SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
1 บทที่ 3คลื่นกล
2 คลื่นคืออะไร คลื่นคือการรบกวนซ้ำๆหรือการเคลื่อนที่แล้วก่อให้เกิดการถ่ายเทพลังงานผ่านตัวกลางหรือไม่ผ่านตัวกลาง (through matter or space) คลื่นที่ถ่ายเทพลังงานผ่านตัวกลางเรียกว่าคลื่นกล คลื่นที่ถ่ายเทพลังงานโดยไม่ต้องอาศัยตัวกลางคือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
3 คลื่นเป็นการเคลื่อนย้ายถ่ายเทพลังงานเท่านั้น ไม่ได้ถ่ายเทสสาร  ตัวกลางได้แก่ น้ำ ลวดสปริง เชือก และอากาศ มีการเคลื่อนที่อยู่เฉพาะที่ ไม่ได้เคลื่อนที่ตามคลื่นไปด้วย
ชนิดของคลื่น 4 จำแนกคลื่นตามความจำเป็นของการใช้ตัวกลางในการแผ่ โดยแบ่งได้  2 ชนิดคือ ,[object Object]
เป็นคลื่นที่จำเป็นต้องอาศัยตัวกลางในการแผ่ คลื่นประเภทนี้ได้แก่  คลื่นน้ำ  คลื่นในเส้นเชือก  คลื่นเสียง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic waves)
เป็นคลื่นที่เกิดจากการเหนี่ยวนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าในทิศทางตั้งฉากซึ่งกันและกัน เช่น คลื่นวิทยุ  เรดาร์  ไมโครเวฟ  แสง รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์,[object Object]
6 คลื่นตามขวาง  เป็นคลื่นที่มีทิศทางการสั่นของตัวกลางหรือทิศทาง ตั้งฉากกับทิศทางการแผ่(ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น ) เช่น คลื่นในเส้นเชือก  คลื่นน้ำ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นตามขวางอาจมีทั้งคลื่นกลและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก็ได้
7 คลื่นตามยาว เป็นคลื่นที่มีทิศทางการสั่นของตัวกลางอยู่ในแนวขนานกับการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นเสียง คลื่นที่เกิดจากการอัดและการขยายตัวในขดลวดสปริง และคลื่นตามยาวทุกชนิดจะเป็นคลื่นกลทั้งสิ้น
8
9 ชนิดของคลื่น จำแนกตามความต่อเนื่องของแหล่งกำเนิดแบ่งออกได้  2 ชนิด
10 ชนิดของคลื่น คลื่นดล -   เป็นคลื่นที่เกิดจากแหล่งกำเนิดสั่น หรือรบกวนตัวกลางเป็นช่วงเวลาสั่นๆ แผ่ออกไปจำนวนน้อยๆ เพียง 1 หรือ 2 คลื่น  เช่นการนิ้วจุ่มที่ผิวน้ำเพียงครั้งหรือ 2 ครั้ง
11 ชนิดของคลื่น คลื่นต่อเนื่อง  -   เป็นคลื่นที่เกิดจากแหล่งกำเนิดสั่น หรือรบกวนตัวกลางอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดคลื่นแผ่ออกไปเป็นขบวนอย่างต่อเนื่อง เช่นการเกิดคลื่นผิวน้ำเนื่องจากแหล่งกำเนิดติดกับมอเตอร์ หรือการสะบัดเชือกอย่างต่อเนื่อง
12 ภาพรวมของคลื่น การเคลื่อนที่แบบคลื่นเป็นการถ่ายโอนพลังงานจากการรบกวน โดยโมเลกุลของตัวกลางไม่เคลื่อนที่ตามไปด้วย สมบัติของการเคลื่อนที่แบบคลื่นที่เหมือนกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคคือการสะท้อนและการหักเห สมบัติเฉพาะของคลื่นได้แก่ การซ้อนทับ การแทรกสอด การเลี้ยวเบน การเคลื่อนที่ของคลื่นมีทั้งแบบใช้ตัวกลางและไม่ใช้ตัวกลาง การเกิดคลื่นเป็นผลจากการรบกวนแล้วมีการถ่ายโอนพลังงานจากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง โดยการรบกวนนี้อาจมีตัวกลางหรือไม่ก็ได้
13 คุณลักษณะเชิงปริมาณของคลื่น ความยาวคลื่น (Wavelength) แอมพิจูด(Amplitude) ความถี่ (Frequency) คาบ(Period) อัตราเร็วของคลื่น (Wave speed)
14 ความยาวคลื่น (Wavelength)  : l คือระยะจากสันคลื่นถึงสันคลื่นถัดไป หรือคือระยะทางที่สั้นที่สุดระหว่างจุดสองจุดที่เหมือนกันทุกประการของคลื่นที่อยู่ถัดไป
15
16
17 แอมพิจูด(Amplitude) : A คือค่าการกระจัดสูงสุดของตัวกลางเมื่อวัดจากตำแหน่งปกติ A
18 The amplitude of a compressional wave is determined by the closeness of the compressional waves. The closer the compressional waves and the farther the rarefaction lines.
19 ความถี่ (Frequency) : f คือจำนวนสันคลื่นหรือตำแหน่งใดบนคลื่นที่ผ่านจุดหนึ่งที่กำหนดให้ในหนึ่งหน่วยเวลา จำนวนคลื่นต่อวินาที เราเรียกว่า Hertz (Hz)
20 คาบ(Period): T คือช่วงเวลาระหว่างจุดสองจุดที่เหมือนกันทุกประการที่คลื่นที่อยู่ถุดไปใช้ในการเคลื่อนที่ผ่าน
21 อัตราเร็วของคลื่น (Wave speed) : v คือระยะทางที่คลื่นแพร่ไปได้ในตัวกลางต่อหน่วยเวลา อัตราเร็วของคลื่น = ความยาวคลื่น x ความถี่ v = lf
22 ลองทำดู 1. จงเติมแผนผังแสดงการจำแนกชนิดของคลื่นให้ถูกต้อง ชนิดของคลื่น
23 2. แหล่งกำเนิดคลื่น O แผ่ออกไปทางขวามือเป็นเวลา 0.3 วินาที ปรากฏคลื่นดังรูป จงหาความถี่และคาบของแหล่งกำเนิดคลื่น
24 3. แหล่งกำเนิด O มีความถี่ 20 Hz แผ่คลื่นออกไปทางขวามือ ดังรูป จงหาความยาวคลื่น และอัตราเร็วคลื่น Y (cm) 2  X (cm) 4  8  6
25 4. แหล่งกำเนิด O แผ่คลื่นออกไปทางขวามือ ดังรูป จงหาคาบและแอมพลิจูดของคลื่น และถ้าคลื่นนี้มีอัตราเร็ว 2 m/s จงหาความยาวคลื่น Y (cm) 6 0.2  0.6  t (s) 1.0  2.2  1.8  1.4  -6
26 5. คลื่นขบวนหนึ่งมีความเร็ว  8  เมตรต่อวินาที ระยะห่างระหว่างยอดคลื่นที่อยู่ถัดไปมีค่าเท่ากับ 16 เมตร คลื่นนี้จะเคลื่อนที่ผ่านจุดๆ หนึ่ง  นาทีละกี่ลูกคลื่น
27 แนวคำตอบ  จากโจทย์  ระยะห่างระหว่างยอดคลื่นที่อยู่ถัดกันคือความยาวคลื่น  ดังนั้น 	=    16  เมตร v	=     8  เมตร/วินาที หาความถี่   จาก   	v	=	f แสดงว่า  ในเวลา  1  วินาที   มีคลื่นผ่านจำนวน 0.5 ลูก ถ้าเวลา 60 วินาที  มีคลื่นผ่านจำนวน 30 ลูก ดังนั้น คลื่นนี้จะเคลื่อนที่ผ่านจุด ๆ หนึ่ง นาทีละ 30 ลูกคลื่น
28 คลื่นกล(Mechanical Wave) ต้องมีการรบกวน คือเมื่อแหล่งกำเนิดมีการสั่นก็จะถ่ายโอนพลังงานให้กับตัวกลางที่อยู่นิ่ง  ตัวกลางต้องถูกรบกวนได้ และมีกลไกทางกายภาพให้มีการถ่ายโอนการรบกวนจากส่วนหนึ่งของตัวกลางไปสู่ส่วนอื่นที่อยู่ติดกัน โดยส่วนนั้นๆของตัวกลางไม่ได้เคลื่อนที่ตามไปด้วย ถ้าตัวกลางนี้มีสมบัติยืดหยุ่นและไม่ดูดกลืนพลังงานหรือไม่แปลงพลังงานไปเป็นพลังงานความร้อน โมเลกุลของตัวกลางนั้นก็จะมีการสั่นแล้วถ่ายโอนพลังงานให้กับโมเลกุลข้างเคียงจำนวนมากต่อเนื่องกันไปทำให้คลื่นเคลื่อนที่ออกไปโดยโมเลกุลของตัวกลางหรืออนุภาคจะสั่นหรือเคลื่อนที่วนไปมา ณ ตำแหน่งหนึ่งๆเท่านั้น
29 คลื่นดลในเส้นเชือก การเคลื่อนที่ปลาบเชือกขึ้นลงหนึ่งรอบเป็นการรบกวน เชือกเป็นตัวกลาง เกิดเป็นคลื่นหนึ่งลูกเรียกว่าคลื่นดล (pulse) เคลื่อนที่ไปตามเส้นเชือก ส่วนใดๆของเส้นเชือกมีการเคลื่อนที่ขึ้นลง แต่ไม่ได้เคลื่อนที่ตามคลื่นไปด้วย ถ้าเคลื่อนที่ปลายเชือกขึ้นลงต่อเนื่องก็จะเกิดคลื่นต่อเนื่อง
30 ชนิดของคลื่นแบ่งตามการเคลื่อนที่ของอนุภาคของตัวกลาง คลื่นตามขวาง (Transverse Wave ) อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นในเส้นเชือก คลื่นน้ำในอ่างน้ำหรือบ่อน้ำ คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave)  อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่กลับไปกลับมาในแนวขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นเสียง คลื่นื่นของการอัดตัวของขดลวดสปริงในแนวขนานกับแนวยาวของขดลวดสปริง
31 คลื่นตามขวาง (Transverse Wave )
32 คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave or Compression Waves)
33 คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave)
34 Complex Waves คลื่นบางแบบแสดงลักษณะของทั้งคลื่นตามขวางและคลื่นตามยาว(combination of transverse and longitudinal waves) เช่น คลื่นผิวน้ำ
35 คลื่นแผ่นดินไหว คลื่นแผ่ดินไหวเป็นทั้งคลื่นตามขวางและคลื่นตามยาวมีทั้งเคลื่อนเข้าไปในโลกและเคลื่อนบนผิวโลก P waves “P” stands for primary ความเร็ว  7 – 8 km / s เป็นคลื่นตามยาว S waves “S” stands for secondary ช้ากว่า  คือประมาณ  4 – 5 km/s เป็นคลื่นตามขวาง Seismograph เป็นเครื่องมือบันทึกคลื่น
36 หน้าคลื่น หมายถึง  เส้นที่ลากผ่านตำแหน่งต่างๆ  บนคลื่นลูกเดียวกันที่มีเฟสตรงกัน  เป็นแนวของสันคลื่นหรือท้องคลื่นก็ได้  หน้าคลื่นมีได้หลายแนวและทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นจะต้องตั้งฉากกับหน้าคลื่นเสมอ  คลื่นวงกลมหน้าคลื่นจะเป็นวงกลม  คลื่นเส้นตรง  หน้าคลื่นก็เป็นเส้นตรง

More Related Content

What's hot

ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นSom Kechacupt
 
สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นbenjamars nutprasat
 
สรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่นสรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่นNeng Utcc
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงnatjira
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าChakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงApinya Phuadsing
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1sutham
 

What's hot (17)

คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่น
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่น
 
20012554 1005492525
20012554 100549252520012554 1005492525
20012554 1005492525
 
P11
P11P11
P11
 
Ch9 wave exercises
Ch9 wave exercisesCh9 wave exercises
Ch9 wave exercises
 
สรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่นสรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่น
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
 
P13
P13P13
P13
 
P12
P12P12
P12
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสง
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 

Similar to คลื่นกล

wave part1
wave part1wave part1
wave part1sutham
 
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptxssuser4e6b5a1
 
Hamornics wave
Hamornics waveHamornics wave
Hamornics waverapinn
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
Copy-of-1.คลื่น (1).pdf
Copy-of-1.คลื่น (1).pdfCopy-of-1.คลื่น (1).pdf
Copy-of-1.คลื่น (1).pdfmatdavitmatseng1
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกลKruanek007
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกลKruanek007
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกลthanakit553
 
นิดชุดา
นิดชุดานิดชุดา
นิดชุดาbo222
 

Similar to คลื่นกล (20)

wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 
Wave
WaveWave
Wave
 
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
 
Hamornics wave
Hamornics waveHamornics wave
Hamornics wave
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Wave1.1.
Wave1.1.Wave1.1.
Wave1.1.
 
Wave1
Wave1Wave1
Wave1
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
568
568568
568
 
Copy-of-1.คลื่น (1).pdf
Copy-of-1.คลื่น (1).pdfCopy-of-1.คลื่น (1).pdf
Copy-of-1.คลื่น (1).pdf
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 
นิดชุดา
นิดชุดานิดชุดา
นิดชุดา
 

คลื่นกล