SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
53

คูมือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องตน
เรื่อง
โรคผื่นแพสัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวดลอม

กลุมงานผื่นแพสัมผัสและอาชีวเวชศาสตร
กลุมภารกิจวิชาการ ศูนยโรคผิวหนังเขตรอนภาคใต จังหวัดตรัง
สถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข
51

คูมือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องตน
เรื่อง
โรคผื่นแพสัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวดลอม

กลุมงานผื่นแพสัมผัสและอาชีวเวชศาสตร
กลุมภารกิจวิชาการ ศูนยโรคผิวหนังเขตรอนภาคใต จังหวัดตรัง
สถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข
47

คํานํา
คูมือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องตนเรื่อง “โรคผื่นแพสัมผัสจาก
งานอาชีพและสิ่งแวดลอม” รวบรวมและเรียบเรียงเนื้อหาวิชาการ โดยมี
วัตถุ ประสงคเพื่อปรารถนาใหประชาชนคนไทยได รับความรูและการ
ปฏิบัติตน ตระหนักในความสําคัญของประโยชนการปองกันและสงเสริม
การดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกตอง ซึ่งพฤติกรรมสุขภาพที่ดีจะชวยสงเสริม
ใหสุขภาพดี ชวยลดปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรคหรือความเจ็บปวยดวยโรค
ผื่นแพสัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวดลอมที่มีผลกระทบในการดําเนิน
ชีวิตประจําวันได เพื่อธํารงไวซึ่งสุขภาพที่ดีทั้งรางกายและจิตใจ
การเรียบเรียงคูมือนี้รวบรวมจากเอกสารวิชาการดานตางๆ และ
จากประสบการณของผูเชี่ยวชาญดานโรคผิวหนัง ซึ่งตางก็มีปณิธาน
มุงมั่นใหประชาชนคนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีตลอดไป จึงขอขอบคุณผูเปน
เจาของบทความที่ปรากฏในคูมือนี้ การจัดทําอาจจะมีขอบกพรองบาง
จึงขออภัยมา ณ โอกาสนี้ ทางกลุมงานผื่นแพสัมผัสและอาชีวเวชศาสตร
ยินดีรับขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงในการจัดทําครั้งตอไป
กลุมงานผื่นแพสัมผัสและอาชีวเวชศาสตร กลุมภารกิจวิชาการ
ศูนยโรคผิวหนังเขตรอนภาคใต จังหวัดตรัง
(ก)
48

สารบัญ
หนา
คํานํา......................................................................................................(ก)
สารบัญ ..................................................................................................(ข)
บทนํา .......................................................................................................1
ผื่นแพสัมผัสคืออะไร ...............................................................................2
ชนิดของผื่นแพสัมผัส .........................................................................2
สาเหตุของผื่นแพสัมผัส ......................................................................3
อาการ..................................................................................................4
ปจจัยที่สงเสริมการเกิดผื่นแพสัมผัส ...................................................4
การคนหาสาเหตุ .................................................................................5
การรักษาและการปองกัน ....................................................................7
ผื่นแพสัมผัสปูนซีเมนต ............................................................................8
สาเหตุ .................................................................................................8
อาการ..................................................................................................8
การดูแลตนเองเบื้องตน .......................................................................9
ผื่นแพสัมผัสจากยาทาภายนอก.................................................................9
สาเหตุ ...............................................................................................10
อาการ................................................................................................10
(ข)
49

สารบัญ (ตอ)
หนา
การดูแลตนเองเบื้องตน .....................................................................10
ผื่นแพสัมผัสดางทับทิม ..........................................................................11
ขอควรระวังในการใชดางทับทิม.......................................................14
ผื่นแพสัมผัสรองเทา ...............................................................................15
สาเหตุ ...............................................................................................16
อาการ................................................................................................17
การดูแลตนเองเบื้องตน .....................................................................18
ผื่นแพสัมผัสโลหะ .................................................................................20
ปจจัยที่สงเสริมใหเกิดผื่นแพสัมผัสโลหะ .........................................21
อาการ................................................................................................22
การดูแลตนเองเบื้องตน .....................................................................23
คําแนะนําสําหรับผูที่แพนิกเกิล ....................................................23
คําแนะนําสําหรับผูที่แพโครเมียม ................................................27
คําแนะนําสําหรับผูที่แพโคบอลต ................................................28
ผื่นแพสัมผัสแมลงดวงกนกระดก...........................................................29
การไดรับพิษ .....................................................................................31
อันตรายจากการสัมผัสสารพีเดริน.....................................................31
(ค)
50

สารบัญ (ตอ)
หนา
การปองกันและการควบคุม...............................................................33
การดูแลตนเองเบื้องตน .....................................................................33
ผื่นแพสัมผัสเครื่องสําอาง.......................................................................34
ผลขางเคียงจากการใชเครื่องสําอาง ...................................................35
เครื่องสําอางที่ทําใหเกิดผื่นสัมผัส .....................................................36
การดูแลตนเองเบื้องตน .....................................................................40
บรรณานุกรม..........................................................................................43
คณะผูจัดทํา ............................................................................................46

(ง)
1

บทนํา
ในการประกอบอาชีพทั้งดานอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมนั้น
ไดมีการใชสารเคมีมากมายในกิจกรรมตางๆ ผิวหนังเปนอวัยวะแรกที่
สัมผัสกับสารเหลานั้นโดยตรง ซึ่งมีผลทําใหเกิดปญหาผื่นผิวหนังอักเสบ
ขึ้ น ได นอกจากนี้ แ ล ว การสั ม ผั ส สารต า งๆ ในชี วิ ต ประจํ า วั น และ
สิ่งแวดลอมก็อาจกอปญหาตอผิวหนังไดเชนกัน การสรางสุขภาพนับได
วามีความสําคัญและเปนหัวใจในการพัฒนาระบบสุขภาพใหมีความยั่งยืน
โดยที่การสรางสุขภาพผิวหนัง มุงเนนการควบคุมปจจัยเสี่ยงและสงเสริม
ปจจัยเสริมพื้นฐานที่กําหนดการมีสุขภาพที่เหมาะสม สภาพปญหา
ผื่ น แพ สั ม ผั ส ที่ สั ม พั น ธ กั บ ป จ จั ย เสี่ ย งนั้ น ส ว นใหญ เ กิ ด จากสาเหตุ ที่
ประชาชนขาดความรู ความเขาใจ มีทัศนคติไมถูกตอง ขาดความรวมมือ
ในการหาแนวทางแกปญหารวมกัน รวมทั้งการรณรงคการดูแลสุขภาพ
ผิวหนังสวนบุคคล ครัวเรือนและชุมชน ยังไมครอบคลุมและตอเนื่อง
กลุ ม งานผื่ น แพ สั ม ผั ส และอาชี ว เวชศาสตร ศูน ย โ รคผิ ว หนั ง เขตร อ น
ภาคใต จังหวัดตรัง จัดทําคูมือเลมนี้ขึ้น เพื่อถายทอดองคความรูสุขภาพ
ผิวหนังสูประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง เพื่อพัฒนาสุขภาพใหคน
ไทยแข็งแรงสูเมืองไทยแข็งแรง
2

ผื่นแพสัมผัสคืออะไร
เปนโรคผิวหนังชนิดหนึ่ง เกิดจากการสัมผัสสารภายนอก
ซึ่งเปนสารระคายเคือง หรือสารที่ทําใหเกิดการแพ

ชนิดของผื่นแพสัมผัส
1. ผื่นระคายสัมผัส (Irritant contact dermatitis) หมายถึงผื่น
สัมผัสซึ่งเกิดจากการระคายตอคุณสมบัติทางกายภาพของสารนั้นๆ
2. ผื่นแพสัมผัส (Allergic contact dermatitis) หมายถึงผื่นสัมผัส
ซึ่งเกิดขึ้นจากปฏิกิริยาของรางกายที่ตอบสนองตอสิ่งกระตุน โดยใชเวลา
ระยะหนึ่งหลังจากสัมผัสสิ่งกระตุน
3. ผื่นสัมผัสจากพิษของสารรวมกับแสง (Phototoxic contact
dermatitis) หมายถึง ผื่นสัมผัสซึ่งเกิดจากการสัมผัสกับสารที่ถูกเปลี่ยน
คุณสมบัติโดยแสงใหกลายเปนสารที่ทําใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนัง
4. ผื่นสัมผัสเนื่องจากการแพสารรวมกับแสง (Photoallergic
contact dermatitis) หมายถึง ผื่นสัมผัสซึ่งเกิดจากการสัมผัสกับสารที่ถูก
เปลี่ยนคุณสมบัติโดยแสงใหกลายเปนสารกอภูมิแพ โดยสารดังกลาวจะ
กระตุนใหรางกายตอบสนองโดยใชเวลาระยะหนึ่ง
3
5. ลมพิษจากสารสัมผัส (Contact urticaria) หมายถึง การสัมผัส
กับสารซึ่งรางกายมีการสรางสารภูมิแพที่เรียกกันวา “ฮีสตามีน” ทําให
หลอดเลือดขยายตัวเกิดเปนผื่นนูนแดงตามผิวหนัง

สาเหตุของผื่นแพสัมผัส
การเกิดผื่น อาจเปนผลมาจากขอใดขอหนึ่ง ดังนี้
1. การระคายเคืองตอผิวหนัง เนื่องจากการที่ผิวหนังสัมผัสกับ
สารระคายเคืองโดยคุณสมบัติทางกายภาพของสารนั้น เชน ความเปนกรด
ดาง ซึ่งมีฤทธิ์ทําลายเซลลในชั้นหนังกําพราโดยตรง เชน ฤทธิ์ละลาย
ไขมัน ฤทธิ์ทําใหโปรตีนแข็งตัว ทําใหผิวหนังเกิดการอักเสบ เชน กรด
ดาง สบู ผงซักฟอก ตัวทําละลาย เปนตน
2. การที่ผิวหนังสัมผัสกับสารกอภูมิแพ โดยที่เคยสัมผัสถูกสารกอ
ภูมิแพมาอยางนอย 1 ครั้ง แลวรางกายถูกกระตุนใหสรางภูมิคุมกันขึ้นมา
เมื่อสัมผัสซ้ําอีกครั้งทําใหเกิดอาการแพ การสัมผัสครั้งแรกกับครั้งหลัง
อาจหางกันเปนวัน เปนเดือน หรือเปนปก็ได สารที่กอใหเกิดการแพไดงาย
เชน โลหะ (นิกเกิล โครเมียม โคบอลต) ยาทาเฉพาะที่ เครื่องสําอาง
สารเคมี เครื่องแตงกาย เปนตน
4

อาการ
อาการทางผิวหนังอาจแสดงไดหลายรูปแบบตามสาเหตุที่เกิดขึ้น
เชน จากการระคายเคือง การแพ และมีปจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เปนตน

ปจจัยที่สงเสริมการเกิดผื่นแพสัมผัส
1. ผูที่แพงาย เชน มีประวัติเปนโรคภูมิแพจําพวกโรคหอบหืด
จมูกอักเสบเนื่องจากการแพ เปนตน
2. สารที่กระตุนใหเกิดอาการแพไดงาย สวนใหญมักพบสารที่มี
ความเขมขนสูง และสารที่ซึมผานผิวหนังไดมากหรือสัมผัสสารเหลานั้น
ติดตอกันเปนเวลานาน
3. สิ่งแวดลอม อาชีพ ตําแหนงที่สัมผัส เมื่อเปยกชื้นบอยๆ เชน
ที่มือ สารจะซึมผานรวดเร็ว ก็มีโอกาสเกิดผื่นไดงาย
อาการที่พบ มีลักษณะเปนผื่นแดง หรือตุมน้ําใสเล็กๆ คัน ซึ่งจะ
ขึ้นเฉพาะบริเวณที่สัมผัสถูกสิ่งที่แพ บางรายอาจเปนตุมน้ําพองใหญ เมื่อ
แตกออกเปนน้ําเหลืองไหลและมีสะเก็ดเกรอะกรัง เมื่ออาการทุเลาผิวหนัง
บริเวณนั้นอาจแหงเปนขุยหรือหนาตัวขึ้นชั่วคราว บางคนผิวหนังอาจคล้ํา
ลงหรือเปนรอยดางขาวชั่วคราวและเมื่อเกาทําใหมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
แทรกซอนไดงาย เชน เปนตุมหนอง แผลพุพอง น้ําเหลืองไหล เปนตน
5

การคนหาสาเหตุ
แพทยจะซักประวัติและตรวจรางกาย บางครั้งสังเกตจากลักษณะ
อาการแสดงของผื่นบริเวณรอยโรค และตําแหนงที่เปน รวมทั้งประวัติ
จากอาชีพและสิ่งแวดลอมที่ผูปวยสัมผัส ก็สามารถบอกที่มาของการเกิด
โรคผื่นแพสัมผัสได หากคนหาสาเหตุอยางละเอียดจะตองทําการทดสอบ
ภูมิแพผิวหนังโดยวิธีปดสารทดสอบบนผิวหนัง (Patch test) ซึ่งตอง
ปฏิบัติดังนี้
1. กรณี ที่ ผู ป ว ยใช ย ากลุ ม แก แ พ แ ก ห วั ด แก คั น ฮอร โ มนและ
สเตียรอยด ควรหยุดใชยาอยางนอย 2 สัปดาห กอนมาทําการทดสอบ
ภูมิแพผิวหนัง
2. ผูปวยที่มีประวัติ การแพยา อาหาร สารเคมี และโรคภูมิแพ
หรือโรคประจําตัวควรแจงใหแพทยทราบ รวมทั้งนําสารหรือผลิตภัณฑที่
สงสัยวาแพพรอมชื่อและรายละเอียดเกี่ยวกับสารมาในวันที่แพทยนัดทํา
ทดสอบดวย
3. การทําทดสอบตองปดแผนที่ใสสารทดสอบไวที่หลังผูปวย
แพทยจะนัดมาอานผล 2 ครั้ง (ครั้งที่ 1 ครบ 48 ชั่วโมง ครั้งที่ 2 ครบ 96
ชั่วโมง ตองมาพบแพทยเพื่ออานผลการทดสอบตามนัดทุกครั้ง) และตอง
ดูแลมิใหบริเวณที่ทดสอบ (ที่หลัง) เปยกน้ํา หลีกเลี่ยงภาวะที่ทําใหเหงื่อ
ออกมาก เชน เลนกีฬา ออกกําลังกาย หรือถูกแสงแดดนานๆ เพราะเหงื่อ
6
และไขมันทําใหแผนทดสอบหลุดลอกและสารที่ทําการทดสอบเคลื่อน
ตําแหนงได
ขั้ น ตอนการทดสอบภู มิ แ พ
ผิวหนังดวยวิธีปดสารทดสอบ
บนผิวหนัง

ขั้นที่ 1 หยดสารใสแผนทดสอบ

ขั้นที่ 2 ปดแผนทดสอบที่หลัง

ขั้นที่ 3 ทิ้งไว 48 ชั่วโมง
7

การรักษาและการปองกัน
หลักการดูแลรักษาและปองกันโรคผื่นแพสัมผัส มีดังนี้
1. คนหาสาเหตุที่แพ หลีกเลี่ยงสารกอการระคายเคืองและสารกอ
ภูมิแพเปนสิ่งที่สําคัญที่สุด ในการดูแลรักษาโรคผื่นแพสัมผัสโดยสังเกต
จาก
ตําแหนงที่เปน เชน ที่ศีรษะ อาจเกิดจากการแพยายอมผม
แชมพูสระผม น้ํามันใสผม ที่ใบหู แพตุมหู ที่ใบหนา อาจเกิดจากการแพ
เครื่องสําอาง ที่คอ อาจเกิดจากการแพน้ําหอม สรอยคอ ที่ลําตัว อาจเกิด
จากการแพเสื้อผา สบู ที่ขาและเทา อาจเกิดจากการแพถุงเทา รองเทา ที่มือ
และเทา อาจเกิดจากการแพผงซักฟอก ปูนซีเมนต เปนตน
อาชี พ และงานอดิ เ รก เช น คนขั บ รถ
มี โ อกาสแพ
น้ํามันเครื่อง แมบาน มีโอกาสแพผงซักฟอก น้ํายาลางจาน ชางปูน
มีโอกาสแพปูนซีเมนต เปนตน
2. การใชสารทดแทนสารที่แพ ซึ่งสามารถหลีกเลี่ยงได เชน แพ
โลหะนิกเกิลในเครื่องประดับก็สามารถจะใชทองแทนได
3. ควรพบแพทยเพื่อรับการรักษาอาการทางผิวหนัง
การตรวจเพื่อหาสาเหตุโดยการทดสอบภูมิแพผิวหนังดวยวิธีปด
สารทดสอบบนผิวหนัง (Patch test) หรือวิธีสะกิดผิวหนัง (Prick test)
8

ผื่นแพสัมผัสปูนซีเมนต
ปูนซีเมนต เปนตัวที่กอภูมิแพที่พบบอยที่สุ ด ในอาชีพกอสราง
โดยมีโครเมียมเปนสาเหตุ โดยเฉพาะชางปูน ชางกอสราง คนงานโรง
ปูนซี เมนต
ถึงแมป จจุบั นมี การนําเครื่องมือผสมปูน ซีเมนตและมี
ปู น ซี เ มนต สํ า เร็ จ รู ป วางขาย ทํ า ให ก ารสั ม ผั ส กั บ ปู น ซี เ มนต มี ก ารแพ
โครเมียมถึงรอยละ 75-95 และอาจเกิดอาการหลังจากสัมผัสปูนซีเมนต
มาแลวเปนเวลานาน

สาเหตุ
จากสารไดโครเมต (สารประกอบโครเมียม) ซึ่งเปนสวนผสมของ
ปูนซีเมนต มีฤทธิ์เปนดางกอใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง เมื่อผสมกับ
กรวดทราย เม็ดเล็กๆ ทําใหบาดผิวไดงาย

อาการ
มีผื่นแดงที่นิ้วมือ ฝามือ ขอ
พั บ แขน ขา ผื่ น มั ก แห ง มี
สะเก็ดแตกเปนรองบางครั้งมี
น้ําเหลืองและหนองหรือเปน
ผื่นหนาเรื้อรัง
9

การดูแลตนเองเบื้องตน
ปฏิบัติดังนี้
หลีกเลี่ยงและปองกันการสัมผัสโดยตรงกับปูนซีเมนตจะ
ชวยทําใหผื่นดีขึ้น
ไม จํ า เป น ต อ งเปลี่ ย นงานขณะปฏิ บั ติ ง านอาจจะใช ถุ ง มื อ
สวมใส เ สื้ อ ผ า แขนยาว ขายาว หรื อ ใช พ ลาสติ ก คลุ ม ร า งกาย เมื่ อ เลิ ก
ปฏิบัติงานควรอาบน้ําชําระรางกายทันที
ในกรณีแพเรื้อรัง ควรพบแพทยผิวหนังเพื่อทําการทดสอบ
ภูมิแพผิวหนัง เมื่อทราบสาเหตุแลว ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารนั้นๆ

ผื่นแพสัมผัสจากยาทาภายนอก
ยาทาภายนอกมีรูปแบบตางๆ กัน เชน ครีม เจล โลชั่น แปงน้ํา
เปนตน ยาทาภายนอกสวนใหญประกอบดวยสารออกฤทธิ์ หรือตัวยา
ตัวกระสายยาและวัตถุกันเสีย สารดังกลาวนี้เมื่อใชเปนเวลานานก็อาจจะ
กระตุนใหรางกายตอบสนองในลักษณะการเกิดภูมิแพสัมผัสได
10
ยาใดบางที่ทําใหเกิดผื่นแพสัมผัส
กลุมยาตานจุลชีพ ยาฆาเชื้อ เชน นีโอมัยซินฯ
กลุมยาตานฮีสตามีน
กลุมยาชา
กลุมยาทา : คอรติโคสเตียรอยด
กลุมสารปรุงแตง : วัตถุกันเสีย น้ําหอม

สาเหตุ
สวนใหญเกิดจากปฏิกิริยาของรางกายที่ตอบสนองตอสิ่งกระตุน

อาการ
ลั ก ษณะเป น ผื่ น แดง คั น บริ เ วณที่ สั ม ผั ส กั บ ยากรณี เ ป น นานๆ
มีโอกาสกลายเปนผื่นคล้ําหนาและคัน

ผื่นแพยา
11

การดูแลตนเองเบื้องตน
ปฏิบัติดังนี้
หยุดใชยาทาที่สงสัยวาจะแพ
พบแพทยเพื่อทดสอบยืนยันวาแพยาชนิดใดบาง
แจงชื่อยาที่แพกับแพทยหรือสถานพยาบาลทุกครั้งที่เขารับ
การรักษา
เมื่อเจ็บปวยไมควรซื้อยามาใชเอง ควรไปตรวจรักษาจาก
แพทยและไมควรนํายาของตนเองไปใหผูอื่นใช

ผื่นแพสัมผัสดางทับทิม
ในยุคที่พอบานแมบานตองฝาฟนกับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจเชนนี้
จําเปนอยางยิ่งที่จะตองปรับเปลี่ย นแนวทางการดําเนินชีวิตใหมีคุณค า
ตองประหยัดมากยิ่งขึ้น ครอบครัวยุคใหมจึงตองหันกลับมาดูแลสุขภาพ
ใหทุกคนในครอบครัว เมื่อบุคคลในครอบครัวเจ็บปวย โดยเฉพาะมีแผล
เรื้อรัง ที่ตองใหการดูแลตนเองที่บาน หลักการดูแลแผลที่ทุกคนรูจักกันดี
คื อ การป อ งกั น และการกํ า จั ด การติ ด เชื้ อ ไม ว า จะเป น ประชาชนหรื อ
บุคลากรทางการแพทยสวนใหญมักใหความสําคัญกับยาฆาเชื้อโรคและยา
ปฏิชีวนะ ความรูและการปฏิบัติเกี่ยวกับบาดแผล มักถูกจํากัดและแบงแยก
12
ออกไปตามรูปแบบของการรักษา ความเชื่อและความเคยชินของบุคลากร
ในแตละสาขาหรือแตละสถาบัน โดยไมไดคํานึงถึงความรูพื้นฐานในการ
ดูแลบาดแผลที่เหมาะสมกับสภาพของผูปวยอยางแทจริง
ป จ จุ บั น มี ส ารเคมี ม ากมายที่ นํ า มาใช ใ นวงการแพทย แ ละ
การดําเนินชีวิตประจําวัน ผิวหนังเปนอวัยวะแรกที่สัมผัสกับสารเหลานี้
หากขาดความรูและความเขาใจถึงวิธีการใชสารเคมีอยางถูกตอง อาจ
กอใหเกิดการระคายเคืองและทําลายผิวหนังบริเวณที่สัมผัสอยางรุนแรง
ได ความรุนแรงของการระคายเคืองผิวหนังจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับ
คุณสมบัติ ปริมาณความเขมขนของสารกอระคายและลักษณะของผิวหนัง
ที่สัมผัสกับสาร รวมทั้งระยะเวลาของการสัมผัสกับสารนั้นๆ
ดางทับทิมเปนสารเคมีชนิดหนึ่งที่สามารถกอระคายเคืองผิวหนัง
มีชื่อทางเคมีวา โปตัสเซียมเปอรมังกาเนต (KMnO4) เปนสารประกอบ
ชนิดหนึ่ง ลักษณะเปนเกร็ดสีมวงเขมเปนเงาเหมือนโลหะปราศจากกลิ่น
จัดเปนตัวออกซิไดซที่สําคัญ เมื่อละลายน้ําจะไดสารละลายดางทับทิม
สีมวงหรือชมพูอมมวง ซึ่งใชประโยชนไดมากมายมีประสิทธิภาพตางๆ
ดังนี้
ใชในการกําจัดปรสิตภายนอกในบอปูน หรือบอดินที่น้ําใส
ใชในอัตรา 2 - 4 พีพีเอ็ม. (สวนในลานสวน) แชตลอด
13
ใชฆาเชื้ออุปกรณ ที่ใชในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เชน กระชอน
สายยาง ใชในอัตรา 20-25 พีพีเอ็ม. (สวนในลานสวน) แชนาน 24 ชั่วโมง
ใชในการกําจัดปรสิต เชื้อรา และแบคทีเรียในอาหารสัตวน้ํา
มีชีวิต เชน ลูกไร ลูกน้ํา โดยการแชในสารละลายดางทับทิมเขมขน 100150 พีพีเอ็ม. (สวนในลานสวน) นาน 3-5 นาที
ใช ล ดปริ ม าณแพลงตอนสารอิ น ทรี ย ใ นน้ํ า ปริ ม าณการใช
ขึ้นอยูกับความเขมสีน้ํา น้ําสีเขมมากใชปริมาณที่สูงขึ้น
ใชลดความเปนพิษของกาซไฮโดรเจนซัลไฟด (กาซไขเนา)
ใชทํายาดับกลิ่น และใชลางสารพิษจากผักตางๆ
ใชในวงการแพทยซึ่ งนํามาใชชะลางแผล แชแผลที่เรื้อรั ง
หรือแผลที่เนาเปอยมีกลิ่นเหม็นซึ่งสารละลายดางทับทิมมีฤทธิ์ทําลายเชื้อ
โรคและดับกลิ่นได ความเขมขนที่เหมาะสมในการชะลางแผล แชแผล
ใชอัตราสวนดางทับทิม (KMnO4 1 : 10,000) ซึ่งสามารถจัดเตรียมได
งายๆ โดยใชเกร็ดดางทับทิมเล็กนอย (1-2 เกร็ด) คอยๆ เติมน้ําสะอาด
ผสมใหเกร็ดดางทับทิมละลายใหหมด จนเปนสีชมพูออนจางๆ จึง
นํามาใชชะลางแผลหรือแชแผลไมควรใชสารละลายดางทับทิมเขมขน คือ
สีมวงเขมชะลางแผลหรือแชแผล เพราะมีฤทธิ์ระคายเคืองตอผิวหนังทําให
มีอาการแสบรอนเปนแผลพุพอง เกิดรอยไหมหรือแผลอยางรวดเร็วเมื่อ
ถูกสัมผัส ซึ่งไดรับผลเสียมากกวาผลดี
14

ผื่นแพสัมผัสดางทับทิม

เป น อุ ท าหรณ ใ ห ผู ใ ช
สารละลาย ดางทับทิมเพิ่มความ
สนใจและระมัดระวังใหมากกวา
เดิ ม เพื่ อ ป อ งกั น อั น ตรายต อ
ผิ ว หนั ง ที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น โดยไม
ตั้งใจ

ขอควรระวังในการใชดางทับทิม
ศึ ก ษาปริ ม าณความเข ม ข น ที่ เ หมาะสมกั บ การนํ า ไปใช
ประโยชนในแตละงานใหเขาใจกอนนําไปใชเสมอ
ควรผสมสารละลายดางทับทิมกอนใชทุกครั้ง ไมควรผสม
ทิ้งไวคางคืน เพราะความเขมขนของน้ํายาเปลี่ยนแปลงไดและระมัดระวัง
ในการผสม ใหเกร็ดดางทับทิมละลายน้ําจนหมด
สารละลายดางทับทิมทําใหผิวหนัง เล็บ เปนสีน้ําตาล ดังนั้น
ไมควรใชบริเวณใบหนา กรณีติดเสื้อผาใหใชไฮโดรเจนเปอรออกไซดลาง
ออก
15
เกร็ดดางทับทิมไมควรถูกผิวหนังผูใชโดยตรง กรณีสัมผัสเกิด
ระคายเคืองใหรีบลางน้ําทันที กรณีมีอาการรุนแรงควรพบแพทยเพื่อรับ
การรักษา
ไมควรใชดางทับทิมรวมกับฟอรมาลิน ควรเก็บดางทับทิมใน
สถานที่ ที่ไมถูกแสงและเก็บใหพนมือเด็ก

ผื่นแพสัมผัสรองเทา
ผื่ น แพ สั ม ผั ส รองเท า เกิ ด ได กั บ ทุ ก เพศทุ ก วั ย และทุ ก อาชี พ
มีรายงานพบบอยพอสมควร ทั้งนี้เพราะอากาศรอนอบอาวมีสวนที่ทําให
เหงื่อออกมากและเหงื่อจะเปนตัวละลายสารกอภูมิแพจากรองเทาซึ่งจะทํา
ใหการแพรองเทาเกิดงายขึ้น
ปจจัยที่สงเสริมใหเกิดผื่นสัมผัสจากรองเทา
1. ความคับ การเสียดสีของรองเทากับเทา
2. เหงื่อและความชื้นภายในรองเทา
3. คุณภาพของรองเทา เชน การหลุดสารเคมีออกมาจากหนัง
คุณภาพไมดี ทําใหสวมใสรองเทาแลวมีอาการคัน
16

สาเหตุ
ผื่นแพสัมผัสรองเทาเกิดจากการแพมากกวาเกิดจากการระคาย
ซึ่งเกิดไดหลายสาเหตุดังนี้
แพหนังรองเทา สารกอภูมิแพในหนัง คือ สารที่ใชฟอกหนัง
ทําใหหนังแข็ง เชน โครเมียม (โครเมต) ฟอรมาลดีไฮด (ใชในการฟอก
หนังสีขาว) ครูตารแอลดีไฮด (ใชฟอกหนังทําใหรองเทาทนทาน) หรือสีที่
ใชยอมหนังก็มีรายงานการแพ เชน พาราฟนิลีนไดอะมีน พีอะมิโนเบนซีน
เปนตน
แพยางและยางสังเคราะห ปจจุบันยางที่ใชในการทํารองเทามี
มากขึ้นเนื่องจากความทนทานและไมเปยกน้ํา สารที่พบทําใหเกิดการแพ
มาก คือ สารที่ใชเปนตัวเรงในการผลิตยางที่พบบอยที่สุด คือ เมอรแคปโทเบนโซไธอะโซล, โมโนเบนซิล, อีเธอรของไฮโดรควิโนน และ
ไธยูแรม เปนตน
พลาสติกและกาว พลาสติกใชกันมากขึ้น เพื่อทดแทนยางและ
หนังในการทํารองเทา พลาสติกใชทําตัวรองเทา สวนกาวใชยึดรองเทา
ใหติดแนน สารที่ทําใหเกิดการแพ คือ บีสฟนอลเอ, โพลียูรีเธน เปนตน
นอกจากนั้นยังพบอาการระคายจากขอบรองเทาพลาสติกไดดวย
สารอื่นๆ เชน อาจแพโลหะนิกเกิลที่ใชประดับรองเทา, น้ํามัน
หอมระเหย, สารฆาเชื้อ รวมไปถึงตัวยาขัดรองเทา
17

อาการ
จะพบผิวหนังอักเสบกึ่งเรื้อรัง และเรื้อรังมักพบบริเวณหลังเทา
หลังนิ้ว และบริเวณที่สัมผัสกับรองเทาโดยตรง มักจะเปนผื่นแพที่เทาทั้ง
สองขาง หรืออาจพบเพียงขางเดียวก็ได

ลั ก ษ ณ ะ ผิ ว ห นั ง อั ก เ ส บ
เนื่ องมาจากการระคายหรื อ
แพสารที่ทําใหเกิดผื่นแพจาก
การสวมรองเทา
18
ในปจจุบันมีสารเคมีที่ใชเปนสวนประกอบในการทํารองเทามาก
นับเปนหลายรอยชนิด ดังนั้นโอกาสที่เกิดการระคายหรือแพสารเหลานี้ก็
มีมากเชนกัน การคนหาสาเหตุที่เปนตนเหตุไมใชของงายนัก การใชสาร
ทดสอบชุดมาตรฐานและหรือชิ้นสวนของรองเทาผูปวยมาทดสอบหาสาร
กอภูมิแพโดยตรงดวยวิธีการปดบนผิวหนังจะชวยคนหาสาเหตุไดเฉพาะ
วาแพหนังหรือยางเทานั้น เนื่องจากบริษัทผลิตรองเทาใชสารแตกตางกัน
ไป การที่จะหาสารกอภูมิแพใหครอบคลุมหลายๆ ตัวทําใหสิ้นเปลืองและ
เสียเวลาทั้งผูทําและผูปวย ดังนั้นการศึกษาหาความรูเรื่องโรค การรูจัก
สั ง เกตอาการตนเอง รวมทั้ ง การดู แ ลป อ งกั น ไม ใ ห เ กิ ด โรคจึ ง เป น สิ่ ง
สําคัญยิ่ง

การดูแลตนเองเบื้องตน
ปฏิบัติดังนี้
1. ไมควรซื้อยาใชเองควรไปตรวจและปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญ
ดานโรคผิวหนัง เพื่อคนหาสาเหตุที่แทจริงวาเปนผื่นแพสัมผัสจากรองเทา
หรือไม
2. รักษาผื่นผิวหนังอักเสบ
ตามระยะที่เปนอยู ภายใตการ
บําบั ด รั กษาของแพทย เนื่องจากผื่ นแพสั ม ผัสจากรองเท าเปน ผื่นแพ ที่
เรื้อรัง การรักษาตองใชเวลานาน
19
3. ควรสวมใสรองเทาที่ไมคับจนเกินไป ทําใหโอกาสที่รองเทาจะ
สัมผัสแนบแนนกับผิวหนังนอย หรืออาจทาครีมที่ทําใหผิวหนังนุม
ทาบริเวณเทาสวนที่สัมผัสแนบแนนกับรองเทาเพื่อใหเทาลื่นไมเสียดสีกับ
รองเทามากนัก
4. ควรหลีกเลี่ยงภาวะที่ทําใหเหงื่อออกมาก หรือสวมรองเทา
เปยกน้ํ า เพราะรองเทาที่ เปยกน้ําจะปลอยสารก อภู มิ แพ ออกมางายขึ้ น
โดยเฉพาะอยางยิ่ง ภาวะที่มีเหงื่ออาจใชแปงโรยเทากอนสวมรองเทา หรือ
เลือกรองเทาโปรง ที่ระบายความรอนไดดี
5. เลื อ กใช ร องเท า ที่ ทํ า จากสารที่ ต นเองไม แ พ เช น คนที่ แ พ
รองเทายางก็ใชรองเทาที่ทําดวยพลาสติก เชน โพลีไวนิลคลอไรด หรือ
รองเทาหนั งล วนๆ หากแพห นังก็ตองใชร องเท าพลาสติ ก รองเทา ยาง
หรือที่ทําดวยผาหรือรองเทาไม ในกรณีมีเหตุจําเปนไมสามารถเลือกใช
รองเทาได ควรใชรองเทาที่มีแบบตางๆ กัน เชนมีลายไขวหลายๆ แบบ
เพื่อจะไดไมสัมผัสซ้ําที่เดิมตลอดเวลา หรือสวมถุงเทาปองกันไมใหเทา
สัมผัสกับรองเทาที่สวมใสโดยตรง
20

ผื่นแพสัมผัสโลหะ
โลหะที่ทําใหเกิดผื่นแพสัมผัสมีหลายชนิด โลหะที่พบทําใหเกิด
การแพบอยที่สุดในประเทศไทย คือ โครเมียม, นิกเกิลและโคบอลต อาจ
พบการแพจากโลหะอื่นๆ อีก เชน อลูมิเนียม, พลวง, สารหนู, เบริลเลียม,
ทองแดง, สังกะสี, ตะกั่ว, ดีบุก, ทองแคดเมียม, คารบอน, เหล็ก,
พาลาเดียม, แพลทินัมและเงิน เปนตน
การสัมผัสกับโลหะอาจสัมผัสไดจาก
1. โลหะผสม ที่ใชเปนอุปกรณตางๆ เชน เครื่องประดับตางๆ
เครื่องมือ เครื่องใชตางๆ ลูกบิดประตู เหรียญเงิน ฯลฯ
2. ในสบูและผงซักฟอก พบพวกนิกเกิล โคบอลต และโครเมียม
ปะปนอยู
3. ในเครื่องสําอาง ใชเปนสารที่ทําใหเกิดสี เชน สีที่ใสในสีแตง
ตา โลหะในสีคือ ตะกั่ว ทองแดง และเงิน
4. ในสีที่ใชสัก โดยปกติใชโลหะที่ทําใหเกิดสีตางๆ
5. ในอุ ต สาหกรรมและการประกอบอาชี พ เช น โครเมี ย มใน
ปูนซีเมนต, นิกเกิล, โครเมียมและโคบอลต, ในน้ํามันหลอลื่น,
น้ํามันเครื่องตางๆ, อุตสาหกรรมทําเครื่องประดับ, เครื่องเคลือบโลหะ,
เครื่องกล, แบตเตอรี่, กระเบื้องเคลือบ, ชุบโลหะ เปนตน
21
6. ในอาหาร พืช ผัก ผลไมบางชนิดมีโลหะ นิกเกิล, โคบอลต,
โครเมียมปนเปอนอยู

ปจจัยที่สงเสริมใหเกิดผื่นแพสัมผัสโลหะ
1. เหงื่อ เนื่องจากเหงื่อมีโซเดียมคลอไรด (เกลือ) อยู ซึ่งจะละลาย
โลหะออกมาทํ า ให เ กิ ด ผื่ น ระคายสั ม ผั ส ได และยิ่ ง ความเป น กรดมาก
ระยะเวลาที่สัมผัสกับเหงื่อมากขึ้น จะสงเสริมใหโลหะถูกกัดออกมามาก
ขึ้น
2. การกดและเสี ย ดสี เ ป น เวลานาน เช น การใช เ ครื่ อ งประดั บ
แหวน, ตุมหู, หัวเข็มขัด จะพบผื่นแพสัมผัสบอยกวาการใชนาฬิกาที่ใส
หลวมๆ
3. โลหะที่ปลอยสารออกมาไดงาย เชน เหล็กกลาที่คุณภาพไมดี
จะปลอยนิกเกิลออกมางายกวาชนิดคุณภาพดี
4. อุณหภูมิที่รอน จะปลอยนิกเกิลออกมาไดงายกวาอุณหภูมิที่
เย็น
5. ภาวะความเปนกรด นิกเกิลจะสลายไดดี ในภาวะที่เปนกรด
22

อาการ
ผื่นแพโลหะ
(สายนาฬิกา)

ผื่นแพโลหะ (เข็มขัด)

ผื่นแพโลหะ (ตุมหู)

ปฏิกิริยาของผิวหนังจากการสัมผัสโลหะมีอาการแสดงหลายอยาง
ไดแก
1. จากการระคาย
- ผื่นผิวหนังอักเสบ เกิดแผล จากโครเมียมและสังกะสี
- จุดเลือดออก จากการถูผิวหนังดวยเหรียญโลหะบอยๆ
23
2. จากการแพ
- เกิ ด ในรู ป แบบผิ ว หนั ง อั ก เสบบริ เ วณที่ สั ม ผั ส กั บ โลหะ
แต บ างครั้ ง หากการสัม ผัส นั้น เกิ ด จากการสั ม ผั ส ในอุ ต สาหกรรม เช น
จากน้ํามันหลอลื่นอาจทําใหเกิดการกระจายไปทั้งตัวได หรืออาจเกิดผื่น
เรื้อรัง หากมีการสัมผัสอยูเรื่อยๆ พบกันมากที่สุดในอาชีพชางปูน, ชางโลหะ, ชางแบตเตอรี่, ชางชุบโลหะ ฯลฯ
- เกิดในรูปแบบอื่นๆ เชน ผื่นนูนแดง, บวมแบบลมพิษ หรือ
ตุมนูนมีสะเก็ด, ตุมน้ําพองมีแผล เปนตน
3. จากการเปลี่ยนแปลงสีของผิวหนัง เชน สีคล้ําจากเงิน, เหล็ก
นิกเกิล, สีของขนเปลี่ยน คือ สีเขียวจากทองแดง สีขาวจากโคบอลต สีดํา
จากเงิน สีของเล็บเปลี่ยนเปนคล้ําเขมจากปรอท ตะกั่ว เงินและโครเมียม

การดูแลตนเองเบื้องตน
โลหะที่มีรายงานการแพสวนใหญไดแก นิกเกิล โครเมียมและ
โคบอลต ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
คําแนะนําสําหรับผูที่แพนิกเกิล
นิกเกิล มักใชผสมอยูในโลหะเพื่อเพิ่มความแข็งใหลักษณะเปน
มันวาว ผูแพนิกเกิล ปฏิบัติดังนี้
24
1. ผื่น ที่ มือ พิจารณาเลี่ยงสิ่ งที่มีนิกเกิล เปน สวนประกอบ เช น
ไฟแช็ค, ปลอกลิปสติก, ปากกา, ดินสอ, กรรไกร, เข็ม, มีดโกนหนวด,
ลูกบิดประตู, กระเปาถือ, อุปกรณในครัว, แปนพิมพดีด, แฮนดจักรยาน,
รม เปนตน
2. ผื่นบริเวณศีรษะ ใบหนา หนังตา พิจารณาเลี่ยงกิ๊บติดผม, มวน
ผม, ที่ดัดขนตา, ตุมหู, กรอบแวน, แทงลิปสติก ฯลฯ
3. กรณีจําเปนตองสัมผัสกับนิกเกิล ใหเลือกใชถุงมือพลาสติก
(เนื่องจากนิกเกิลจะสามารถซึมผานถุงมือยางได)
4. การเคลือบวัสดุดวยยาทาเล็บ โพลียูรีเทน หรือการหุมวัสดุดวย
ผา เทป สามารถชวยบรรเทาไดชั่วคราว เพราะนานไปเหงื่อสามารถจะ
ละลายเอานิกเกิลในโลหะออกมาได แมจะมีเสื้อผา ยาทาเล็บ เทปกั้นอยู
ระหวางวัตถุกับผิวหนัง
5. โลหะหลายชนิดจะมีนิกเกิลเปนสารผสม แมกระทั่งทอง 14 เค
แต ท า นจะสามารถเลื อ กใช วั ส ดุ ที่ ทํ า จากทอง พลาติ นั่ ม เงิ น พลาสติ ก
ทองเหลือง ฯลฯ
6. ระมัดระวังในการเลือกใชเสื้อผาและเครื่องแตงกาย ดังตอไปนี้
ยกทรงเสริมโครง ซิป ตะขอ หัวรองเทาและเข็มขัด เหรียญตรา นาฬิกา
กระดุม กางเกงยีนส ฯลฯ
7. เลือกเครื่องประดับ เชน สรอย, กําไล, แหวน, ตุมหู ทําจาก
ทอง ไม ควรใชเครื่องประดับชุบ ซึ่งจะปลดปล อยนิกเกิ ลออกมา หรื อ
25
อาจจะเคลือบเครื่องประดับดวยยาทาเล็บ หรือ พลาตินั่ม หามใชพาลา
เดียม เพราะอาจพบแพรวมกับนิกเกิลได
8. เงินเหรียญสวนใหญ ไมทําใหเกิดผื่น หากไมมีเหงื่อออกมาก
หรือไมถือนานๆ (เกิน 3 นาที) แตอาจทําใหเกิดผื่นไดหากใสในกระเปา
กางเกงไว เ ป น เวลานาน ดั ง นั้ น ควรเก็ บ เหรี ย ญไว ใ นถุ ง หรื อ กระเป า
พลาสติก
9. กุญแจโลหะ สามารถเลือกใชกุญแจอลูมิเนียมแทน
10. ระวังของใชในบาน เชน จักรเย็บผา, เข็ม, กรรไกร, คลิปหนีบ
กระดาษ หรือใหเลือกใชเกาอี้ไมแทนโลหะ ใชเบาะรองนั่งและเบาะรอง
แขนที่ทําดวยผาเนื้อหนา
11. เลือกใชกรอบแวนตาพลาสติกแทนกรอบโลหะ
12. การรักษาทางการแพทย ทันตกรรม ควรแจงใหแพทยทราบ
เรื่องการแพนิกเกิลเพื่อเลี่ยงอุปกรณที่มีนิกเกิลเปนสารผสม
13. นิกเกิลในอาหาร การรับประทานนิกเกิลในอาหารอาจทําให
เกิ ด มี ผื่ น ลั ก ษณะตุ ม น้ํ า ใสที่ บ ริ เ วณนิ้ ว แม จ ะไม ไ ด สั ม ผั ส กั บ นิ ก เกิ ล
โดยตรง กรณีทานแพนิกเกิลควรทําอาหารในภาชนะเทฟลอน อลูมิเนียม
อีนาเมลแทน เนื่องจากอาหารบางอยางอาจทําให สแตนเลสปลอยนิกเกิล
ออกมาขณะหุงตม
26
14. น้ําประปา : น้ํา 1 ลิตรแรกที่ไหลจากกอกตอนเชา ไมควร
นํามาใชดื่ม หุงตมอาหาร และหลีกเลี่ยงอาหารกระปอง
15. กรณีทานพยายามหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับนิกเกิลแลว ผื่นไมดี
ขึ้น ควรพยายามหลีกเลี่ยงนิกเกิลในอาหาร โดยจะเห็นผลหลังจากการ
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีนิกเกิล ภายใน 1 - 2 เดือน อาหารบางอยางสามารถทํา
ใหผื่นแพที่เกิดจากนิกเกิลเหอมากขึ้น
ฉะนั้ น อาหารที่ มี ส ารนิ ก เกิ ล เจื อ ปนอยู ใ นปริ ม าณมาก ที่ ค วร
หลีกเลี่ยง มีดังนี้
ประเภทอาหารทะเล กุงฝอย หอยแมลงภู หอยนางรม ปลาทูนา
ปลาเมคเคอเรล
ประเภทผัก
ถั่ว (ชนิดเมล็ดสีเขียว น้ําตาล หรือขาว)
กะหล่ําปลี ตนหอม ผักกาดหอม ผักขม
หนอไมฝรั่ง แครอท เห็ด มะเขือเทศ
ประเภทเมล็ด
ขาวโพด ขาวฟาง ขาวโอด รําขาวสาลี
ขาวที่ไมขัดสี รวมทั้งขนมปงที่ทํามาจาก
ขาวเหลานี้
ประเภทผลไม
อินทผลัม เกาลัด มะเดื่อ สัปปะรด
ลูกพรุน
ประเภทเครื่องดื่ม
เบียร ไวท ช็อกโกเลต นมถั่วเหลือง
เครื่องดื่มที่มีโคคาและชา
27
อื่นๆ

อัลมอนด ผงฟู (ในปริมาณมาก) น้ํามันเมล็ดฝาย ชา วิตามินที่มีนิกเกิล อาหารที่
มีถั่วผสม รสหวานที่มีช็อกโกเลตผสมอยู

คําแนะนําสําหรับผูที่แพโครเมียม
โครเมียม เปนโลหะชนิดหนึ่งซึ่งเกิดในธรรมชาติ พบโครเมียม
ในน้ํา ดิน หิน ซึ่งพบไดทั่วไป ผูที่แพโครเมียมควรหลีกเลี่ยงการสัมผัส
สิ่งตอไปนี้
1. โลหะชุบ หรือเคลือบดวยโครเมท /โครเมียม
2. เครื่องหนัง เนื่องจากใชสารโครเมทในการฟอกหนัง ทําให
หนังแข็ง เชน รองเทา เข็มขัด สายนาฬิกาหนัง ถุงมือ ฯลฯ
3. อุตสาหกรรมกอสราง เชนปูนซีเมนต ฯลฯ
4. สารฟอกสี เชน ผงซักฟอก, น้ํายาฟอกผาขาว, น้ํายาลางแกวใน
หองปฏิบัติการ ฯลฯ
5. สี เชน สีทใชทาแกว, พลาสติก, หมึกเขียน, สียอมผา, สียอม
ี่
ขนสัตว, สีเขียวที่ใชยอมเครื่องแบบทหาร, สักหลาด, สีที่ใชสัก (สีเขียว),
สีเคลือบเงา (สีเขียว เหลือง สม)
6. น้ํายาเคลือบกันสนิม, น้ํามันเครื่อง, น้ํายาลางภาพสี, โรเนียว,
หมึกแหง, หมึกพิมพ, ขี้ผึ้งขัดพื้น, น้ํายาขัดรองเทา
28
7. อุตสาหกรรมรถยนต สิ่งพิมพ เซรามิก หลอโลหะ เชื่อมโลหะ
ฯลฯ
8. หัวไมขีดไฟ ขี้เถาจากไมน้ํามันและกระดาษ กาวที่สกัดจาก
หนัง
9. ขบวนการผลิตโทรทัศน อัลลอยดและวัตถุระเบิด
กรณีพยายามเลี่ยงการสัมผัสกับโครเมียมแลวผื่นยังไมดีขึ้นอาจ
ลองงดอาหารที่มีโครเมียม เชน มันฝรั่ง, เห็ด, ถั่วลันเตา, ลูกพรุน, เครื่องเทศ, ชา, หัวหอมใหญ, ขาวโพด, เบียร, โกโก, แอปเปล, ไข, ไวน,
ช็อกโกแลต เปนตน
คําแนะนําสําหรับผูที่แพโคบอลต
โคบอลต เปนโลหะสีเทาเงินพบในโลหะผสม มักพบอยูรวมกับ
นิกเกิลและโครเมียม โดยในธรรมชาติจะพบปะปนอยูกับนิกเกิลผูที่แพ
โคบอลตควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสสิ่งตอไปนี้
1. สีที่ทําใหเกิดสีน้ําเงิน ในเครื่องลายคราม เครื่องปน เครื่อง
เคลือบ กระเบื้อง ถวยชาม แกว แวนตา ยาง พลาสติก ฯลฯ
2. พบรวมกับโครเมท ในปูนซีเมนต ผงซักฟอก
3. สีเทียน สีใชวาดภาพ สีหมึกพิมพ สีน้ําเงินที่ใชสัก สียอมผม
ใหเปนสีน้ําตาลออน
4. ครีมระงับเหงื่อ สารเคลือบฟน
29
5. เปนตัวเรงในอุตสาหกรรมเสนใยสังเคราะห และ เครื่องปนดินเผา
6. ปุย อาหารสัตว
7. อุตสาหกรรมผลิตในโลหะหนัก เสนใยสังเคราะห โพลีเอสเธอร สี ซีเมนต เครื่องปนเซรามิก น้ํามันหลอลื่น
8. ผูที่แพโคบอลต อาจแพวิตามินบี 12 ชนิด กิน ฉีด และมี
โอกาสแพรวมกับนิกเกิล โครเมท การหลีกเลี่ยงอาหารบางชนิด อาจทํา
ใหผื่นแพดีขึ้นในบางราย อาหารที่ควรเลี่ยง เชน ชา, กาแฟ, เบียร, โกโก,
ช็อกโกแลต, ถั่ว, หัวผักกาด, ผักกะหล่ํา, กานพลู, ตับ เปนตน

ผื่นแพสัมผัสแมลงดวงกนกระดก
30
ดวงกนกระดก ดวงปกสั้น หรือดวงกนงอน อยูในตระกูลพีเดรัส
พบกระจายทั่วโลก สําหรับประเทศไทย คาดวามีประมาณ 20 ชนิด
ในชวงฤดูฝน จะอาศัยและวางไขในพงหญาชื้น
มีระยะเวลาการเติบโต 4 ระยะ ดังนี้
1. ระยะไข โดยปกติแลว จะพบเห็นการวางไขในพื้นที่ที่มี
ความชื้นสูง เชน ในดินรวนที่มีวัตถุเนาเปอยปกคลุม ที่ใกลแหลงน้ํา ซึ่ง
หางจากผิวน้ําเล็กนอย วันหนึ่งตัวเมียจะวางไขไดหลายฟอง โดยจะใช
เวลาในการฟก 2 - 5 วัน จึงฟกเปนตัวออน
2. ตัวออน ลําตัวคอนขางยาว สามารถเห็นหัวไดชัดเจน ดํารงชีพ
ดวยการกินวัตถุเนาเปอยและหนอนเล็กๆ ใชเวลา 6-10 วัน จึงจะเปน
ดักแด
3. ดักแด ลักษณะใกลเคียงกับดักแดผีเสื้อ แตมีขนาดเล็กกวามาก
ใชเวลา 3-4 วัน จึงจะเปนตัวเต็มวัย
4. ตัวเต็มวัย มีรูปรางลักษณะตัวแกยาวประมาณ 7-10 มิลลิเมตร
กวาง 0.5-1 มิลลิเมตร สวนหัวแบนสีดํา ปกสีน้ําเงินเขม สวนหนาอก
และทองแบน สวนทองแบงเปน 6 ปลอง 4 ปลองแรก มีสีแดงหรือสม
สวนที่เหลือเปนสีดํา เคลื่อนที่ไดรวดเร็วและมักจะกระดกสวนทองขึ้นลง
เมื่อเกาะอยูกับพื้น ลักษณะนิสัยเชนนี้ เชื่อวากระทําเพื่อปองกันตัว จึงได
ชื่อวา “ดวงกนกระดก” ชอบอาศัยอยูตามพื้นดินที่ชุมชื้นใกลแหลงน้ําที่มี
31
พืชปกคลุม เชน ใกลรองน้ําในแปลงปลูกผัก พืชไรตางๆ และนาขาวที่มี
น้ํา มักชอบเลนไฟในตอนกลางคืน แสงไฟฟาแรงสูงหรือแสงนีออน จะ
เปนสื่อทําใหแมลงชนิดนี้เขาไปในบานไดอยางดีและเพิ่มมากขึ้นในชวง
หลังฝนตก มักจะมีปริมาณมากทําใหระบาดไดในฤดูหนาวไปจนถึงปลาย
ฤดูรอน คือ ประมาณเดือนธันวาคมไปจนถึงเดือนมิถุนายนในปถัดไป

การไดรับพิษ
โดยปกติดวงกนกระดกจะไมกัดหรือตอยคน แตคนจะไดรับพิษ
จากสารพิษที่ปลอยออกมาจากตัวแมลง ซึ่งเมื่อเราสัมผัสตัวแมลงแลวมัน
จะปลอยสารพิษที่มีชื่อวา “พีเดริน” ออกมาซึ่งเปนสารที่มีฤทธิ์ทําลาย
เซลลเนื้อเยื่อเมื่อถูกผิวหนังจะอักเสบแสบรอนพุพองบวมแดงได
ในสมัยโบราณใชสารพีเดริน เปนยาสมุนไพรรักษาโรคผิวหนัง
บางชนิด เชน ในประเทศจีนใชรักษาจี้หัวฝ ริดสีดวงจมูก เปนตน แตใน
ระยะหลังมักจะไดยินการระบาดของโรคผิวหนังจากสารพีเดรินมากขึ้น

อันตรายจากการสัมผัสสารพีเดริน
มีตั้งแต

อาการเล็กนอย คือ ผื่นแดง แสบรอนผิวหนัง
อาการปานกลาง เปนผื่น บวมแดงแสบรอนผิวหนัง ภายใน
24 ชั่วโมง หลังสัมผัสและเริ่มมีแผลพุพองภายใน 48 ชั่วโมง แผลอักเสบ
32
ขยายใหญขึ้นและแหงเปนสะเก็ด อาจมีแผลเปนหลังจากนั้น ผิวหนังจะ
คอยๆ สรางเม็ดสีขึ้นมาใหม ซึ่งอาจใชเวลาเปนเดือนหรือมากกวา

อาการรุนแรง มักคลายๆ กับอาการปานกลาง แตการสัมผัส
หรือไดรับสารพีเดรินรุนแรงมากกวาและเปนแผลอักเสบหลายตําแหนง
อาจมีอาการไขปวดเสนประสาท กลามเนื้อ อาเจียนรวมดวย และเปนผื่น
บวมแดงติดตอกันหลายเดือน หากเขาตาก็จะทําใหตาอักเสบ ปลอยทิ้งไว
อาจทําใหตาบอดได
33

การปองกันและการควบคุม
หากมองในแงความสมดุลทางระบบนิเวศวิทยา แมลงดวงกระดก
มีประโยชนทางดานเกษตร คือ เปนตัวที่กินแมงและแมลงที่เปนศัตรูพืช
โดยเฉพาะชอบกินเพลี้ยออน ศัตรูขาวโพด มันเทศและยังชวยปราบแมลง
ศัตรูขาวใหนอยลง
ดังนั้นหากไมมีการระบาดมากมายก็ไมจําเปนตองใชสารเคมีกําจัด
แมลง เนื่องจากในธรรมชาติแมลงชนิดนี้ก็มีศัตรูธรรมชาติชวยทําลายมัน
อยูแลว ได แก ไรดิน แมงมุม เปนตน ฝนและความแหงแลงก็ ทําให
แมลงชนิดนี้ตายไดโดยธรรมชาติเชนกัน

การดูแลตนเองเบื้องตน
ปฏิบัติดังนี้
1. ลดกําลังสองสวางของแสงไฟฟาในหองทํางานโดยการติดตั้ง
ใหต่ําลงหรือใชโปะบังคับใหสองสวางในบริเวณที่ตองการ
2. อยูในหองมุงลวดในเวลากลางคืนหากบังเอิญแมลงไตตามตัว
อยาไปตบตีใหน้ําพิษออกมา กรณีถูกน้ําพิษใหลางดวยน้ําหรือสบูหรือเช็ด
ทันทีดวยแอมโมเนียอยาไปเกาจนทําใหแผลลามออกไป ในรายที่มีอาการ
รุนแรงควรไปพบแพทย
34
3. กรณีสัมผัสพิษเขาตา ควรลางดวยน้ําสะอาดหลายๆ ครั้งแลว
รีบไปพบแพทย
4. ระมัดระวังและหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับแมลงดวงกนกระดก
หากพบแมลงชนิดนี้บนพื้นบาน พยายามไลหรือกําจัดออกโดยใชกระดาษ
รองแลวนําออกไปทิ้ง ลางมือหรือผิวหนังบริเวณที่สัมผัสดวยน้ําทันที
5. ก อ นนอนควรป ด ไฟ ประตู หน า ต า ง หรื อ นอนกางมุ ง และ
สํารวจเตียงนอนกอนวามีแมลงที่อาจเปนพิษอยูหรือไม
6. ในขณะนอนหลับ อาจนอนทับ หรือบี้แมลงโดยไมรูสึกตัว
ควรอาบน้ําหรือทําความสะอาดเครื่องนอน เสื้อผาทันที

ผื่นแพสัมผัสเครื่องสําอาง
ปจจุบันเครื่องสําอางมีสวนเกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของทุกคน
กอนอื่นมาทําความรูจักกับเครื่องสําอางกอนวามีอะไรบางที่เรามีโอกาส
สัมผัส
เครื่องสําอาง หมายถึง วัตถุที่ใช ทา ถู นวด โรย พน หยด ใส อบ
หรื อ กระทํ า ด ว ยวิ ธี อื่ น ใดต อ ส ว นหนึ่ ง ส ว นใดของร า งกายโดยมี
วัตถุประสงค ดังนี้
1. เพื่อทําความสะอาด เชน สบู, ยาสีฟน, แชมพู, ครีมทําความ
สะอาดผิว ฯลฯ
35
2. เพื่อความสวยงาม เชน แปง, ลิปสติก, สียอมผม, เครื่องสําอาง
สําหรับตา ฯลฯ
3. เพื่อใหเกิดความหอมสดชื่น เชน น้ําหอม, ยาระงับกลิ่น ฯลฯ
4. เพื่อปองกันอันตรายของผิวหนัง เชน ยากันแดด, ครีมบํารุงผิว
ใหชุมชื้น ฯลฯ
โดยปกติกระทรวงสาธารณสุขกําหนดใหเครื่องสําอางตองมีฉลาก
ระบุประเภทผูผลิต วิธีใชและปริมาณสุทธิขั้นต่ําของสารที่สําคัญแตไมได
บอกทั้ ง หมด ดั ง นั้ น ผู ที่ ใ ช เ ครื่ อ งสํ า อางจึ ง อาจจะต อ งเสี่ ย งจากการที่
เครื่องสําอางมีความเขมขนของสารมากเกินกวาที่กําหนดไว เสี่ยงจากการ
ใชเครื่องสําอางผิดวิธี
ผิดวัตถุประสงค โดยอาจไมรู หรือละเลย
คําแนะนําในฉลาก เชน เครื่องสําอางที่สงมาขายจากตางประเทศ มักไมมี
คําอธิบายเปนภาษาไทย บางอยางทาแลวตองลางออก แตไมไดลางก็อาจ
ทําใหเกิดการระคายตอผิวหนังได หรือความเปนดางของเครื่องสําอาง
กรณีมีความเปนดางมากทําใหเกิดการระคายไดงายรวมทั้งตําแหนงที่ใช
เชน รอบ-ดวงตา ก็มีความเสี่ยง ฉะนั้นจึงควรระมัดระวังการใชให
มากกวาที่อื่น

ผลขางเคียงจากการใชเครื่องสําอาง
ผื่นแพสัมผัส
ผื่นระคายสัมผัส
36
ผื่นแพสารและแสง
ผื่นลมพิษสัมผัส
ผลจากการดูดซึมของสารหรือการสะสมของสารอาจทําใหเกิด
พิษในระยะยาวผื่นลมพิษสัมผัสพบคอนขางนอย ในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะ
ผื่น แพ สั ม ผั ส และผื่น ระคายสั ม ผั ส ซึ่ ง เป น สิ่ งที่ พ บบ อ ยกว า ป ญ หาจาก
เครื่องสําอางจริงๆ แลวสวนมากเปนการระคายเคืองมากกวาการแพ แต
การที่แพทยผิวหนังจะใหการวินิจฉัยวาเปนการแพ ระคายเคืองหรือไมนั้น
ตองอาศัยการซักประวัติ ตรวจรางกายและการทดสอบภูมิแพโดยการปด
สารทดสอบบนผิวหนัง (Patch test) เพื่อคนหาสาเหตุที่แทจริงของการแพ
สารนั้นๆ

เครื่องสําอางที่ทําใหเกิดผื่นสัมผัส
จําแนกประเภทตามการใชประโยชน ดังนี้
1. เครื่องสําอางสําหรับผม ซึ่งมีหลายประเภท ดังนี้
แชมพูสระผม ประกอบดวยน้ําสารลดแรงตึงผิว สารทํา
ใหเกิดฟอง สารกันเสีย สี น้ําหอม อื่นๆ เชน โปรตีน สารขจัดรังแค
ฯลฯ แชมพูสระผมพบวาแพนอยมาก เพราะระยะเวลาที่สัมผัสกับผิวหนัง
นอย สวนมากมักเกิดการระคายจากการใชแชมพูมากเกินไปบอยเกินไป
เชน สระทุกวันแตละครั้งใชแชมพูลาง 2-3 ครั้ง จะทําใหผิวหนังแหงลอก
37
เปนขุย คัน เหมือนเปนรังแค ตอไปอาจทําใหผมรวงเปราะงายบางรายอาจ
เกิดอาการผื่นคันขึ้นที่หนาแทนได
สียอมผม ตัวที่ทําใหเกิดการแพมากที่สุด คือ สียอมผม
ถาวร สารที่ทําใหเกิดสีดํา คือ พาราฟนิลีนไดอะมีนและอนุพันธของมัน
กอนใชจะผสมในน้ํายาไฮโดรเจนเปอรออกไซด เพื่อทําใหเกิดปฏิกิริยาให
สารที่ ทํา ให เกิด สีดํา ผู ที่แพอาจจะมีผื่น ผิวหนัง อั ก เสบตามมาที่ ต นคอ,
หลังหู, ใบหูไดดวย
น้ํายาดัดผม มักเกิดการระคายจากความเปนดางของน้ํายา
ที่ทําใหผมหยิกที่สําคัญ คือ ไธโอไกลโคเลต
น้ํายายืดผม มีสารที่ใชอยูโดยทั่วไปมี 3 ชนิด คือ
2% โซเดียมไฮดรอกไซด 8–9% โซเดียมไบซัลไฟตและแอมโมเนียมไธโอไกลโคเลต สวนใหญพบวาเปนผื่นระคายสัมผัสในชางทําผมมากกวา
คนที่ถูกยืดผม โดยจะมีจมูกเล็บอักเสบและเล็บเสียรูป
น้ํามันใสผม นวดผม ตกแตงผมและสเปรย พบผื่นสัมผัส
นอยแตมีรายงานการแพ เชน จากสี, น้ําหอม, สารขจัดรังแค, น้ํามันละหุง
ฯลฯ
น้ํายาฟอกสีผม สารที่พบทําใหเกิดการแพที่สําคัญ คือ
แอมโมเนียเปอรซัลเฟต ซึ่งมีปฏิกิริยารุนแรงมีโอกาสทําใหเกิดลมพิษจาก
การสัมผัส มีอาการคัดจมูก แนนหนาอกและช็อกหมดสติได
38
2. เครื่องสําอางสําหรับหนา มีหลายประเภท ดังนี้
ผลิตภัณฑทําความสะอาดหนา เชน ครีม, โฟม, สบูอาจ
เกิดผื่นแพสัมผัสและเปนสิวจากสารที่ทําใหเปนฟอง สารกันเสีย น้ําหอม
สารลดแรงตึงผิว แตพบนอยเพราะตองลางออก
ผลิตภัณฑใหความชุมชื้น ทาแลวผิวหนังไมแหง สารกอ
ภูมิแพสวนมากจะพบ ลาโนลิน พาราเบน น้ําหอมทําใหเกิด ผื่นแดงคัน
นอกจากนี้อาจพบสีผิวเขมขึ้นจากการสัมผัสน้ําหอม
แปง แปงรองพื้น แปงฝุนพบการแพนอยมาก แต แปงแข็ง
อาจเกิดผื่นสัมผัสจากการแพสีและน้ําหอมที่ใสในแปง
ครีมกันแดด ปจจุบันนอกจากมีครีมกันแดดโดยเฉพาะ
แล ว ยั ง มี ก ารผสมสารกั น แดดลงในเครื่ อ งสํ า อางอย า งอื่ น เช น แป ง ,
ลิปสติก, ครีมใหความชุมชื้น การแพอาจจะเกิดจากแพสารกันแดดเอง
หรือเกิดจากแพสารรวมกับแสง ที่พบบอย คือ สารกลุมพาราอมิโนเบนโซอิคเอซิด (PABA) นอกจากนี้ยังอาจแพครีม น้ําหอม สารกันเสียหรือสีที่
ผสมอยูได
เครื่องสําอางสําหรับตกแตงตา ประกอบดวยครีมใหความ
ชุมชื้นรอบดวงตา (eye cream) สีตกแตงขอบตา (eye liner) สีตกแตง
เปลือกตา (eye shadow) ครีมปดขนตา (mascara) และดินสอเขียนคิ้ว
39
ผื่นแพสัมผัสสวนมากจะพบเกิดจากการแพสีทาเปลือกตาและนิกเกิลในที่
ดัดขนตา สารที่ทําใหเกิดผื่นระคายสัมผัสไดบอยคือ สีที่ใชนั่นเอง
ลิปสติก ประกอบดวยไขมัน เชน ขี้ผึ้ง, ลาโนลิน, สีและ
น้ํ า หอม โดยพบว า ริ ม ฝ ป ากมี ผื่ น เม็ ด เล็ ก ๆ คั น อาจแตกเป น แผลเป น
ทั้งริมฝปากบนและลาง บางครั้งแพสารกันแดด สีและน้ําหอมที่เติมลงไป
ยาสีฟน น้ํายาลางปาก ผื่นที่เกิดจากยาสีฟน มักเปนรอบๆ
ปาก สารที่ทําใหแพไดแก ฟอรมาลดีไฮด, สารฆาเชื้อ, ยาปฏิชีวนะ, สาร
แตงกลิ่นและสี, แอลกอฮอล, ฟลูออไรดและน้ําหอม, ฟลูออไรด เปนสาร
ที่กอใหเกิดการแพนอย แตอาจทําใหเกิดสิวรอบๆ ปาก เปนตุมหนองได
น้ํายาทาหลังโกนหนวด สวนประกอบสําคัญ คือ น้ําหอม
แอลกอฮอล สี พบการแพหรือระคายนอย
3. เครื่องสําอางสําหรับระงับเหงื่อและดับกลิ่น
สารที่ระงับ การหลั่งของเหงื่ อที่รั ก แร ที่นิ ย มใชมาก คื อ
อลูมิเนียมคลอไรดเฮกซาไฮเดรดและเกลืออลูมิเนียมอื่นๆ นอกจากนี้ ยังมี
สารฆาเชื้อ น้ําหอม พาราเบนและสารปรุงแตงอื่นๆ การระคายเกิดไดจาก
การที่มี ความเปนดางสูงและจากการแพผื่นมักเปนที่ซอกบนสุดของรักแร
4. เครื่องสําอางสําหรับเล็บ
เครื่องสําอางสําหรับเล็บ ไดแก น้ํายาเช็ดสีเล็บ ซึ่งเปน
อะซิโตน ยาทาเล็บ
คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวดล้อม
คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวดล้อม
คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวดล้อม
คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวดล้อม
คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวดล้อม
คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวดล้อม
คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวดล้อม
คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวดล้อม
คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวดล้อม

More Related Content

What's hot

การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfpraphan khunti
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานPaleenui Jariyakanjana
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)techno UCH
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลSumon Kananit
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับtechno UCH
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ ICwichudaice
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวนSuradet Sriangkoon
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก Dbeat Dong
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 

What's hot (20)

การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
Ppt. ปอด
Ppt. ปอดPpt. ปอด
Ppt. ปอด
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 

Viewers also liked (20)

การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
Work
WorkWork
Work
 
Pat6
Pat6Pat6
Pat6
 
งานแบบสำรวจและประวัติ
งานแบบสำรวจและประวัติงานแบบสำรวจและประวัติ
งานแบบสำรวจและประวัติ
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
งานคอม 606
งานคอม 606งานคอม 606
งานคอม 606
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat72
Pat72Pat72
Pat72
 
Pat73
Pat73Pat73
Pat73
 
Pat4
Pat4Pat4
Pat4
 
Pat74
Pat74Pat74
Pat74
 
Pat75
Pat75Pat75
Pat75
 
Pat71
Pat71Pat71
Pat71
 
Pat76
Pat76Pat76
Pat76
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Gat2
Gat2Gat2
Gat2
 
Pat2
Pat2Pat2
Pat2
 
ใบงาน แบบร่างโครงงาน
ใบงาน แบบร่างโครงงานใบงาน แบบร่างโครงงาน
ใบงาน แบบร่างโครงงาน
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
Pat3
Pat3Pat3
Pat3
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้น เรื่องโรคผื่นแพ้สัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวดล้อม

  • 3. 47 คํานํา คูมือการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องตนเรื่อง “โรคผื่นแพสัมผัสจาก งานอาชีพและสิ่งแวดลอม” รวบรวมและเรียบเรียงเนื้อหาวิชาการ โดยมี วัตถุ ประสงคเพื่อปรารถนาใหประชาชนคนไทยได รับความรูและการ ปฏิบัติตน ตระหนักในความสําคัญของประโยชนการปองกันและสงเสริม การดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกตอง ซึ่งพฤติกรรมสุขภาพที่ดีจะชวยสงเสริม ใหสุขภาพดี ชวยลดปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรคหรือความเจ็บปวยดวยโรค ผื่นแพสัมผัสจากงานอาชีพและสิ่งแวดลอมที่มีผลกระทบในการดําเนิน ชีวิตประจําวันได เพื่อธํารงไวซึ่งสุขภาพที่ดีทั้งรางกายและจิตใจ การเรียบเรียงคูมือนี้รวบรวมจากเอกสารวิชาการดานตางๆ และ จากประสบการณของผูเชี่ยวชาญดานโรคผิวหนัง ซึ่งตางก็มีปณิธาน มุงมั่นใหประชาชนคนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีตลอดไป จึงขอขอบคุณผูเปน เจาของบทความที่ปรากฏในคูมือนี้ การจัดทําอาจจะมีขอบกพรองบาง จึงขออภัยมา ณ โอกาสนี้ ทางกลุมงานผื่นแพสัมผัสและอาชีวเวชศาสตร ยินดีรับขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงในการจัดทําครั้งตอไป กลุมงานผื่นแพสัมผัสและอาชีวเวชศาสตร กลุมภารกิจวิชาการ ศูนยโรคผิวหนังเขตรอนภาคใต จังหวัดตรัง (ก)
  • 4. 48 สารบัญ หนา คํานํา......................................................................................................(ก) สารบัญ ..................................................................................................(ข) บทนํา .......................................................................................................1 ผื่นแพสัมผัสคืออะไร ...............................................................................2 ชนิดของผื่นแพสัมผัส .........................................................................2 สาเหตุของผื่นแพสัมผัส ......................................................................3 อาการ..................................................................................................4 ปจจัยที่สงเสริมการเกิดผื่นแพสัมผัส ...................................................4 การคนหาสาเหตุ .................................................................................5 การรักษาและการปองกัน ....................................................................7 ผื่นแพสัมผัสปูนซีเมนต ............................................................................8 สาเหตุ .................................................................................................8 อาการ..................................................................................................8 การดูแลตนเองเบื้องตน .......................................................................9 ผื่นแพสัมผัสจากยาทาภายนอก.................................................................9 สาเหตุ ...............................................................................................10 อาการ................................................................................................10 (ข)
  • 5. 49 สารบัญ (ตอ) หนา การดูแลตนเองเบื้องตน .....................................................................10 ผื่นแพสัมผัสดางทับทิม ..........................................................................11 ขอควรระวังในการใชดางทับทิม.......................................................14 ผื่นแพสัมผัสรองเทา ...............................................................................15 สาเหตุ ...............................................................................................16 อาการ................................................................................................17 การดูแลตนเองเบื้องตน .....................................................................18 ผื่นแพสัมผัสโลหะ .................................................................................20 ปจจัยที่สงเสริมใหเกิดผื่นแพสัมผัสโลหะ .........................................21 อาการ................................................................................................22 การดูแลตนเองเบื้องตน .....................................................................23 คําแนะนําสําหรับผูที่แพนิกเกิล ....................................................23 คําแนะนําสําหรับผูที่แพโครเมียม ................................................27 คําแนะนําสําหรับผูที่แพโคบอลต ................................................28 ผื่นแพสัมผัสแมลงดวงกนกระดก...........................................................29 การไดรับพิษ .....................................................................................31 อันตรายจากการสัมผัสสารพีเดริน.....................................................31 (ค)
  • 6. 50 สารบัญ (ตอ) หนา การปองกันและการควบคุม...............................................................33 การดูแลตนเองเบื้องตน .....................................................................33 ผื่นแพสัมผัสเครื่องสําอาง.......................................................................34 ผลขางเคียงจากการใชเครื่องสําอาง ...................................................35 เครื่องสําอางที่ทําใหเกิดผื่นสัมผัส .....................................................36 การดูแลตนเองเบื้องตน .....................................................................40 บรรณานุกรม..........................................................................................43 คณะผูจัดทํา ............................................................................................46 (ง)
  • 7. 1 บทนํา ในการประกอบอาชีพทั้งดานอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมนั้น ไดมีการใชสารเคมีมากมายในกิจกรรมตางๆ ผิวหนังเปนอวัยวะแรกที่ สัมผัสกับสารเหลานั้นโดยตรง ซึ่งมีผลทําใหเกิดปญหาผื่นผิวหนังอักเสบ ขึ้ น ได นอกจากนี้ แ ล ว การสั ม ผั ส สารต า งๆ ในชี วิ ต ประจํ า วั น และ สิ่งแวดลอมก็อาจกอปญหาตอผิวหนังไดเชนกัน การสรางสุขภาพนับได วามีความสําคัญและเปนหัวใจในการพัฒนาระบบสุขภาพใหมีความยั่งยืน โดยที่การสรางสุขภาพผิวหนัง มุงเนนการควบคุมปจจัยเสี่ยงและสงเสริม ปจจัยเสริมพื้นฐานที่กําหนดการมีสุขภาพที่เหมาะสม สภาพปญหา ผื่ น แพ สั ม ผั ส ที่ สั ม พั น ธ กั บ ป จ จั ย เสี่ ย งนั้ น ส ว นใหญ เ กิ ด จากสาเหตุ ที่ ประชาชนขาดความรู ความเขาใจ มีทัศนคติไมถูกตอง ขาดความรวมมือ ในการหาแนวทางแกปญหารวมกัน รวมทั้งการรณรงคการดูแลสุขภาพ ผิวหนังสวนบุคคล ครัวเรือนและชุมชน ยังไมครอบคลุมและตอเนื่อง กลุ ม งานผื่ น แพ สั ม ผั ส และอาชี ว เวชศาสตร ศูน ย โ รคผิ ว หนั ง เขตร อ น ภาคใต จังหวัดตรัง จัดทําคูมือเลมนี้ขึ้น เพื่อถายทอดองคความรูสุขภาพ ผิวหนังสูประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง เพื่อพัฒนาสุขภาพใหคน ไทยแข็งแรงสูเมืองไทยแข็งแรง
  • 8. 2 ผื่นแพสัมผัสคืออะไร เปนโรคผิวหนังชนิดหนึ่ง เกิดจากการสัมผัสสารภายนอก ซึ่งเปนสารระคายเคือง หรือสารที่ทําใหเกิดการแพ ชนิดของผื่นแพสัมผัส 1. ผื่นระคายสัมผัส (Irritant contact dermatitis) หมายถึงผื่น สัมผัสซึ่งเกิดจากการระคายตอคุณสมบัติทางกายภาพของสารนั้นๆ 2. ผื่นแพสัมผัส (Allergic contact dermatitis) หมายถึงผื่นสัมผัส ซึ่งเกิดขึ้นจากปฏิกิริยาของรางกายที่ตอบสนองตอสิ่งกระตุน โดยใชเวลา ระยะหนึ่งหลังจากสัมผัสสิ่งกระตุน 3. ผื่นสัมผัสจากพิษของสารรวมกับแสง (Phototoxic contact dermatitis) หมายถึง ผื่นสัมผัสซึ่งเกิดจากการสัมผัสกับสารที่ถูกเปลี่ยน คุณสมบัติโดยแสงใหกลายเปนสารที่ทําใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนัง 4. ผื่นสัมผัสเนื่องจากการแพสารรวมกับแสง (Photoallergic contact dermatitis) หมายถึง ผื่นสัมผัสซึ่งเกิดจากการสัมผัสกับสารที่ถูก เปลี่ยนคุณสมบัติโดยแสงใหกลายเปนสารกอภูมิแพ โดยสารดังกลาวจะ กระตุนใหรางกายตอบสนองโดยใชเวลาระยะหนึ่ง
  • 9. 3 5. ลมพิษจากสารสัมผัส (Contact urticaria) หมายถึง การสัมผัส กับสารซึ่งรางกายมีการสรางสารภูมิแพที่เรียกกันวา “ฮีสตามีน” ทําให หลอดเลือดขยายตัวเกิดเปนผื่นนูนแดงตามผิวหนัง สาเหตุของผื่นแพสัมผัส การเกิดผื่น อาจเปนผลมาจากขอใดขอหนึ่ง ดังนี้ 1. การระคายเคืองตอผิวหนัง เนื่องจากการที่ผิวหนังสัมผัสกับ สารระคายเคืองโดยคุณสมบัติทางกายภาพของสารนั้น เชน ความเปนกรด ดาง ซึ่งมีฤทธิ์ทําลายเซลลในชั้นหนังกําพราโดยตรง เชน ฤทธิ์ละลาย ไขมัน ฤทธิ์ทําใหโปรตีนแข็งตัว ทําใหผิวหนังเกิดการอักเสบ เชน กรด ดาง สบู ผงซักฟอก ตัวทําละลาย เปนตน 2. การที่ผิวหนังสัมผัสกับสารกอภูมิแพ โดยที่เคยสัมผัสถูกสารกอ ภูมิแพมาอยางนอย 1 ครั้ง แลวรางกายถูกกระตุนใหสรางภูมิคุมกันขึ้นมา เมื่อสัมผัสซ้ําอีกครั้งทําใหเกิดอาการแพ การสัมผัสครั้งแรกกับครั้งหลัง อาจหางกันเปนวัน เปนเดือน หรือเปนปก็ได สารที่กอใหเกิดการแพไดงาย เชน โลหะ (นิกเกิล โครเมียม โคบอลต) ยาทาเฉพาะที่ เครื่องสําอาง สารเคมี เครื่องแตงกาย เปนตน
  • 10. 4 อาการ อาการทางผิวหนังอาจแสดงไดหลายรูปแบบตามสาเหตุที่เกิดขึ้น เชน จากการระคายเคือง การแพ และมีปจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เปนตน ปจจัยที่สงเสริมการเกิดผื่นแพสัมผัส 1. ผูที่แพงาย เชน มีประวัติเปนโรคภูมิแพจําพวกโรคหอบหืด จมูกอักเสบเนื่องจากการแพ เปนตน 2. สารที่กระตุนใหเกิดอาการแพไดงาย สวนใหญมักพบสารที่มี ความเขมขนสูง และสารที่ซึมผานผิวหนังไดมากหรือสัมผัสสารเหลานั้น ติดตอกันเปนเวลานาน 3. สิ่งแวดลอม อาชีพ ตําแหนงที่สัมผัส เมื่อเปยกชื้นบอยๆ เชน ที่มือ สารจะซึมผานรวดเร็ว ก็มีโอกาสเกิดผื่นไดงาย อาการที่พบ มีลักษณะเปนผื่นแดง หรือตุมน้ําใสเล็กๆ คัน ซึ่งจะ ขึ้นเฉพาะบริเวณที่สัมผัสถูกสิ่งที่แพ บางรายอาจเปนตุมน้ําพองใหญ เมื่อ แตกออกเปนน้ําเหลืองไหลและมีสะเก็ดเกรอะกรัง เมื่ออาการทุเลาผิวหนัง บริเวณนั้นอาจแหงเปนขุยหรือหนาตัวขึ้นชั่วคราว บางคนผิวหนังอาจคล้ํา ลงหรือเปนรอยดางขาวชั่วคราวและเมื่อเกาทําใหมีการติดเชื้อแบคทีเรีย แทรกซอนไดงาย เชน เปนตุมหนอง แผลพุพอง น้ําเหลืองไหล เปนตน
  • 11. 5 การคนหาสาเหตุ แพทยจะซักประวัติและตรวจรางกาย บางครั้งสังเกตจากลักษณะ อาการแสดงของผื่นบริเวณรอยโรค และตําแหนงที่เปน รวมทั้งประวัติ จากอาชีพและสิ่งแวดลอมที่ผูปวยสัมผัส ก็สามารถบอกที่มาของการเกิด โรคผื่นแพสัมผัสได หากคนหาสาเหตุอยางละเอียดจะตองทําการทดสอบ ภูมิแพผิวหนังโดยวิธีปดสารทดสอบบนผิวหนัง (Patch test) ซึ่งตอง ปฏิบัติดังนี้ 1. กรณี ที่ ผู ป ว ยใช ย ากลุ ม แก แ พ แ ก ห วั ด แก คั น ฮอร โ มนและ สเตียรอยด ควรหยุดใชยาอยางนอย 2 สัปดาห กอนมาทําการทดสอบ ภูมิแพผิวหนัง 2. ผูปวยที่มีประวัติ การแพยา อาหาร สารเคมี และโรคภูมิแพ หรือโรคประจําตัวควรแจงใหแพทยทราบ รวมทั้งนําสารหรือผลิตภัณฑที่ สงสัยวาแพพรอมชื่อและรายละเอียดเกี่ยวกับสารมาในวันที่แพทยนัดทํา ทดสอบดวย 3. การทําทดสอบตองปดแผนที่ใสสารทดสอบไวที่หลังผูปวย แพทยจะนัดมาอานผล 2 ครั้ง (ครั้งที่ 1 ครบ 48 ชั่วโมง ครั้งที่ 2 ครบ 96 ชั่วโมง ตองมาพบแพทยเพื่ออานผลการทดสอบตามนัดทุกครั้ง) และตอง ดูแลมิใหบริเวณที่ทดสอบ (ที่หลัง) เปยกน้ํา หลีกเลี่ยงภาวะที่ทําใหเหงื่อ ออกมาก เชน เลนกีฬา ออกกําลังกาย หรือถูกแสงแดดนานๆ เพราะเหงื่อ
  • 12. 6 และไขมันทําใหแผนทดสอบหลุดลอกและสารที่ทําการทดสอบเคลื่อน ตําแหนงได ขั้ น ตอนการทดสอบภู มิ แ พ ผิวหนังดวยวิธีปดสารทดสอบ บนผิวหนัง ขั้นที่ 1 หยดสารใสแผนทดสอบ ขั้นที่ 2 ปดแผนทดสอบที่หลัง ขั้นที่ 3 ทิ้งไว 48 ชั่วโมง
  • 13. 7 การรักษาและการปองกัน หลักการดูแลรักษาและปองกันโรคผื่นแพสัมผัส มีดังนี้ 1. คนหาสาเหตุที่แพ หลีกเลี่ยงสารกอการระคายเคืองและสารกอ ภูมิแพเปนสิ่งที่สําคัญที่สุด ในการดูแลรักษาโรคผื่นแพสัมผัสโดยสังเกต จาก ตําแหนงที่เปน เชน ที่ศีรษะ อาจเกิดจากการแพยายอมผม แชมพูสระผม น้ํามันใสผม ที่ใบหู แพตุมหู ที่ใบหนา อาจเกิดจากการแพ เครื่องสําอาง ที่คอ อาจเกิดจากการแพน้ําหอม สรอยคอ ที่ลําตัว อาจเกิด จากการแพเสื้อผา สบู ที่ขาและเทา อาจเกิดจากการแพถุงเทา รองเทา ที่มือ และเทา อาจเกิดจากการแพผงซักฟอก ปูนซีเมนต เปนตน อาชี พ และงานอดิ เ รก เช น คนขั บ รถ มี โ อกาสแพ น้ํามันเครื่อง แมบาน มีโอกาสแพผงซักฟอก น้ํายาลางจาน ชางปูน มีโอกาสแพปูนซีเมนต เปนตน 2. การใชสารทดแทนสารที่แพ ซึ่งสามารถหลีกเลี่ยงได เชน แพ โลหะนิกเกิลในเครื่องประดับก็สามารถจะใชทองแทนได 3. ควรพบแพทยเพื่อรับการรักษาอาการทางผิวหนัง การตรวจเพื่อหาสาเหตุโดยการทดสอบภูมิแพผิวหนังดวยวิธีปด สารทดสอบบนผิวหนัง (Patch test) หรือวิธีสะกิดผิวหนัง (Prick test)
  • 14. 8 ผื่นแพสัมผัสปูนซีเมนต ปูนซีเมนต เปนตัวที่กอภูมิแพที่พบบอยที่สุ ด ในอาชีพกอสราง โดยมีโครเมียมเปนสาเหตุ โดยเฉพาะชางปูน ชางกอสราง คนงานโรง ปูนซี เมนต ถึงแมป จจุบั นมี การนําเครื่องมือผสมปูน ซีเมนตและมี ปู น ซี เ มนต สํ า เร็ จ รู ป วางขาย ทํ า ให ก ารสั ม ผั ส กั บ ปู น ซี เ มนต มี ก ารแพ โครเมียมถึงรอยละ 75-95 และอาจเกิดอาการหลังจากสัมผัสปูนซีเมนต มาแลวเปนเวลานาน สาเหตุ จากสารไดโครเมต (สารประกอบโครเมียม) ซึ่งเปนสวนผสมของ ปูนซีเมนต มีฤทธิ์เปนดางกอใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง เมื่อผสมกับ กรวดทราย เม็ดเล็กๆ ทําใหบาดผิวไดงาย อาการ มีผื่นแดงที่นิ้วมือ ฝามือ ขอ พั บ แขน ขา ผื่ น มั ก แห ง มี สะเก็ดแตกเปนรองบางครั้งมี น้ําเหลืองและหนองหรือเปน ผื่นหนาเรื้อรัง
  • 15. 9 การดูแลตนเองเบื้องตน ปฏิบัติดังนี้ หลีกเลี่ยงและปองกันการสัมผัสโดยตรงกับปูนซีเมนตจะ ชวยทําใหผื่นดีขึ้น ไม จํ า เป น ต อ งเปลี่ ย นงานขณะปฏิ บั ติ ง านอาจจะใช ถุ ง มื อ สวมใส เ สื้ อ ผ า แขนยาว ขายาว หรื อ ใช พ ลาสติ ก คลุ ม ร า งกาย เมื่ อ เลิ ก ปฏิบัติงานควรอาบน้ําชําระรางกายทันที ในกรณีแพเรื้อรัง ควรพบแพทยผิวหนังเพื่อทําการทดสอบ ภูมิแพผิวหนัง เมื่อทราบสาเหตุแลว ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารนั้นๆ ผื่นแพสัมผัสจากยาทาภายนอก ยาทาภายนอกมีรูปแบบตางๆ กัน เชน ครีม เจล โลชั่น แปงน้ํา เปนตน ยาทาภายนอกสวนใหญประกอบดวยสารออกฤทธิ์ หรือตัวยา ตัวกระสายยาและวัตถุกันเสีย สารดังกลาวนี้เมื่อใชเปนเวลานานก็อาจจะ กระตุนใหรางกายตอบสนองในลักษณะการเกิดภูมิแพสัมผัสได
  • 16. 10 ยาใดบางที่ทําใหเกิดผื่นแพสัมผัส กลุมยาตานจุลชีพ ยาฆาเชื้อ เชน นีโอมัยซินฯ กลุมยาตานฮีสตามีน กลุมยาชา กลุมยาทา : คอรติโคสเตียรอยด กลุมสารปรุงแตง : วัตถุกันเสีย น้ําหอม สาเหตุ สวนใหญเกิดจากปฏิกิริยาของรางกายที่ตอบสนองตอสิ่งกระตุน อาการ ลั ก ษณะเป น ผื่ น แดง คั น บริ เ วณที่ สั ม ผั ส กั บ ยากรณี เ ป น นานๆ มีโอกาสกลายเปนผื่นคล้ําหนาและคัน ผื่นแพยา
  • 17. 11 การดูแลตนเองเบื้องตน ปฏิบัติดังนี้ หยุดใชยาทาที่สงสัยวาจะแพ พบแพทยเพื่อทดสอบยืนยันวาแพยาชนิดใดบาง แจงชื่อยาที่แพกับแพทยหรือสถานพยาบาลทุกครั้งที่เขารับ การรักษา เมื่อเจ็บปวยไมควรซื้อยามาใชเอง ควรไปตรวจรักษาจาก แพทยและไมควรนํายาของตนเองไปใหผูอื่นใช ผื่นแพสัมผัสดางทับทิม ในยุคที่พอบานแมบานตองฝาฟนกับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจเชนนี้ จําเปนอยางยิ่งที่จะตองปรับเปลี่ย นแนวทางการดําเนินชีวิตใหมีคุณค า ตองประหยัดมากยิ่งขึ้น ครอบครัวยุคใหมจึงตองหันกลับมาดูแลสุขภาพ ใหทุกคนในครอบครัว เมื่อบุคคลในครอบครัวเจ็บปวย โดยเฉพาะมีแผล เรื้อรัง ที่ตองใหการดูแลตนเองที่บาน หลักการดูแลแผลที่ทุกคนรูจักกันดี คื อ การป อ งกั น และการกํ า จั ด การติ ด เชื้ อ ไม ว า จะเป น ประชาชนหรื อ บุคลากรทางการแพทยสวนใหญมักใหความสําคัญกับยาฆาเชื้อโรคและยา ปฏิชีวนะ ความรูและการปฏิบัติเกี่ยวกับบาดแผล มักถูกจํากัดและแบงแยก
  • 18. 12 ออกไปตามรูปแบบของการรักษา ความเชื่อและความเคยชินของบุคลากร ในแตละสาขาหรือแตละสถาบัน โดยไมไดคํานึงถึงความรูพื้นฐานในการ ดูแลบาดแผลที่เหมาะสมกับสภาพของผูปวยอยางแทจริง ป จ จุ บั น มี ส ารเคมี ม ากมายที่ นํ า มาใช ใ นวงการแพทย แ ละ การดําเนินชีวิตประจําวัน ผิวหนังเปนอวัยวะแรกที่สัมผัสกับสารเหลานี้ หากขาดความรูและความเขาใจถึงวิธีการใชสารเคมีอยางถูกตอง อาจ กอใหเกิดการระคายเคืองและทําลายผิวหนังบริเวณที่สัมผัสอยางรุนแรง ได ความรุนแรงของการระคายเคืองผิวหนังจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับ คุณสมบัติ ปริมาณความเขมขนของสารกอระคายและลักษณะของผิวหนัง ที่สัมผัสกับสาร รวมทั้งระยะเวลาของการสัมผัสกับสารนั้นๆ ดางทับทิมเปนสารเคมีชนิดหนึ่งที่สามารถกอระคายเคืองผิวหนัง มีชื่อทางเคมีวา โปตัสเซียมเปอรมังกาเนต (KMnO4) เปนสารประกอบ ชนิดหนึ่ง ลักษณะเปนเกร็ดสีมวงเขมเปนเงาเหมือนโลหะปราศจากกลิ่น จัดเปนตัวออกซิไดซที่สําคัญ เมื่อละลายน้ําจะไดสารละลายดางทับทิม สีมวงหรือชมพูอมมวง ซึ่งใชประโยชนไดมากมายมีประสิทธิภาพตางๆ ดังนี้ ใชในการกําจัดปรสิตภายนอกในบอปูน หรือบอดินที่น้ําใส ใชในอัตรา 2 - 4 พีพีเอ็ม. (สวนในลานสวน) แชตลอด
  • 19. 13 ใชฆาเชื้ออุปกรณ ที่ใชในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เชน กระชอน สายยาง ใชในอัตรา 20-25 พีพีเอ็ม. (สวนในลานสวน) แชนาน 24 ชั่วโมง ใชในการกําจัดปรสิต เชื้อรา และแบคทีเรียในอาหารสัตวน้ํา มีชีวิต เชน ลูกไร ลูกน้ํา โดยการแชในสารละลายดางทับทิมเขมขน 100150 พีพีเอ็ม. (สวนในลานสวน) นาน 3-5 นาที ใช ล ดปริ ม าณแพลงตอนสารอิ น ทรี ย ใ นน้ํ า ปริ ม าณการใช ขึ้นอยูกับความเขมสีน้ํา น้ําสีเขมมากใชปริมาณที่สูงขึ้น ใชลดความเปนพิษของกาซไฮโดรเจนซัลไฟด (กาซไขเนา) ใชทํายาดับกลิ่น และใชลางสารพิษจากผักตางๆ ใชในวงการแพทยซึ่ งนํามาใชชะลางแผล แชแผลที่เรื้อรั ง หรือแผลที่เนาเปอยมีกลิ่นเหม็นซึ่งสารละลายดางทับทิมมีฤทธิ์ทําลายเชื้อ โรคและดับกลิ่นได ความเขมขนที่เหมาะสมในการชะลางแผล แชแผล ใชอัตราสวนดางทับทิม (KMnO4 1 : 10,000) ซึ่งสามารถจัดเตรียมได งายๆ โดยใชเกร็ดดางทับทิมเล็กนอย (1-2 เกร็ด) คอยๆ เติมน้ําสะอาด ผสมใหเกร็ดดางทับทิมละลายใหหมด จนเปนสีชมพูออนจางๆ จึง นํามาใชชะลางแผลหรือแชแผลไมควรใชสารละลายดางทับทิมเขมขน คือ สีมวงเขมชะลางแผลหรือแชแผล เพราะมีฤทธิ์ระคายเคืองตอผิวหนังทําให มีอาการแสบรอนเปนแผลพุพอง เกิดรอยไหมหรือแผลอยางรวดเร็วเมื่อ ถูกสัมผัส ซึ่งไดรับผลเสียมากกวาผลดี
  • 20. 14 ผื่นแพสัมผัสดางทับทิม เป น อุ ท าหรณ ใ ห ผู ใ ช สารละลาย ดางทับทิมเพิ่มความ สนใจและระมัดระวังใหมากกวา เดิ ม เพื่ อ ป อ งกั น อั น ตรายต อ ผิ ว หนั ง ที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น โดยไม ตั้งใจ ขอควรระวังในการใชดางทับทิม ศึ ก ษาปริ ม าณความเข ม ข น ที่ เ หมาะสมกั บ การนํ า ไปใช ประโยชนในแตละงานใหเขาใจกอนนําไปใชเสมอ ควรผสมสารละลายดางทับทิมกอนใชทุกครั้ง ไมควรผสม ทิ้งไวคางคืน เพราะความเขมขนของน้ํายาเปลี่ยนแปลงไดและระมัดระวัง ในการผสม ใหเกร็ดดางทับทิมละลายน้ําจนหมด สารละลายดางทับทิมทําใหผิวหนัง เล็บ เปนสีน้ําตาล ดังนั้น ไมควรใชบริเวณใบหนา กรณีติดเสื้อผาใหใชไฮโดรเจนเปอรออกไซดลาง ออก
  • 21. 15 เกร็ดดางทับทิมไมควรถูกผิวหนังผูใชโดยตรง กรณีสัมผัสเกิด ระคายเคืองใหรีบลางน้ําทันที กรณีมีอาการรุนแรงควรพบแพทยเพื่อรับ การรักษา ไมควรใชดางทับทิมรวมกับฟอรมาลิน ควรเก็บดางทับทิมใน สถานที่ ที่ไมถูกแสงและเก็บใหพนมือเด็ก ผื่นแพสัมผัสรองเทา ผื่ น แพ สั ม ผั ส รองเท า เกิ ด ได กั บ ทุ ก เพศทุ ก วั ย และทุ ก อาชี พ มีรายงานพบบอยพอสมควร ทั้งนี้เพราะอากาศรอนอบอาวมีสวนที่ทําให เหงื่อออกมากและเหงื่อจะเปนตัวละลายสารกอภูมิแพจากรองเทาซึ่งจะทํา ใหการแพรองเทาเกิดงายขึ้น ปจจัยที่สงเสริมใหเกิดผื่นสัมผัสจากรองเทา 1. ความคับ การเสียดสีของรองเทากับเทา 2. เหงื่อและความชื้นภายในรองเทา 3. คุณภาพของรองเทา เชน การหลุดสารเคมีออกมาจากหนัง คุณภาพไมดี ทําใหสวมใสรองเทาแลวมีอาการคัน
  • 22. 16 สาเหตุ ผื่นแพสัมผัสรองเทาเกิดจากการแพมากกวาเกิดจากการระคาย ซึ่งเกิดไดหลายสาเหตุดังนี้ แพหนังรองเทา สารกอภูมิแพในหนัง คือ สารที่ใชฟอกหนัง ทําใหหนังแข็ง เชน โครเมียม (โครเมต) ฟอรมาลดีไฮด (ใชในการฟอก หนังสีขาว) ครูตารแอลดีไฮด (ใชฟอกหนังทําใหรองเทาทนทาน) หรือสีที่ ใชยอมหนังก็มีรายงานการแพ เชน พาราฟนิลีนไดอะมีน พีอะมิโนเบนซีน เปนตน แพยางและยางสังเคราะห ปจจุบันยางที่ใชในการทํารองเทามี มากขึ้นเนื่องจากความทนทานและไมเปยกน้ํา สารที่พบทําใหเกิดการแพ มาก คือ สารที่ใชเปนตัวเรงในการผลิตยางที่พบบอยที่สุด คือ เมอรแคปโทเบนโซไธอะโซล, โมโนเบนซิล, อีเธอรของไฮโดรควิโนน และ ไธยูแรม เปนตน พลาสติกและกาว พลาสติกใชกันมากขึ้น เพื่อทดแทนยางและ หนังในการทํารองเทา พลาสติกใชทําตัวรองเทา สวนกาวใชยึดรองเทา ใหติดแนน สารที่ทําใหเกิดการแพ คือ บีสฟนอลเอ, โพลียูรีเธน เปนตน นอกจากนั้นยังพบอาการระคายจากขอบรองเทาพลาสติกไดดวย สารอื่นๆ เชน อาจแพโลหะนิกเกิลที่ใชประดับรองเทา, น้ํามัน หอมระเหย, สารฆาเชื้อ รวมไปถึงตัวยาขัดรองเทา
  • 23. 17 อาการ จะพบผิวหนังอักเสบกึ่งเรื้อรัง และเรื้อรังมักพบบริเวณหลังเทา หลังนิ้ว และบริเวณที่สัมผัสกับรองเทาโดยตรง มักจะเปนผื่นแพที่เทาทั้ง สองขาง หรืออาจพบเพียงขางเดียวก็ได ลั ก ษ ณ ะ ผิ ว ห นั ง อั ก เ ส บ เนื่ องมาจากการระคายหรื อ แพสารที่ทําใหเกิดผื่นแพจาก การสวมรองเทา
  • 24. 18 ในปจจุบันมีสารเคมีที่ใชเปนสวนประกอบในการทํารองเทามาก นับเปนหลายรอยชนิด ดังนั้นโอกาสที่เกิดการระคายหรือแพสารเหลานี้ก็ มีมากเชนกัน การคนหาสาเหตุที่เปนตนเหตุไมใชของงายนัก การใชสาร ทดสอบชุดมาตรฐานและหรือชิ้นสวนของรองเทาผูปวยมาทดสอบหาสาร กอภูมิแพโดยตรงดวยวิธีการปดบนผิวหนังจะชวยคนหาสาเหตุไดเฉพาะ วาแพหนังหรือยางเทานั้น เนื่องจากบริษัทผลิตรองเทาใชสารแตกตางกัน ไป การที่จะหาสารกอภูมิแพใหครอบคลุมหลายๆ ตัวทําใหสิ้นเปลืองและ เสียเวลาทั้งผูทําและผูปวย ดังนั้นการศึกษาหาความรูเรื่องโรค การรูจัก สั ง เกตอาการตนเอง รวมทั้ ง การดู แ ลป อ งกั น ไม ใ ห เ กิ ด โรคจึ ง เป น สิ่ ง สําคัญยิ่ง การดูแลตนเองเบื้องตน ปฏิบัติดังนี้ 1. ไมควรซื้อยาใชเองควรไปตรวจและปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญ ดานโรคผิวหนัง เพื่อคนหาสาเหตุที่แทจริงวาเปนผื่นแพสัมผัสจากรองเทา หรือไม 2. รักษาผื่นผิวหนังอักเสบ ตามระยะที่เปนอยู ภายใตการ บําบั ด รั กษาของแพทย เนื่องจากผื่ นแพสั ม ผัสจากรองเท าเปน ผื่นแพ ที่ เรื้อรัง การรักษาตองใชเวลานาน
  • 25. 19 3. ควรสวมใสรองเทาที่ไมคับจนเกินไป ทําใหโอกาสที่รองเทาจะ สัมผัสแนบแนนกับผิวหนังนอย หรืออาจทาครีมที่ทําใหผิวหนังนุม ทาบริเวณเทาสวนที่สัมผัสแนบแนนกับรองเทาเพื่อใหเทาลื่นไมเสียดสีกับ รองเทามากนัก 4. ควรหลีกเลี่ยงภาวะที่ทําใหเหงื่อออกมาก หรือสวมรองเทา เปยกน้ํ า เพราะรองเทาที่ เปยกน้ําจะปลอยสารก อภู มิ แพ ออกมางายขึ้ น โดยเฉพาะอยางยิ่ง ภาวะที่มีเหงื่ออาจใชแปงโรยเทากอนสวมรองเทา หรือ เลือกรองเทาโปรง ที่ระบายความรอนไดดี 5. เลื อ กใช ร องเท า ที่ ทํ า จากสารที่ ต นเองไม แ พ เช น คนที่ แ พ รองเทายางก็ใชรองเทาที่ทําดวยพลาสติก เชน โพลีไวนิลคลอไรด หรือ รองเทาหนั งล วนๆ หากแพห นังก็ตองใชร องเท าพลาสติ ก รองเทา ยาง หรือที่ทําดวยผาหรือรองเทาไม ในกรณีมีเหตุจําเปนไมสามารถเลือกใช รองเทาได ควรใชรองเทาที่มีแบบตางๆ กัน เชนมีลายไขวหลายๆ แบบ เพื่อจะไดไมสัมผัสซ้ําที่เดิมตลอดเวลา หรือสวมถุงเทาปองกันไมใหเทา สัมผัสกับรองเทาที่สวมใสโดยตรง
  • 26. 20 ผื่นแพสัมผัสโลหะ โลหะที่ทําใหเกิดผื่นแพสัมผัสมีหลายชนิด โลหะที่พบทําใหเกิด การแพบอยที่สุดในประเทศไทย คือ โครเมียม, นิกเกิลและโคบอลต อาจ พบการแพจากโลหะอื่นๆ อีก เชน อลูมิเนียม, พลวง, สารหนู, เบริลเลียม, ทองแดง, สังกะสี, ตะกั่ว, ดีบุก, ทองแคดเมียม, คารบอน, เหล็ก, พาลาเดียม, แพลทินัมและเงิน เปนตน การสัมผัสกับโลหะอาจสัมผัสไดจาก 1. โลหะผสม ที่ใชเปนอุปกรณตางๆ เชน เครื่องประดับตางๆ เครื่องมือ เครื่องใชตางๆ ลูกบิดประตู เหรียญเงิน ฯลฯ 2. ในสบูและผงซักฟอก พบพวกนิกเกิล โคบอลต และโครเมียม ปะปนอยู 3. ในเครื่องสําอาง ใชเปนสารที่ทําใหเกิดสี เชน สีที่ใสในสีแตง ตา โลหะในสีคือ ตะกั่ว ทองแดง และเงิน 4. ในสีที่ใชสัก โดยปกติใชโลหะที่ทําใหเกิดสีตางๆ 5. ในอุ ต สาหกรรมและการประกอบอาชี พ เช น โครเมี ย มใน ปูนซีเมนต, นิกเกิล, โครเมียมและโคบอลต, ในน้ํามันหลอลื่น, น้ํามันเครื่องตางๆ, อุตสาหกรรมทําเครื่องประดับ, เครื่องเคลือบโลหะ, เครื่องกล, แบตเตอรี่, กระเบื้องเคลือบ, ชุบโลหะ เปนตน
  • 27. 21 6. ในอาหาร พืช ผัก ผลไมบางชนิดมีโลหะ นิกเกิล, โคบอลต, โครเมียมปนเปอนอยู ปจจัยที่สงเสริมใหเกิดผื่นแพสัมผัสโลหะ 1. เหงื่อ เนื่องจากเหงื่อมีโซเดียมคลอไรด (เกลือ) อยู ซึ่งจะละลาย โลหะออกมาทํ า ให เ กิ ด ผื่ น ระคายสั ม ผั ส ได และยิ่ ง ความเป น กรดมาก ระยะเวลาที่สัมผัสกับเหงื่อมากขึ้น จะสงเสริมใหโลหะถูกกัดออกมามาก ขึ้น 2. การกดและเสี ย ดสี เ ป น เวลานาน เช น การใช เ ครื่ อ งประดั บ แหวน, ตุมหู, หัวเข็มขัด จะพบผื่นแพสัมผัสบอยกวาการใชนาฬิกาที่ใส หลวมๆ 3. โลหะที่ปลอยสารออกมาไดงาย เชน เหล็กกลาที่คุณภาพไมดี จะปลอยนิกเกิลออกมางายกวาชนิดคุณภาพดี 4. อุณหภูมิที่รอน จะปลอยนิกเกิลออกมาไดงายกวาอุณหภูมิที่ เย็น 5. ภาวะความเปนกรด นิกเกิลจะสลายไดดี ในภาวะที่เปนกรด
  • 28. 22 อาการ ผื่นแพโลหะ (สายนาฬิกา) ผื่นแพโลหะ (เข็มขัด) ผื่นแพโลหะ (ตุมหู) ปฏิกิริยาของผิวหนังจากการสัมผัสโลหะมีอาการแสดงหลายอยาง ไดแก 1. จากการระคาย - ผื่นผิวหนังอักเสบ เกิดแผล จากโครเมียมและสังกะสี - จุดเลือดออก จากการถูผิวหนังดวยเหรียญโลหะบอยๆ
  • 29. 23 2. จากการแพ - เกิ ด ในรู ป แบบผิ ว หนั ง อั ก เสบบริ เ วณที่ สั ม ผั ส กั บ โลหะ แต บ างครั้ ง หากการสัม ผัส นั้น เกิ ด จากการสั ม ผั ส ในอุ ต สาหกรรม เช น จากน้ํามันหลอลื่นอาจทําใหเกิดการกระจายไปทั้งตัวได หรืออาจเกิดผื่น เรื้อรัง หากมีการสัมผัสอยูเรื่อยๆ พบกันมากที่สุดในอาชีพชางปูน, ชางโลหะ, ชางแบตเตอรี่, ชางชุบโลหะ ฯลฯ - เกิดในรูปแบบอื่นๆ เชน ผื่นนูนแดง, บวมแบบลมพิษ หรือ ตุมนูนมีสะเก็ด, ตุมน้ําพองมีแผล เปนตน 3. จากการเปลี่ยนแปลงสีของผิวหนัง เชน สีคล้ําจากเงิน, เหล็ก นิกเกิล, สีของขนเปลี่ยน คือ สีเขียวจากทองแดง สีขาวจากโคบอลต สีดํา จากเงิน สีของเล็บเปลี่ยนเปนคล้ําเขมจากปรอท ตะกั่ว เงินและโครเมียม การดูแลตนเองเบื้องตน โลหะที่มีรายงานการแพสวนใหญไดแก นิกเกิล โครเมียมและ โคบอลต ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ คําแนะนําสําหรับผูที่แพนิกเกิล นิกเกิล มักใชผสมอยูในโลหะเพื่อเพิ่มความแข็งใหลักษณะเปน มันวาว ผูแพนิกเกิล ปฏิบัติดังนี้
  • 30. 24 1. ผื่น ที่ มือ พิจารณาเลี่ยงสิ่ งที่มีนิกเกิล เปน สวนประกอบ เช น ไฟแช็ค, ปลอกลิปสติก, ปากกา, ดินสอ, กรรไกร, เข็ม, มีดโกนหนวด, ลูกบิดประตู, กระเปาถือ, อุปกรณในครัว, แปนพิมพดีด, แฮนดจักรยาน, รม เปนตน 2. ผื่นบริเวณศีรษะ ใบหนา หนังตา พิจารณาเลี่ยงกิ๊บติดผม, มวน ผม, ที่ดัดขนตา, ตุมหู, กรอบแวน, แทงลิปสติก ฯลฯ 3. กรณีจําเปนตองสัมผัสกับนิกเกิล ใหเลือกใชถุงมือพลาสติก (เนื่องจากนิกเกิลจะสามารถซึมผานถุงมือยางได) 4. การเคลือบวัสดุดวยยาทาเล็บ โพลียูรีเทน หรือการหุมวัสดุดวย ผา เทป สามารถชวยบรรเทาไดชั่วคราว เพราะนานไปเหงื่อสามารถจะ ละลายเอานิกเกิลในโลหะออกมาได แมจะมีเสื้อผา ยาทาเล็บ เทปกั้นอยู ระหวางวัตถุกับผิวหนัง 5. โลหะหลายชนิดจะมีนิกเกิลเปนสารผสม แมกระทั่งทอง 14 เค แต ท า นจะสามารถเลื อ กใช วั ส ดุ ที่ ทํ า จากทอง พลาติ นั่ ม เงิ น พลาสติ ก ทองเหลือง ฯลฯ 6. ระมัดระวังในการเลือกใชเสื้อผาและเครื่องแตงกาย ดังตอไปนี้ ยกทรงเสริมโครง ซิป ตะขอ หัวรองเทาและเข็มขัด เหรียญตรา นาฬิกา กระดุม กางเกงยีนส ฯลฯ 7. เลือกเครื่องประดับ เชน สรอย, กําไล, แหวน, ตุมหู ทําจาก ทอง ไม ควรใชเครื่องประดับชุบ ซึ่งจะปลดปล อยนิกเกิ ลออกมา หรื อ
  • 31. 25 อาจจะเคลือบเครื่องประดับดวยยาทาเล็บ หรือ พลาตินั่ม หามใชพาลา เดียม เพราะอาจพบแพรวมกับนิกเกิลได 8. เงินเหรียญสวนใหญ ไมทําใหเกิดผื่น หากไมมีเหงื่อออกมาก หรือไมถือนานๆ (เกิน 3 นาที) แตอาจทําใหเกิดผื่นไดหากใสในกระเปา กางเกงไว เ ป น เวลานาน ดั ง นั้ น ควรเก็ บ เหรี ย ญไว ใ นถุ ง หรื อ กระเป า พลาสติก 9. กุญแจโลหะ สามารถเลือกใชกุญแจอลูมิเนียมแทน 10. ระวังของใชในบาน เชน จักรเย็บผา, เข็ม, กรรไกร, คลิปหนีบ กระดาษ หรือใหเลือกใชเกาอี้ไมแทนโลหะ ใชเบาะรองนั่งและเบาะรอง แขนที่ทําดวยผาเนื้อหนา 11. เลือกใชกรอบแวนตาพลาสติกแทนกรอบโลหะ 12. การรักษาทางการแพทย ทันตกรรม ควรแจงใหแพทยทราบ เรื่องการแพนิกเกิลเพื่อเลี่ยงอุปกรณที่มีนิกเกิลเปนสารผสม 13. นิกเกิลในอาหาร การรับประทานนิกเกิลในอาหารอาจทําให เกิ ด มี ผื่ น ลั ก ษณะตุ ม น้ํ า ใสที่ บ ริ เ วณนิ้ ว แม จ ะไม ไ ด สั ม ผั ส กั บ นิ ก เกิ ล โดยตรง กรณีทานแพนิกเกิลควรทําอาหารในภาชนะเทฟลอน อลูมิเนียม อีนาเมลแทน เนื่องจากอาหารบางอยางอาจทําให สแตนเลสปลอยนิกเกิล ออกมาขณะหุงตม
  • 32. 26 14. น้ําประปา : น้ํา 1 ลิตรแรกที่ไหลจากกอกตอนเชา ไมควร นํามาใชดื่ม หุงตมอาหาร และหลีกเลี่ยงอาหารกระปอง 15. กรณีทานพยายามหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับนิกเกิลแลว ผื่นไมดี ขึ้น ควรพยายามหลีกเลี่ยงนิกเกิลในอาหาร โดยจะเห็นผลหลังจากการ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีนิกเกิล ภายใน 1 - 2 เดือน อาหารบางอยางสามารถทํา ใหผื่นแพที่เกิดจากนิกเกิลเหอมากขึ้น ฉะนั้ น อาหารที่ มี ส ารนิ ก เกิ ล เจื อ ปนอยู ใ นปริ ม าณมาก ที่ ค วร หลีกเลี่ยง มีดังนี้ ประเภทอาหารทะเล กุงฝอย หอยแมลงภู หอยนางรม ปลาทูนา ปลาเมคเคอเรล ประเภทผัก ถั่ว (ชนิดเมล็ดสีเขียว น้ําตาล หรือขาว) กะหล่ําปลี ตนหอม ผักกาดหอม ผักขม หนอไมฝรั่ง แครอท เห็ด มะเขือเทศ ประเภทเมล็ด ขาวโพด ขาวฟาง ขาวโอด รําขาวสาลี ขาวที่ไมขัดสี รวมทั้งขนมปงที่ทํามาจาก ขาวเหลานี้ ประเภทผลไม อินทผลัม เกาลัด มะเดื่อ สัปปะรด ลูกพรุน ประเภทเครื่องดื่ม เบียร ไวท ช็อกโกเลต นมถั่วเหลือง เครื่องดื่มที่มีโคคาและชา
  • 33. 27 อื่นๆ อัลมอนด ผงฟู (ในปริมาณมาก) น้ํามันเมล็ดฝาย ชา วิตามินที่มีนิกเกิล อาหารที่ มีถั่วผสม รสหวานที่มีช็อกโกเลตผสมอยู คําแนะนําสําหรับผูที่แพโครเมียม โครเมียม เปนโลหะชนิดหนึ่งซึ่งเกิดในธรรมชาติ พบโครเมียม ในน้ํา ดิน หิน ซึ่งพบไดทั่วไป ผูที่แพโครเมียมควรหลีกเลี่ยงการสัมผัส สิ่งตอไปนี้ 1. โลหะชุบ หรือเคลือบดวยโครเมท /โครเมียม 2. เครื่องหนัง เนื่องจากใชสารโครเมทในการฟอกหนัง ทําให หนังแข็ง เชน รองเทา เข็มขัด สายนาฬิกาหนัง ถุงมือ ฯลฯ 3. อุตสาหกรรมกอสราง เชนปูนซีเมนต ฯลฯ 4. สารฟอกสี เชน ผงซักฟอก, น้ํายาฟอกผาขาว, น้ํายาลางแกวใน หองปฏิบัติการ ฯลฯ 5. สี เชน สีทใชทาแกว, พลาสติก, หมึกเขียน, สียอมผา, สียอม ี่ ขนสัตว, สีเขียวที่ใชยอมเครื่องแบบทหาร, สักหลาด, สีที่ใชสัก (สีเขียว), สีเคลือบเงา (สีเขียว เหลือง สม) 6. น้ํายาเคลือบกันสนิม, น้ํามันเครื่อง, น้ํายาลางภาพสี, โรเนียว, หมึกแหง, หมึกพิมพ, ขี้ผึ้งขัดพื้น, น้ํายาขัดรองเทา
  • 34. 28 7. อุตสาหกรรมรถยนต สิ่งพิมพ เซรามิก หลอโลหะ เชื่อมโลหะ ฯลฯ 8. หัวไมขีดไฟ ขี้เถาจากไมน้ํามันและกระดาษ กาวที่สกัดจาก หนัง 9. ขบวนการผลิตโทรทัศน อัลลอยดและวัตถุระเบิด กรณีพยายามเลี่ยงการสัมผัสกับโครเมียมแลวผื่นยังไมดีขึ้นอาจ ลองงดอาหารที่มีโครเมียม เชน มันฝรั่ง, เห็ด, ถั่วลันเตา, ลูกพรุน, เครื่องเทศ, ชา, หัวหอมใหญ, ขาวโพด, เบียร, โกโก, แอปเปล, ไข, ไวน, ช็อกโกแลต เปนตน คําแนะนําสําหรับผูที่แพโคบอลต โคบอลต เปนโลหะสีเทาเงินพบในโลหะผสม มักพบอยูรวมกับ นิกเกิลและโครเมียม โดยในธรรมชาติจะพบปะปนอยูกับนิกเกิลผูที่แพ โคบอลตควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสสิ่งตอไปนี้ 1. สีที่ทําใหเกิดสีน้ําเงิน ในเครื่องลายคราม เครื่องปน เครื่อง เคลือบ กระเบื้อง ถวยชาม แกว แวนตา ยาง พลาสติก ฯลฯ 2. พบรวมกับโครเมท ในปูนซีเมนต ผงซักฟอก 3. สีเทียน สีใชวาดภาพ สีหมึกพิมพ สีน้ําเงินที่ใชสัก สียอมผม ใหเปนสีน้ําตาลออน 4. ครีมระงับเหงื่อ สารเคลือบฟน
  • 35. 29 5. เปนตัวเรงในอุตสาหกรรมเสนใยสังเคราะห และ เครื่องปนดินเผา 6. ปุย อาหารสัตว 7. อุตสาหกรรมผลิตในโลหะหนัก เสนใยสังเคราะห โพลีเอสเธอร สี ซีเมนต เครื่องปนเซรามิก น้ํามันหลอลื่น 8. ผูที่แพโคบอลต อาจแพวิตามินบี 12 ชนิด กิน ฉีด และมี โอกาสแพรวมกับนิกเกิล โครเมท การหลีกเลี่ยงอาหารบางชนิด อาจทํา ใหผื่นแพดีขึ้นในบางราย อาหารที่ควรเลี่ยง เชน ชา, กาแฟ, เบียร, โกโก, ช็อกโกแลต, ถั่ว, หัวผักกาด, ผักกะหล่ํา, กานพลู, ตับ เปนตน ผื่นแพสัมผัสแมลงดวงกนกระดก
  • 36. 30 ดวงกนกระดก ดวงปกสั้น หรือดวงกนงอน อยูในตระกูลพีเดรัส พบกระจายทั่วโลก สําหรับประเทศไทย คาดวามีประมาณ 20 ชนิด ในชวงฤดูฝน จะอาศัยและวางไขในพงหญาชื้น มีระยะเวลาการเติบโต 4 ระยะ ดังนี้ 1. ระยะไข โดยปกติแลว จะพบเห็นการวางไขในพื้นที่ที่มี ความชื้นสูง เชน ในดินรวนที่มีวัตถุเนาเปอยปกคลุม ที่ใกลแหลงน้ํา ซึ่ง หางจากผิวน้ําเล็กนอย วันหนึ่งตัวเมียจะวางไขไดหลายฟอง โดยจะใช เวลาในการฟก 2 - 5 วัน จึงฟกเปนตัวออน 2. ตัวออน ลําตัวคอนขางยาว สามารถเห็นหัวไดชัดเจน ดํารงชีพ ดวยการกินวัตถุเนาเปอยและหนอนเล็กๆ ใชเวลา 6-10 วัน จึงจะเปน ดักแด 3. ดักแด ลักษณะใกลเคียงกับดักแดผีเสื้อ แตมีขนาดเล็กกวามาก ใชเวลา 3-4 วัน จึงจะเปนตัวเต็มวัย 4. ตัวเต็มวัย มีรูปรางลักษณะตัวแกยาวประมาณ 7-10 มิลลิเมตร กวาง 0.5-1 มิลลิเมตร สวนหัวแบนสีดํา ปกสีน้ําเงินเขม สวนหนาอก และทองแบน สวนทองแบงเปน 6 ปลอง 4 ปลองแรก มีสีแดงหรือสม สวนที่เหลือเปนสีดํา เคลื่อนที่ไดรวดเร็วและมักจะกระดกสวนทองขึ้นลง เมื่อเกาะอยูกับพื้น ลักษณะนิสัยเชนนี้ เชื่อวากระทําเพื่อปองกันตัว จึงได ชื่อวา “ดวงกนกระดก” ชอบอาศัยอยูตามพื้นดินที่ชุมชื้นใกลแหลงน้ําที่มี
  • 37. 31 พืชปกคลุม เชน ใกลรองน้ําในแปลงปลูกผัก พืชไรตางๆ และนาขาวที่มี น้ํา มักชอบเลนไฟในตอนกลางคืน แสงไฟฟาแรงสูงหรือแสงนีออน จะ เปนสื่อทําใหแมลงชนิดนี้เขาไปในบานไดอยางดีและเพิ่มมากขึ้นในชวง หลังฝนตก มักจะมีปริมาณมากทําใหระบาดไดในฤดูหนาวไปจนถึงปลาย ฤดูรอน คือ ประมาณเดือนธันวาคมไปจนถึงเดือนมิถุนายนในปถัดไป การไดรับพิษ โดยปกติดวงกนกระดกจะไมกัดหรือตอยคน แตคนจะไดรับพิษ จากสารพิษที่ปลอยออกมาจากตัวแมลง ซึ่งเมื่อเราสัมผัสตัวแมลงแลวมัน จะปลอยสารพิษที่มีชื่อวา “พีเดริน” ออกมาซึ่งเปนสารที่มีฤทธิ์ทําลาย เซลลเนื้อเยื่อเมื่อถูกผิวหนังจะอักเสบแสบรอนพุพองบวมแดงได ในสมัยโบราณใชสารพีเดริน เปนยาสมุนไพรรักษาโรคผิวหนัง บางชนิด เชน ในประเทศจีนใชรักษาจี้หัวฝ ริดสีดวงจมูก เปนตน แตใน ระยะหลังมักจะไดยินการระบาดของโรคผิวหนังจากสารพีเดรินมากขึ้น อันตรายจากการสัมผัสสารพีเดริน มีตั้งแต อาการเล็กนอย คือ ผื่นแดง แสบรอนผิวหนัง อาการปานกลาง เปนผื่น บวมแดงแสบรอนผิวหนัง ภายใน 24 ชั่วโมง หลังสัมผัสและเริ่มมีแผลพุพองภายใน 48 ชั่วโมง แผลอักเสบ
  • 38. 32 ขยายใหญขึ้นและแหงเปนสะเก็ด อาจมีแผลเปนหลังจากนั้น ผิวหนังจะ คอยๆ สรางเม็ดสีขึ้นมาใหม ซึ่งอาจใชเวลาเปนเดือนหรือมากกวา อาการรุนแรง มักคลายๆ กับอาการปานกลาง แตการสัมผัส หรือไดรับสารพีเดรินรุนแรงมากกวาและเปนแผลอักเสบหลายตําแหนง อาจมีอาการไขปวดเสนประสาท กลามเนื้อ อาเจียนรวมดวย และเปนผื่น บวมแดงติดตอกันหลายเดือน หากเขาตาก็จะทําใหตาอักเสบ ปลอยทิ้งไว อาจทําใหตาบอดได
  • 39. 33 การปองกันและการควบคุม หากมองในแงความสมดุลทางระบบนิเวศวิทยา แมลงดวงกระดก มีประโยชนทางดานเกษตร คือ เปนตัวที่กินแมงและแมลงที่เปนศัตรูพืช โดยเฉพาะชอบกินเพลี้ยออน ศัตรูขาวโพด มันเทศและยังชวยปราบแมลง ศัตรูขาวใหนอยลง ดังนั้นหากไมมีการระบาดมากมายก็ไมจําเปนตองใชสารเคมีกําจัด แมลง เนื่องจากในธรรมชาติแมลงชนิดนี้ก็มีศัตรูธรรมชาติชวยทําลายมัน อยูแลว ได แก ไรดิน แมงมุม เปนตน ฝนและความแหงแลงก็ ทําให แมลงชนิดนี้ตายไดโดยธรรมชาติเชนกัน การดูแลตนเองเบื้องตน ปฏิบัติดังนี้ 1. ลดกําลังสองสวางของแสงไฟฟาในหองทํางานโดยการติดตั้ง ใหต่ําลงหรือใชโปะบังคับใหสองสวางในบริเวณที่ตองการ 2. อยูในหองมุงลวดในเวลากลางคืนหากบังเอิญแมลงไตตามตัว อยาไปตบตีใหน้ําพิษออกมา กรณีถูกน้ําพิษใหลางดวยน้ําหรือสบูหรือเช็ด ทันทีดวยแอมโมเนียอยาไปเกาจนทําใหแผลลามออกไป ในรายที่มีอาการ รุนแรงควรไปพบแพทย
  • 40. 34 3. กรณีสัมผัสพิษเขาตา ควรลางดวยน้ําสะอาดหลายๆ ครั้งแลว รีบไปพบแพทย 4. ระมัดระวังและหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับแมลงดวงกนกระดก หากพบแมลงชนิดนี้บนพื้นบาน พยายามไลหรือกําจัดออกโดยใชกระดาษ รองแลวนําออกไปทิ้ง ลางมือหรือผิวหนังบริเวณที่สัมผัสดวยน้ําทันที 5. ก อ นนอนควรป ด ไฟ ประตู หน า ต า ง หรื อ นอนกางมุ ง และ สํารวจเตียงนอนกอนวามีแมลงที่อาจเปนพิษอยูหรือไม 6. ในขณะนอนหลับ อาจนอนทับ หรือบี้แมลงโดยไมรูสึกตัว ควรอาบน้ําหรือทําความสะอาดเครื่องนอน เสื้อผาทันที ผื่นแพสัมผัสเครื่องสําอาง ปจจุบันเครื่องสําอางมีสวนเกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของทุกคน กอนอื่นมาทําความรูจักกับเครื่องสําอางกอนวามีอะไรบางที่เรามีโอกาส สัมผัส เครื่องสําอาง หมายถึง วัตถุที่ใช ทา ถู นวด โรย พน หยด ใส อบ หรื อ กระทํ า ด ว ยวิ ธี อื่ น ใดต อ ส ว นหนึ่ ง ส ว นใดของร า งกายโดยมี วัตถุประสงค ดังนี้ 1. เพื่อทําความสะอาด เชน สบู, ยาสีฟน, แชมพู, ครีมทําความ สะอาดผิว ฯลฯ
  • 41. 35 2. เพื่อความสวยงาม เชน แปง, ลิปสติก, สียอมผม, เครื่องสําอาง สําหรับตา ฯลฯ 3. เพื่อใหเกิดความหอมสดชื่น เชน น้ําหอม, ยาระงับกลิ่น ฯลฯ 4. เพื่อปองกันอันตรายของผิวหนัง เชน ยากันแดด, ครีมบํารุงผิว ใหชุมชื้น ฯลฯ โดยปกติกระทรวงสาธารณสุขกําหนดใหเครื่องสําอางตองมีฉลาก ระบุประเภทผูผลิต วิธีใชและปริมาณสุทธิขั้นต่ําของสารที่สําคัญแตไมได บอกทั้ ง หมด ดั ง นั้ น ผู ที่ ใ ช เ ครื่ อ งสํ า อางจึ ง อาจจะต อ งเสี่ ย งจากการที่ เครื่องสําอางมีความเขมขนของสารมากเกินกวาที่กําหนดไว เสี่ยงจากการ ใชเครื่องสําอางผิดวิธี ผิดวัตถุประสงค โดยอาจไมรู หรือละเลย คําแนะนําในฉลาก เชน เครื่องสําอางที่สงมาขายจากตางประเทศ มักไมมี คําอธิบายเปนภาษาไทย บางอยางทาแลวตองลางออก แตไมไดลางก็อาจ ทําใหเกิดการระคายตอผิวหนังได หรือความเปนดางของเครื่องสําอาง กรณีมีความเปนดางมากทําใหเกิดการระคายไดงายรวมทั้งตําแหนงที่ใช เชน รอบ-ดวงตา ก็มีความเสี่ยง ฉะนั้นจึงควรระมัดระวังการใชให มากกวาที่อื่น ผลขางเคียงจากการใชเครื่องสําอาง ผื่นแพสัมผัส ผื่นระคายสัมผัส
  • 42. 36 ผื่นแพสารและแสง ผื่นลมพิษสัมผัส ผลจากการดูดซึมของสารหรือการสะสมของสารอาจทําใหเกิด พิษในระยะยาวผื่นลมพิษสัมผัสพบคอนขางนอย ในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะ ผื่น แพ สั ม ผั ส และผื่น ระคายสั ม ผั ส ซึ่ ง เป น สิ่ งที่ พ บบ อ ยกว า ป ญ หาจาก เครื่องสําอางจริงๆ แลวสวนมากเปนการระคายเคืองมากกวาการแพ แต การที่แพทยผิวหนังจะใหการวินิจฉัยวาเปนการแพ ระคายเคืองหรือไมนั้น ตองอาศัยการซักประวัติ ตรวจรางกายและการทดสอบภูมิแพโดยการปด สารทดสอบบนผิวหนัง (Patch test) เพื่อคนหาสาเหตุที่แทจริงของการแพ สารนั้นๆ เครื่องสําอางที่ทําใหเกิดผื่นสัมผัส จําแนกประเภทตามการใชประโยชน ดังนี้ 1. เครื่องสําอางสําหรับผม ซึ่งมีหลายประเภท ดังนี้ แชมพูสระผม ประกอบดวยน้ําสารลดแรงตึงผิว สารทํา ใหเกิดฟอง สารกันเสีย สี น้ําหอม อื่นๆ เชน โปรตีน สารขจัดรังแค ฯลฯ แชมพูสระผมพบวาแพนอยมาก เพราะระยะเวลาที่สัมผัสกับผิวหนัง นอย สวนมากมักเกิดการระคายจากการใชแชมพูมากเกินไปบอยเกินไป เชน สระทุกวันแตละครั้งใชแชมพูลาง 2-3 ครั้ง จะทําใหผิวหนังแหงลอก
  • 43. 37 เปนขุย คัน เหมือนเปนรังแค ตอไปอาจทําใหผมรวงเปราะงายบางรายอาจ เกิดอาการผื่นคันขึ้นที่หนาแทนได สียอมผม ตัวที่ทําใหเกิดการแพมากที่สุด คือ สียอมผม ถาวร สารที่ทําใหเกิดสีดํา คือ พาราฟนิลีนไดอะมีนและอนุพันธของมัน กอนใชจะผสมในน้ํายาไฮโดรเจนเปอรออกไซด เพื่อทําใหเกิดปฏิกิริยาให สารที่ ทํา ให เกิด สีดํา ผู ที่แพอาจจะมีผื่น ผิวหนัง อั ก เสบตามมาที่ ต นคอ, หลังหู, ใบหูไดดวย น้ํายาดัดผม มักเกิดการระคายจากความเปนดางของน้ํายา ที่ทําใหผมหยิกที่สําคัญ คือ ไธโอไกลโคเลต น้ํายายืดผม มีสารที่ใชอยูโดยทั่วไปมี 3 ชนิด คือ 2% โซเดียมไฮดรอกไซด 8–9% โซเดียมไบซัลไฟตและแอมโมเนียมไธโอไกลโคเลต สวนใหญพบวาเปนผื่นระคายสัมผัสในชางทําผมมากกวา คนที่ถูกยืดผม โดยจะมีจมูกเล็บอักเสบและเล็บเสียรูป น้ํามันใสผม นวดผม ตกแตงผมและสเปรย พบผื่นสัมผัส นอยแตมีรายงานการแพ เชน จากสี, น้ําหอม, สารขจัดรังแค, น้ํามันละหุง ฯลฯ น้ํายาฟอกสีผม สารที่พบทําใหเกิดการแพที่สําคัญ คือ แอมโมเนียเปอรซัลเฟต ซึ่งมีปฏิกิริยารุนแรงมีโอกาสทําใหเกิดลมพิษจาก การสัมผัส มีอาการคัดจมูก แนนหนาอกและช็อกหมดสติได
  • 44. 38 2. เครื่องสําอางสําหรับหนา มีหลายประเภท ดังนี้ ผลิตภัณฑทําความสะอาดหนา เชน ครีม, โฟม, สบูอาจ เกิดผื่นแพสัมผัสและเปนสิวจากสารที่ทําใหเปนฟอง สารกันเสีย น้ําหอม สารลดแรงตึงผิว แตพบนอยเพราะตองลางออก ผลิตภัณฑใหความชุมชื้น ทาแลวผิวหนังไมแหง สารกอ ภูมิแพสวนมากจะพบ ลาโนลิน พาราเบน น้ําหอมทําใหเกิด ผื่นแดงคัน นอกจากนี้อาจพบสีผิวเขมขึ้นจากการสัมผัสน้ําหอม แปง แปงรองพื้น แปงฝุนพบการแพนอยมาก แต แปงแข็ง อาจเกิดผื่นสัมผัสจากการแพสีและน้ําหอมที่ใสในแปง ครีมกันแดด ปจจุบันนอกจากมีครีมกันแดดโดยเฉพาะ แล ว ยั ง มี ก ารผสมสารกั น แดดลงในเครื่ อ งสํ า อางอย า งอื่ น เช น แป ง , ลิปสติก, ครีมใหความชุมชื้น การแพอาจจะเกิดจากแพสารกันแดดเอง หรือเกิดจากแพสารรวมกับแสง ที่พบบอย คือ สารกลุมพาราอมิโนเบนโซอิคเอซิด (PABA) นอกจากนี้ยังอาจแพครีม น้ําหอม สารกันเสียหรือสีที่ ผสมอยูได เครื่องสําอางสําหรับตกแตงตา ประกอบดวยครีมใหความ ชุมชื้นรอบดวงตา (eye cream) สีตกแตงขอบตา (eye liner) สีตกแตง เปลือกตา (eye shadow) ครีมปดขนตา (mascara) และดินสอเขียนคิ้ว
  • 45. 39 ผื่นแพสัมผัสสวนมากจะพบเกิดจากการแพสีทาเปลือกตาและนิกเกิลในที่ ดัดขนตา สารที่ทําใหเกิดผื่นระคายสัมผัสไดบอยคือ สีที่ใชนั่นเอง ลิปสติก ประกอบดวยไขมัน เชน ขี้ผึ้ง, ลาโนลิน, สีและ น้ํ า หอม โดยพบว า ริ ม ฝ ป ากมี ผื่ น เม็ ด เล็ ก ๆ คั น อาจแตกเป น แผลเป น ทั้งริมฝปากบนและลาง บางครั้งแพสารกันแดด สีและน้ําหอมที่เติมลงไป ยาสีฟน น้ํายาลางปาก ผื่นที่เกิดจากยาสีฟน มักเปนรอบๆ ปาก สารที่ทําใหแพไดแก ฟอรมาลดีไฮด, สารฆาเชื้อ, ยาปฏิชีวนะ, สาร แตงกลิ่นและสี, แอลกอฮอล, ฟลูออไรดและน้ําหอม, ฟลูออไรด เปนสาร ที่กอใหเกิดการแพนอย แตอาจทําใหเกิดสิวรอบๆ ปาก เปนตุมหนองได น้ํายาทาหลังโกนหนวด สวนประกอบสําคัญ คือ น้ําหอม แอลกอฮอล สี พบการแพหรือระคายนอย 3. เครื่องสําอางสําหรับระงับเหงื่อและดับกลิ่น สารที่ระงับ การหลั่งของเหงื่ อที่รั ก แร ที่นิ ย มใชมาก คื อ อลูมิเนียมคลอไรดเฮกซาไฮเดรดและเกลืออลูมิเนียมอื่นๆ นอกจากนี้ ยังมี สารฆาเชื้อ น้ําหอม พาราเบนและสารปรุงแตงอื่นๆ การระคายเกิดไดจาก การที่มี ความเปนดางสูงและจากการแพผื่นมักเปนที่ซอกบนสุดของรักแร 4. เครื่องสําอางสําหรับเล็บ เครื่องสําอางสําหรับเล็บ ไดแก น้ํายาเช็ดสีเล็บ ซึ่งเปน อะซิโตน ยาทาเล็บ