้งใจ สร้างก�ำลังใจให้ตนเอง มีความตั้งใจที่จะ ไปให้ถึงเป้าหมาย สร้างภาพพจน์ให้ชัดเจนในใจ จินตนาการถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อท�ำส�ำเร็จ 2. ไม่ควรอดอาหาร การอดอาหารเป็นเวลานาน จะท�ำให้ร่างกายเผาผลาญพลังงานน้อยลง และจะกลายเป็น คนอ้วนง่าย วิธีการควบคุมอาหารที่ถูกต้อง คือ รับประทาน อาหารประเภท แป้ง คาร์โบไฮเดรตและโปรตีนในสัดส่วน ที่พอเหมาะ ลดอาหารไขมันสูง รับประทานผักและผลไม้ แทนมาก ๆ
  • 27. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง20 3. หาเวลาออกก�ำลังกาย ควรออกก�ำลังกายทั้งแบบ แอโรบิก เพื่อให้เกิดการเผาผลาญพลังงาน และหัวใจได้สูบฉีด โลหิต ควบคู่ไปกับการออกก�ำลังกาย แบบเพิ่มความแข็งแรง ให้กล้ามเนื้อ จะท�ำให้ร่างกายกระชับได้สัดส่วน อย่างน้อยวันละ 30 นาที 4. งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ น�้ำหวาน น�้ำอัดลม ให้ดื่มน�้ำเปล่า วันละประมาณ 8 แก้ว หรือ ดื่มน�้ำผลไม้ 100% ที่ไม่มีน�้ำตาล 5. อย่ารับประทานอาหารเร็วเกินไป เนื่องจากร่างกาย มีกลไก การรับรู้ความรู้สึกอิ่มจากสารอาหาร โดยเฉพาะน�้ำตาล ที่เข้าสู่กระแสเลือด หากรับประทานเร็วเกินไป กว่าร่างกาย จะตอบสนองว่าอิ่ม ก็ได้รับประทานอาหารมากเกินไปแล้ว เคี้ยว อาหารให้ช้าลง 6. ควรรับประทานอาหารให้อิ่ม ก่อนที่จะท�ำกิจกรรม อย่างอื่น ไม่ควรรับประทานอาหารไป ดูทีวีไป เพราะจะท�ำให้เพลิน และรับประทานอาหารเกินความต้องการของร่างกาย 7. ไม่ควรรับประทานอาหารมื้อดึก งดอาหารว่าง ระหว่างมื้อที่เป็นของขบเคี้ยว เบเกอรี่ หรือของหวาน 8. ชั่งน�้ำหนักทุกสัปดาห์ และวัดรอบเอวทุก 3 เดือน 9. ควบคุมขนาดรอบเอวไม่ให้มากกว่าเกณฑ์ที่เหมาะสม (ส่วนสูงหาร 2) และน�้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
  • 28. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 21 การบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ลดการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ โดยชาย ไม่ควร ดื่มเกิน 2 หน่วยมาตรฐานต่อวัน และหญิง ไม่ควรดื่มเกิน 1 หน่วย มาตรฐานต่อวัน หนึ่งดื่มมาตรฐาน คือ เครื่องดื่มที่มีปริมาณของแอลกอฮอล์ บริสุทธิ์ 10 กรัม โดยใช้ปริมาณที่เท่ากันของแอลกอฮอล์ใน เครื่องดื่มเป็นมาตรฐานการวัด ตัวอย่าง หนึ่งดื่มมาตรฐาน ได้แก่ เบียร์ไม่เกิน 360 ml ไวน์ไม่เกิน 150 ml สุราอื่นไม่เกิน 45 ml
  • 29. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง22 แนวทางการส่งต่อในระบบบริการสุขภาพ บทบาทการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือด ในสถานบริการแต่ละระดับ กิจกรรม ศสม./ รพ.สต. F3 F2 F1 M2 M1 S A 1. รณรงค์สื่อสารสัญญาณ เตือนของโรคหลอดเลือด หัวใจและหลอดเลือดสมอง √ √ √ √ √ √ √ √ 2. ส่งเสริมการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมระดับบุคคล และชุมชน √ √ √ √ √ √ √ √ 3. ประเมินโอกาสเสี่ยงโรค หัวใจและ หลอดเลือดใน ผู้ป่วย DM HT ปีละครั้ง √ √ √ √ √ √ √ √ 4. แจ้งโอกาสเสี่ยงและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามความเสี่ยงเพื่อ ป้องกันการเกิดโรค หลอดเลือดหัวใจและ ห ล อ ด เ ลื อ ด ส ม อ ง (primary prevention) ในรูปแบบต่างๆ ตาม ความเหมาะสม เช่น class group และ รายบุคคล √ √ √ √ √ √ √ √
  • 30. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 23 กิจกรรม ศสม./ รพ.สต. F3 F2 F1 M2 M1 S A 5. ลงทะเบียนผู้ที่มี CVD Risk >30 % ใน 10 ปี ข้างหน้า และติดตามผล การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม √ √ √ √ √ √ √ √ 6. ส่งต่อ ผู้ที่มีอาการโรค หลอดเลือดหัวใจ หรือ หลอดเลือดสมอง เพื่อ การวินิจฉัย √ * * ตามศักยภาพ √ สามารถท�ำได้
  • 31. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง24 ขั้นตอนการส่งต่อผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่สงสัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ 1. ประเมินอาการน�ำที่ส�ำคัญของโรคหลอดเลือดหัวใจ ดังนี้ • กลุ่มอาการเจ็บเค้นอก เช่น อาการเจ็บแน่น หรืออึดอัดบริเวณหน้าอก หรือปวดเมื่อย หัวไหล่หรือปวดกราม หรือจุกบริเวณลิ้นปี่ เป็นมากขณะออกก�ำลัง เป็นนานครั้งละ 2-3 นาที • เหนื่อยง่ายขณะออกแรง เช่น อาการเหนื่อยขณะ ออกก�ำลังที่เกิดขึ้นเฉียบพลันภายใน 1-2 สัปดาห์ หรือ อาการ เหนื่อยขณะออกก�ำลังที่เกิดขึ้นเรื้อรังเกินกว่า 3 สัปดาห์ ขึ้นไป • กลุ่มอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวทั้งชนิดเฉียบพลัน และเรื้อรัง เช่น หายใจหอบ นอนราบไม่ได้แน่นอึดอัด หายใจเข้า ไม่เต็มปอดอาจมีอาการเจ็บเค้นอกร่วมด้วย • อาการเนื่องจากความดันโลหิตเฉียบพลัน เช่น หน้ามืด เวียนศีรษะ เป็นลม ร่วมกับอาการแน่นหน้าอก • อาการหมดสติหรือหัวใจหยุดเต้น 2. แพทย์หรือบุคคลากรทางการแพทย์ประเมินภาวะ เร่งด่วนที่ต้องให้การบ�ำบัดภาวะฉุกเฉิน (หัวใจหยุดเต้น, ความดันโลหิตต�่ำอยู่ในภาวะช็อก และภาวะหัวใจล้มเหลว)
  • 32. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 25 3. ให้การบ�ำบัดภาวะฉุกเฉินตามความจ�ำเป็น 4. สถานบริการสาธารณสุข ชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล โรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็ก ให้ส่งต่อผู้ป่วยที่สงสัยภาวะหัวใจขาดเลือดทุกราย สถานพยาบาล ระดับอื่น ให้การวินิจฉัยและรักษาขึ้นกับระดับของสถานพยาบาล (ศึกษาแนวทางการวินิจฉัย รักษาและส่งต่อ เพิ่มเติม จากแนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือด ในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี 2557 และ Service Plan สาขาโรคหัวใจ)
  • 33. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง26 ขั้นตอนการส่งต่อผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่สงสัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมอง 1. ซักประวัติถึงอาการเตือนที่ส�ำคัญอยางใดอยางหนึ่ง หรือมากกวา 1 ใน 5 อย่างตอไปนี้ • การออนแรงของกลามเนื้อ เชน มีอาการชาหรือ ออนแรงแขนขาหรือใบหนา สวนใหญมักเปนที่รางกายเพียง ซีกใดซีกหนึ่ง • การมองเห็นผิดปกติ เชน ตามัว มองเห็นภาพซอน หรือตาขางใดขางหนึ่งมองไมเห็นทันที • การพูดผิดปกติ เชน พูดล�ำบาก พูดตะกุกตะกัก หรือพูดไมไดหรือไมเขาใจค�ำพูด • มีอาการปวดศีรษะอยางรุนแรงทันที โดยไมมี สาเหตุชัดเจน • เวียนศีรษะ มีอาการมึนงง บานหมุน หรือเดินเซ เสียการทรงตัว 2. ประเมินอาการและซักประวัติเพิ่มเติม ดังนี้ ระยะ เวลาที่เริ่มเปน การตรวจรางกาย สัญญาณชีพ และความผิดปกติ ทางระบบประสาท 3. สงต่อผู้ป่วยไปสถานบริการที่มีศักยภาพสูงกว่าตาม ระบบเครือข่ายโรคหลอดเลือดสมองของจังหวัด
  • 34. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 27 (ศึกษาแนวทางการวินิจฉัย รักษาและส่งต่อ เพิ่มเติม จากแนวทางการพยาบาล ผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมอง ส�ำหรับ พยาบาลทั่วไป พ.ศ. 2250 แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือด สมองตีบหรืออุตัน ส�ำหรับแพทย์ พ.ศ. 2250 และ Service Plan สาขาโรคหลอดเลือดสมอง)
  • 35. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง28 เอกสารอ้างอิง • รายงานผลการด�ำเนินงานการประเมินผลการดูแลผู้ป่วย โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูง ของโรงพยาบาล ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และโรงพยาบาลในสังกัด กรุงเทพมหานคร ประจ�ำปี 2555. เครือข่ายวิจัยกลุ่ม สถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย. สืบค้นข้อมูลจาก www.thaimedresnet.org เข้าถึงเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2558 • รายงานผลการด�ำเนินงานการประเมินผลการดูแลผู้ป่วย โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูง ของโรงพยาบาล ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และสถานพยาบาลในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร ประจ�ำปี 2557. เครือข่ายวิจัยกลุ่ม สถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย. สืบค้นข้อมูลจาก www.thaimedresnet.org เข้าถึงเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2558 • แบบประเมินต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ในระยะ เวลา 10 ปี • แนวทางเวชปฏิบัติส�ำหรับโรคเบาหวาน 2557. โดยสมาคม โรคเบาหวานแห่งประเทศไทย สมาคมต่อมไร้ท่อแห่งประเทศไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขและส�ำนักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. มิถุนายน 2557 • แนวทางการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและ หลอดเลือด.โดยส�ำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรคกระทรวง สาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่ 3. ธันวาคม 2557
  • 36. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 29 • แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือด ในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี 2557. โดยสมาคมแพทย์ โรคหัวใจแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคม โรคหลอดเลือดแดงแห่งประเทศไทย สมาคมศัลยแพทย์ ทรวงอกแห่งประเทศไทย ชมรมคลื่นสะท้อนเสียงหัวใจ แห่งประเทศไทย ชมรมช่างไฟฟ้าหัวใจแห่งประเทศไทย ชมรมคาร์ดิแอคอิมเมจจิงแห่งประเทศไทย ชมรมมัณฑนากร หลอดเลือดหัวใจแห่งประเทศไทย (2551) ราชวิทยาลัย อายุรแพทย์แห่งประเทศไทยแพทยสภากระทรวงสาธารณสุข. สืบค้นข้อมูลจาก http://www.thaiheart.org/ เข้าถึง เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2558 • แนวทางการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองส�ำหรับ พยาบาลทั่วไป 2550. โดยสถาบันประสาทวิทยา ชมรม พยาบาลโรคระบบประสาทแห่งประเทศไทย. สืบค้นข้อมูล จาก http://pni.go.th/cpg/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2558
  • 37. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง30 คณะท�ำงานเพื่อพัฒนาแนวทางการประเมินโอกาสเสี่ยง ต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด นายแพทย์สมเกียรติ โพธิสัตย์ ประธานคณะกรรมการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพ (Service plan) สาขาโรคไม่ติดต่อ แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค นายแพทย์เกรียงไกร เฮงรัศมี นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ สถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์ นายแพทย์สมชาย โตวณบุตร นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ นายแพทย์สุชาติ หาญไชยพิบูลย์กุล นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ ผศ.นพ.สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์ อาจารย์ประจ�ำ สาขาวิชาโรคหัวใจและหลอดเลือด ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศ.นพ.พีระ บูรณะกิจเจริญ นายกสมาคมโรคความดัน โลหิตสูงแห่งประเทศไทย
  • 38. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 31 ศ.นพ.ชัชลิต รัตรสาร กรรมการ สมาคมโรคเบาหวาน แห่งประเทศไทย พลตรี นพ.ชุมพล เปี่ยมสมบูรณ์ นายกสมาคมโรคหัวใจแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พอ.รศ.นพ.สามารถ นิธินันทน์ นายกสมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทย นางกนกพร แจ่มสมบูรณ์ รองผู้อ�ำนวยการกลุ่มภารกิจบริการวิชาการ สถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์ แพทย์หญิงสุมนี วัชรสินธุ์ นายแพทย์ช�ำนาญการพิเศษ ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค นางนิตยา พันธุเวทย์ นักวิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการ ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค นางณัฐธิวรรณ พันธ์มุง นักวิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการ ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค นางสาวธิดารัตน์ อภิญญา นักวิชาการสาธารณสุข ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค นางสาวณัฐสุดา แสงสุวรรณโต นักวิชาการสาธารณสุข ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
  • 39. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง32 คณะนักวิจัยจากสหสถาบันอุดมศึกษา นายแพทย์ปริญญ์ วาทีสาธกกิจ อายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจ และหลอดเลือด คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ศ.นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจ และหลอดเลือด คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
  • 40. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 33 .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. NOTE