SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
การเคลื่อนที่
        แนวตรง
ระยะทาง คือ ระยะทางจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
ระยะกระจัด (S) คือ ระยะห่างจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
เช่น




       ระยะทางจากจุด A ไปจุด C เป็นได้ทั้ง AB+BC และ
AC ระยะกระจัดจากจุด A ไปจุด C เป็นได้แค่ AC เท่านั้น
       การหาระยะกระจัด เราใช้เพียงจุด 2 จุดเท่านั้นคือ
จุดเริ่มต้น กับจุดปลายแล้วเราก็ลากเส้นเชื่อมจุดไปเลยเส้น
ที่ได้นั้นคือระยะกระจัดนั่นเอง...เช่น นายสมชายอยู่บนตึก
ชั้น 2 ต้องการออกไปหน้าบ้านระยะทางคือการเดินของ
นายสมชายทั้งหมดคือ จากชั้นสอง เดินลงบันได เดินออก
จากบ้านแต่ระยะกระจัดคือระยะที่สั้นที่สุดคือ บินทะลุ
กำาแพงไปเลย
       นายสมชายต้องการไปหานางสมถวิล สาวที่ตนรักแต่
นายสมชายและนางสมถวิลอยู่คนละหมู่บ้านกันมีภูเขาลูก
ใหญ่เป็นอุปสรรคขวางกั้นระยะทางที่นายสมชายต้องเดิน
คือ เดินข้ามเขาไปยังอีกหมู่บ้านนั้นแต่ระยะกระจัดคือ เดิน
ทะลุเขาไปเลย
Ex.1
นายสมชายเดินไปทางทิศเหนือ 5 เมตรแล้วเดินต่อไปทาง
ทิศตะวันออก 6 เมตร
แล้วจึงเดินไปทางทิศเหนือต่ออีก 3 เมตรระยะทาง และ
ระยะกระจัดเป็นเท่าใด


วิธีทำา
ระยะทาง = 5 + 6 + 3 = 14 เมตร
ระยะกระจัด 2 = 62 + 82
              = 36 + 64
              = 100
ระยะกระจัด = 10 เมตร
อัต ราเร็ว คือ ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
ความเร็ว คือ ระยะกระจัดที่เคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
เช่น สมชายวิ่งรอบสนามหญ้ารูปสี่เหลี่ยมจัตตุรัส 6 รอบซึ่ง
กว้างด้านละ 25 เมตร ใช้เวลา 5 นาทีจงหาความเร็วและ
อัตตราเร็ว
ความเร็ว = 0(เพราะจุดเริ่มต้น และจุดสุดท้ายอยู่ณจุด
เดียวกัน ระยะกระจัดจึงเป็น 0)
อัตราเร็ว = ระยะทาง(เมตร) / เวลา(วินาที)
          = (25x4 x6) / (5x60)
          = 600 / 300
          = 2 เมตร/วินาที


ความเร่ง (a) คือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลามีหน่วย
เป็น ระยะทาง/เวลา 2 เช่น สมชายวิ่งด้วยความเร็ว 2 เมตร/
วินาที5 วินาทีต่อมาความเร็วของสมชายเปลี่ยนเป็น 7 เมตร/
วินาทีจงหาความเร่ง
ความเร่ง = ความเร็วที่เปลี่ยนไป(เมตร/วินาที) / เวลา(วินาที)
          =(v-u)/t
          =(7-2)/5
=5/5
        = 1 เมตร/วินาที2




            ที่ม าของสูต ร
ความเร่งเฉลี่ย   = (ความเร็วปลาย - ความเร็วต้น) / ช่วง
เวลา
           a     = (v - u) / t - 0
           a     = (v - u) / t
           v     = u + at

เมื่อ s = vt
หากมีความเร่ง ระยะกระจัดจะหาได้จาก
             ระยะกระจัด = ความเร็วเฉลี่ย x เวลา
                       = (ความเร็วต้น+ความเร็ว
ปลาย)/2 x t
                      s = ( u+v ) / 2 x t

เอา v จาก 1 มาแทน         s = [ u+ ( u+at ) ] / 2 x t
                          s = ( 2u + at ) x t /2
                          s = ( 2ut / 2 ) + (at2 / 2)
                          s = ut + at2/2

จาก 1 จะได้ว่า t = (v - u) / a
นำาค่า t นี้ไปแทนใน 2 ได้
s = [ (u + v) / 2 ] [(v - u) / a]
s = (v2 - u2) / 2a
v2 = u2 + 2as
การเคลื่อนที่
        แนวดิ่ง
      กาลิเลโอ ได้ทำาการทดลองให้เห็น
ว่า วัตถุที่ตกลงสู่พื้นโลกอย่างอิสระ จะ
เคลื่อนที่ภายใต้แรงดึงดูดของโลก ต่อ
มานิวตันสังเกตุเห็นว่า ทำาไมดวงจันทร์
ไม่ลอยหลุดออกไปจากโลก ทำาไมผล
แอปเปิ้ลจึงตกลงสู่พื้นดิน นิวตันได้
ทำาการศึกษาค้นคว้าต่อ จนในที่สุดก็
สามารถพิสูจน์ในเรื่องกฎแห่งการดึงดูด
ของ สสาร โดยโลกและดวงจันทร์ต่างมีแรงดึงดูดซึ่งกัน
และ กัน แต่เนื่องจากดวงจันทร์โคจรรอบโลก จึงมีแรงหนีสู่
ศูนย์กลางซึ่งต่อต้านแรงดึงดูดไว้ ทำาให้ดวงจันทร์ลอย
โคจรรอบโลกได้ แต่ผลแอปเปิ้ลกับโลกก็มีแรงดึงดูด
ระหว่างกัน ผลแอปเปิ้ลเมื่อหลุดจากขั้วจึงเคลื่อนที่อิสระ
ตามแรงดึงดูดนั้น
การตกอย่างอิสระนี้ วัตถุจะเคลื่อนตัวด้วยความเร่ง ซึ่ง
เรียกว่า Gravitationalacceleration หรือ g ซึงมีค่า
                                                 ่
ประมาณ 9.8m/s
การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งนี้จึงเป็นไปตาม กฎการเคลื่อ นที่
ดังนี้




ตัว อย่า งเช่น ขว้างหินจากชั้น 4 ของตึกขึ้นไปในแนวดิ่ง
ด้วยความเร็ว 10 m/s ณ จุดที่มีความสูง 14 เมตร จงหา
ว่าก้อนหินใช้เวลาอยู่ในอากาศนานเท่าใดจึง ตกถึงพื้น
และความเร็วขณะถึงพื้นเป็นเท่าใด
ระยะทาง




จากการคำานวณหาความเร็วสุดท้ายแทนค่าได้ v = u +
2gs
เมื่อทราบความเร็วต้น และความเร็วสุดท้าย v = (10) +
2(-9.81) x (-14) =374.7
ความเร็วต้นมีทิศเป็นลบ            v = 19.36
ความเร็วปลายมีทิศเป็นบวก
อัตราเร่ง g มีทิศตรงข้ามกับทิศทางที่ขว้าง จึงมีค่าเป็นลบ
การเคลือ นที่
       ่
แบบวงกลม
      เป็นการเคลื่อนที่โดยมีแรงกระทำาเข้าสู่ศูนย์กลางของวง
กลม และจะเกิดความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง ความเร็วจะมีค่า ไม่
คงที่ เพราะมีการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ โดยความ เร็ว ณ
ตำาแหน่งใดจะมีทิศสัมผัสกับวงกลม ณ ตำาแหน่งนั้น

สูต รการเคลื่อ นที่เ ป็น วงกลม
1. ความเร็วเชิงเส้น (v) และความเร็วเชิงมุม (                                 )

v=    x r ---> v = ความเร็วเชิงเส้น หน่วยเป็น เมตร/วินาที

                                    = ความเร็วเชิงมุม หน่วยเป็น
เรเดียล/วินาที
                   T= คาบการเคลื่อนที่ หน่วยเป็นวินาที

       f = จำานวนรอบที่วัตถุเคลื่อนทีได้ใน 1 วินาที หน่วยเป็น เฮิรตซ์ (Hz)
                                     ่


2. ความเร่งสู่ศูนย์กลาง
ac =ความเร่งสูศูนย์กลาง หน่วยเป็น เมตร/
     วินาที2


                 r = รัศมี หน่วยเป็น เมตร

            F = แรงสู่ศูนย์กลาง หน่วยเป็น นิวตัน (N)


3. แรงสู่ศูนย์กลาง
วัต ถุผ ูก เชือ กแล้ว แกว่ง ให้เ ป็น วงกลม




การเคลื่อ นที่เ ป็น วงกลมในแนวดิ่ง ( โดยแตก mg )




     การโคจรของดาว




r + h = รัศมีวงโคจร , T = คาบการหมุนของดาว
การเคลือ นทีแ บบ
             ่   ่
    ซิม เปิล ฮาโมนิค




การเคลื่อ นที่แ บบ Simple Harmonic ซิม เปิ้ล ฮาโม
    นิค สปริง การแกว่ง ลูก ตุ้ม
เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุกลับไปมา ผ่านตำาแหน่งสมดุล
เช่น การ สั่นของวัตถุที่ผูกกับสปริง หรือการแกว่งของลูก
ตุ้ม นาฬิกา ที่แกว่ง เป็นมุมน้อยๆ เป็นต้น

สปริง
การแกว่ง ลูก ตุ้ม




การเคลือ นที่แ บบ
       ่
โปรเจคไทล์
การเคลื่อ นที่แ บบโปรเจ็ก ไทล์
   เป็น การเคลื่อ นที่บ นระนาบแบบหนึ่ง ที่ม ีแ นว
การเคลื่อ นที่เ ป็น แนวโค้ง ซึ่ง จะมีก ารเคลื่อ นที่ใ น
แนวดิ่ง และแนวระดับ เกิด ขึ้น พร้อ มๆ กัน โดยที่

  •    การเคลื่อ นที่ใ นแนวดิ่ง เป็น การเคลื่อ นที่ด ้ว ย
      ความเร่ง เนื่อ งจาก แรงโน้ม ถ่ว ง
  •    การเคลื่อ นที่ใ นแนวระดับ เป็น การเคลื่อ นที่
      ด้ว ยความเร็ว คงที่
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์(Motion of a Projectile)
คือการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นแนวโค้ง
ในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่อย่างเสรีด้วยแรงโน้มถ่วงคงที่
    เช่น วัตถุเคลื่อนที่ไปในอากาศภายใต้แรงโน้มถ่วง
    ของโลก ทางเดินของวัตถุจะเป็นรูปพาราโบลา




1) ความเร่งในแนวระดับ (แกน x) = ศูนย์ นั่นคือ vx =
คงที่ = ux ไม่ว่าวัตถุจะอยู่ที่ตรงไหนก็ตาม
พิส ูจ น์ ไม่มีแรงในแนวแกน X กระทำาที่วัตถุ
จาก Fx = max
O = max
  ax = 0
จาก vx = ux + axt; ได้ vx = ux
2) ความเร่งในแนวดิ่ง (แกน Y ) = g
 พิส ูจ น์ มีแรงกระทำาที่วัตถุคือ w = mg ในทิศดิงลง่
 ตามแกน Y
 จาก Fy = may
 mg = may
         ay = g ทิศดิ่งลง
 3) เวลาที่วัตถุใช้เคลื่อนที่ตามแนวโค้ง = เวลาที่เงาของ
 วัตถุใช้เคลื่อนที่ตามแนวแกน X = เวลาที่เงาของวัตถุใช้
 เคลื่อนที่ตามแนวแกน Y
ตามรูปข้างบน สมมุติวัตถุวิ่งจาก O ไปตามทางโค้ง (เส้น
ประ) ถึง A (ทางโค้ง OA)
   เงาทางแกน X จะวิ่งจาก O ไปถึง B
เงาทางแกน Y จะวิ่งจาก O ไปถึง C
ดังนั้น tOA = tOB = tOC
4) ความเร็ว v ณ จุดใด ๆ จะมีทศสัมผัสกับเส้นทางเดิน
                               ิ
(เส้นประ) ณ จุดนั้น และ
(1) หาขนาดของ v โดยใช้สูตร



     เมื่อ vx = ux = ความเร็วในแนวแกน X vy =
     ความเร็วในแกน Y
(2) ทิศทางของ v หาได้โดยสูตร


    เมื่อ x = มุมที่ v ทำากับแกน X
    5) ณ จุดสูงสุด
    vx = ux
    vy = 0

More Related Content

What's hot

การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนChakkrawut Mueangkhon
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6Mu PPu
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลApinya Phuadsing
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอwattumplavittayacom
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นrumpin
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่นrumpin
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงuntika
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 

What's hot (19)

การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
mahin
mahinmahin
mahin
 
P11
P11P11
P11
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมแรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
 
โมเมนตัม
โมเมนตัมโมเมนตัม
โมเมนตัม
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกล
 
Brands physics
Brands physicsBrands physics
Brands physics
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
WAVEs
WAVEsWAVEs
WAVEs
 
Ch9 wave exercises
Ch9 wave exercisesCh9 wave exercises
Ch9 wave exercises
 
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 

Viewers also liked

Gender livestock and livelihood indicators
Gender livestock and livelihood indicatorsGender livestock and livelihood indicators
Gender livestock and livelihood indicatorsPeter Chikwekwete
 
32_Ways_to_Use_Google_Apps_in_the_Classroom
32_Ways_to_Use_Google_Apps_in_the_Classroom32_Ways_to_Use_Google_Apps_in_the_Classroom
32_Ways_to_Use_Google_Apps_in_the_ClassroomRhomelio Anderson
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงkalita123
 
Diapositiva jovenes con criterio
Diapositiva jovenes con criterioDiapositiva jovenes con criterio
Diapositiva jovenes con criterioLuis Flores
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
Membranas biológicas famed 2014.2
Membranas biológicas famed 2014.2Membranas biológicas famed 2014.2
Membranas biológicas famed 2014.2Rhomelio Anderson
 
MBA特別コース説明資料
MBA特別コース説明資料MBA特別コース説明資料
MBA特別コース説明資料Hokkaido Univ Eng
 
Guide Porter Five Forces Analysis
Guide Porter Five Forces AnalysisGuide Porter Five Forces Analysis
Guide Porter Five Forces Analysisstevenventer
 

Viewers also liked (13)

Gender livestock and livelihood indicators
Gender livestock and livelihood indicatorsGender livestock and livelihood indicators
Gender livestock and livelihood indicators
 
32_Ways_to_Use_Google_Apps_in_the_Classroom
32_Ways_to_Use_Google_Apps_in_the_Classroom32_Ways_to_Use_Google_Apps_in_the_Classroom
32_Ways_to_Use_Google_Apps_in_the_Classroom
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
Mobile marketing101
Mobile marketing101Mobile marketing101
Mobile marketing101
 
Finger
FingerFinger
Finger
 
Diapositiva jovenes con criterio
Diapositiva jovenes con criterioDiapositiva jovenes con criterio
Diapositiva jovenes con criterio
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
Membranas biológicas famed 2014.2
Membranas biológicas famed 2014.2Membranas biológicas famed 2014.2
Membranas biológicas famed 2014.2
 
Aula6 joao
Aula6 joaoAula6 joao
Aula6 joao
 
MBA特別コース説明資料
MBA特別コース説明資料MBA特別コース説明資料
MBA特別コース説明資料
 
Lean management
Lean managementLean management
Lean management
 
Guide Porter Five Forces Analysis
Guide Porter Five Forces AnalysisGuide Porter Five Forces Analysis
Guide Porter Five Forces Analysis
 

Similar to การเคลื่อน ครูอาร์ต

การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงtateemi
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์wisita42
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่Tutor Ferry
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติPrint25
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1weerawat pisurat
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53noeiinoii
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53shanesha
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53Sp Play'now
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่พัน พัน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนpumarin20012
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงKaettichai Penwijit
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วnuchpool
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆApinya Phuadsing
 

Similar to การเคลื่อน ครูอาร์ต (20)

การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 

การเคลื่อน ครูอาร์ต

  • 1. การเคลื่อนที่ แนวตรง ระยะทาง คือ ระยะทางจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ระยะกระจัด (S) คือ ระยะห่างจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เช่น ระยะทางจากจุด A ไปจุด C เป็นได้ทั้ง AB+BC และ AC ระยะกระจัดจากจุด A ไปจุด C เป็นได้แค่ AC เท่านั้น การหาระยะกระจัด เราใช้เพียงจุด 2 จุดเท่านั้นคือ จุดเริ่มต้น กับจุดปลายแล้วเราก็ลากเส้นเชื่อมจุดไปเลยเส้น ที่ได้นั้นคือระยะกระจัดนั่นเอง...เช่น นายสมชายอยู่บนตึก ชั้น 2 ต้องการออกไปหน้าบ้านระยะทางคือการเดินของ นายสมชายทั้งหมดคือ จากชั้นสอง เดินลงบันได เดินออก จากบ้านแต่ระยะกระจัดคือระยะที่สั้นที่สุดคือ บินทะลุ กำาแพงไปเลย นายสมชายต้องการไปหานางสมถวิล สาวที่ตนรักแต่ นายสมชายและนางสมถวิลอยู่คนละหมู่บ้านกันมีภูเขาลูก ใหญ่เป็นอุปสรรคขวางกั้นระยะทางที่นายสมชายต้องเดิน คือ เดินข้ามเขาไปยังอีกหมู่บ้านนั้นแต่ระยะกระจัดคือ เดิน ทะลุเขาไปเลย
  • 2. Ex.1 นายสมชายเดินไปทางทิศเหนือ 5 เมตรแล้วเดินต่อไปทาง ทิศตะวันออก 6 เมตร แล้วจึงเดินไปทางทิศเหนือต่ออีก 3 เมตรระยะทาง และ ระยะกระจัดเป็นเท่าใด วิธีทำา ระยะทาง = 5 + 6 + 3 = 14 เมตร ระยะกระจัด 2 = 62 + 82 = 36 + 64 = 100 ระยะกระจัด = 10 เมตร อัต ราเร็ว คือ ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา ความเร็ว คือ ระยะกระจัดที่เคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา เช่น สมชายวิ่งรอบสนามหญ้ารูปสี่เหลี่ยมจัตตุรัส 6 รอบซึ่ง กว้างด้านละ 25 เมตร ใช้เวลา 5 นาทีจงหาความเร็วและ อัตตราเร็ว ความเร็ว = 0(เพราะจุดเริ่มต้น และจุดสุดท้ายอยู่ณจุด เดียวกัน ระยะกระจัดจึงเป็น 0) อัตราเร็ว = ระยะทาง(เมตร) / เวลา(วินาที) = (25x4 x6) / (5x60) = 600 / 300 = 2 เมตร/วินาที ความเร่ง (a) คือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลามีหน่วย เป็น ระยะทาง/เวลา 2 เช่น สมชายวิ่งด้วยความเร็ว 2 เมตร/ วินาที5 วินาทีต่อมาความเร็วของสมชายเปลี่ยนเป็น 7 เมตร/ วินาทีจงหาความเร่ง ความเร่ง = ความเร็วที่เปลี่ยนไป(เมตร/วินาที) / เวลา(วินาที) =(v-u)/t =(7-2)/5
  • 3. =5/5 = 1 เมตร/วินาที2 ที่ม าของสูต ร ความเร่งเฉลี่ย = (ความเร็วปลาย - ความเร็วต้น) / ช่วง เวลา a = (v - u) / t - 0 a = (v - u) / t v = u + at เมื่อ s = vt หากมีความเร่ง ระยะกระจัดจะหาได้จาก ระยะกระจัด = ความเร็วเฉลี่ย x เวลา = (ความเร็วต้น+ความเร็ว ปลาย)/2 x t s = ( u+v ) / 2 x t เอา v จาก 1 มาแทน s = [ u+ ( u+at ) ] / 2 x t s = ( 2u + at ) x t /2 s = ( 2ut / 2 ) + (at2 / 2) s = ut + at2/2 จาก 1 จะได้ว่า t = (v - u) / a นำาค่า t นี้ไปแทนใน 2 ได้ s = [ (u + v) / 2 ] [(v - u) / a] s = (v2 - u2) / 2a v2 = u2 + 2as
  • 4. การเคลื่อนที่ แนวดิ่ง กาลิเลโอ ได้ทำาการทดลองให้เห็น ว่า วัตถุที่ตกลงสู่พื้นโลกอย่างอิสระ จะ เคลื่อนที่ภายใต้แรงดึงดูดของโลก ต่อ มานิวตันสังเกตุเห็นว่า ทำาไมดวงจันทร์ ไม่ลอยหลุดออกไปจากโลก ทำาไมผล แอปเปิ้ลจึงตกลงสู่พื้นดิน นิวตันได้ ทำาการศึกษาค้นคว้าต่อ จนในที่สุดก็ สามารถพิสูจน์ในเรื่องกฎแห่งการดึงดูด ของ สสาร โดยโลกและดวงจันทร์ต่างมีแรงดึงดูดซึ่งกัน และ กัน แต่เนื่องจากดวงจันทร์โคจรรอบโลก จึงมีแรงหนีสู่ ศูนย์กลางซึ่งต่อต้านแรงดึงดูดไว้ ทำาให้ดวงจันทร์ลอย โคจรรอบโลกได้ แต่ผลแอปเปิ้ลกับโลกก็มีแรงดึงดูด ระหว่างกัน ผลแอปเปิ้ลเมื่อหลุดจากขั้วจึงเคลื่อนที่อิสระ ตามแรงดึงดูดนั้น การตกอย่างอิสระนี้ วัตถุจะเคลื่อนตัวด้วยความเร่ง ซึ่ง เรียกว่า Gravitationalacceleration หรือ g ซึงมีค่า ่ ประมาณ 9.8m/s
  • 5. การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งนี้จึงเป็นไปตาม กฎการเคลื่อ นที่ ดังนี้ ตัว อย่า งเช่น ขว้างหินจากชั้น 4 ของตึกขึ้นไปในแนวดิ่ง ด้วยความเร็ว 10 m/s ณ จุดที่มีความสูง 14 เมตร จงหา ว่าก้อนหินใช้เวลาอยู่ในอากาศนานเท่าใดจึง ตกถึงพื้น และความเร็วขณะถึงพื้นเป็นเท่าใด ระยะทาง จากการคำานวณหาความเร็วสุดท้ายแทนค่าได้ v = u + 2gs เมื่อทราบความเร็วต้น และความเร็วสุดท้าย v = (10) + 2(-9.81) x (-14) =374.7 ความเร็วต้นมีทิศเป็นลบ v = 19.36 ความเร็วปลายมีทิศเป็นบวก อัตราเร่ง g มีทิศตรงข้ามกับทิศทางที่ขว้าง จึงมีค่าเป็นลบ
  • 6. การเคลือ นที่ ่ แบบวงกลม เป็นการเคลื่อนที่โดยมีแรงกระทำาเข้าสู่ศูนย์กลางของวง กลม และจะเกิดความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง ความเร็วจะมีค่า ไม่ คงที่ เพราะมีการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ โดยความ เร็ว ณ ตำาแหน่งใดจะมีทิศสัมผัสกับวงกลม ณ ตำาแหน่งนั้น สูต รการเคลื่อ นที่เ ป็น วงกลม 1. ความเร็วเชิงเส้น (v) และความเร็วเชิงมุม ( ) v= x r ---> v = ความเร็วเชิงเส้น หน่วยเป็น เมตร/วินาที = ความเร็วเชิงมุม หน่วยเป็น เรเดียล/วินาที T= คาบการเคลื่อนที่ หน่วยเป็นวินาที f = จำานวนรอบที่วัตถุเคลื่อนทีได้ใน 1 วินาที หน่วยเป็น เฮิรตซ์ (Hz) ่ 2. ความเร่งสู่ศูนย์กลาง
  • 7. ac =ความเร่งสูศูนย์กลาง หน่วยเป็น เมตร/ วินาที2 r = รัศมี หน่วยเป็น เมตร F = แรงสู่ศูนย์กลาง หน่วยเป็น นิวตัน (N) 3. แรงสู่ศูนย์กลาง วัต ถุผ ูก เชือ กแล้ว แกว่ง ให้เ ป็น วงกลม การเคลื่อ นที่เ ป็น วงกลมในแนวดิ่ง ( โดยแตก mg ) การโคจรของดาว r + h = รัศมีวงโคจร , T = คาบการหมุนของดาว
  • 8. การเคลือ นทีแ บบ ่ ่ ซิม เปิล ฮาโมนิค การเคลื่อ นที่แ บบ Simple Harmonic ซิม เปิ้ล ฮาโม นิค สปริง การแกว่ง ลูก ตุ้ม เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุกลับไปมา ผ่านตำาแหน่งสมดุล เช่น การ สั่นของวัตถุที่ผูกกับสปริง หรือการแกว่งของลูก ตุ้ม นาฬิกา ที่แกว่ง เป็นมุมน้อยๆ เป็นต้น สปริง
  • 9. การแกว่ง ลูก ตุ้ม การเคลือ นที่แ บบ ่ โปรเจคไทล์ การเคลื่อ นที่แ บบโปรเจ็ก ไทล์ เป็น การเคลื่อ นที่บ นระนาบแบบหนึ่ง ที่ม ีแ นว การเคลื่อ นที่เ ป็น แนวโค้ง ซึ่ง จะมีก ารเคลื่อ นที่ใ น แนวดิ่ง และแนวระดับ เกิด ขึ้น พร้อ มๆ กัน โดยที่ • การเคลื่อ นที่ใ นแนวดิ่ง เป็น การเคลื่อ นที่ด ้ว ย ความเร่ง เนื่อ งจาก แรงโน้ม ถ่ว ง • การเคลื่อ นที่ใ นแนวระดับ เป็น การเคลื่อ นที่ ด้ว ยความเร็ว คงที่ การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์(Motion of a Projectile) คือการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นแนวโค้ง
  • 10. ในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่อย่างเสรีด้วยแรงโน้มถ่วงคงที่ เช่น วัตถุเคลื่อนที่ไปในอากาศภายใต้แรงโน้มถ่วง ของโลก ทางเดินของวัตถุจะเป็นรูปพาราโบลา 1) ความเร่งในแนวระดับ (แกน x) = ศูนย์ นั่นคือ vx = คงที่ = ux ไม่ว่าวัตถุจะอยู่ที่ตรงไหนก็ตาม พิส ูจ น์ ไม่มีแรงในแนวแกน X กระทำาที่วัตถุ จาก Fx = max O = max ax = 0 จาก vx = ux + axt; ได้ vx = ux 2) ความเร่งในแนวดิ่ง (แกน Y ) = g พิส ูจ น์ มีแรงกระทำาที่วัตถุคือ w = mg ในทิศดิงลง่ ตามแกน Y จาก Fy = may mg = may ay = g ทิศดิ่งลง 3) เวลาที่วัตถุใช้เคลื่อนที่ตามแนวโค้ง = เวลาที่เงาของ วัตถุใช้เคลื่อนที่ตามแนวแกน X = เวลาที่เงาของวัตถุใช้ เคลื่อนที่ตามแนวแกน Y
  • 11. ตามรูปข้างบน สมมุติวัตถุวิ่งจาก O ไปตามทางโค้ง (เส้น ประ) ถึง A (ทางโค้ง OA) เงาทางแกน X จะวิ่งจาก O ไปถึง B เงาทางแกน Y จะวิ่งจาก O ไปถึง C ดังนั้น tOA = tOB = tOC 4) ความเร็ว v ณ จุดใด ๆ จะมีทศสัมผัสกับเส้นทางเดิน ิ (เส้นประ) ณ จุดนั้น และ (1) หาขนาดของ v โดยใช้สูตร เมื่อ vx = ux = ความเร็วในแนวแกน X vy = ความเร็วในแกน Y (2) ทิศทางของ v หาได้โดยสูตร เมื่อ x = มุมที่ v ทำากับแกน X 5) ณ จุดสูงสุด vx = ux vy = 0