SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
1
4.3 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบสั่นจะมีลักษณะพิเศษคือ จะมีการเคลื่อนที่แบบซ้ารอบรอยเดิมกลับไป
กลับมาจากอิทธิพลของแรงที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmonic motion - SHM) เป็นการเคลื่อนที่
อีกแบบหนึ่ง การกระจัดของวัตถุซึ่งมีการเคลื่อนที่แบบนี้จะวัดจากตาแหน่งเดิมของวัตถุ เมื่อไม่ถูก
แรงภายนอกใดๆ มากระทา เรียกตาแหน่งนี้ว่า แนวสมดุล
การเคลื่อนที่ของลูกตุ้มแบบ SHM
จากภาพข้างต้น ออกแรงเลื่อนให้ลูกตุ้มอยู่ในตาแหน่ง A แล้วปล่อยให้ลูกตุ้มเคลื่อนที่
ลูกตุ้มจะแกว่งจาก A ไป B, C, D และ E เมื่อลูกตุ้มกลับมายัง E หรือกลับมายังจุดเริ่มต้นอีกครั้งจะ
เรียกว่า เป็นการสั่นครบ 1 รอบ
จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. ลูกตุ้มเคลื่อนที่อยู่ในตาแหน่งใดจะมีการกระจัดน้อยที่สุดหรืออยู่ในแนวสมดุล (B และ D)
2. ลูกตุ้มเคลื่อนที่อยู่ในตาแหน่งใดจะมีการกระจัดมากที่สุด (C และ A)
3. นักเรียนคิดว่า ลูกตุ้มเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวในทุกตาแหน่งหรือไม่ ถ้าความเร็วไม่คงตัว
ตาแหน่งใดมีความเร็วมากที่สุด และตาแหน่งใดมีความเร็วน้อยที่สุด
(ความเร็วของลูกตุ้มจะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยจะมีความเร็วมากที่สุด เมื่อลูกตุ้มผ่านแนว
สมดุล (ตาแหน่ง B และ D ) และจะมีความเร็วน้อยที่สุดหรือหยุดนิ่ง เมื่อลูกตุ้มเคลื่อนห่างจาก
สมดุลมากที่สุด (ตาแหน่ง C และ A ))
4. นักเรียนคิดว่า ในการเคลื่อนที่แบบสั่นนี้ วัตถุมีความเร่งหรือไม่ ถ้ามีความเร่งจะคงตัวหรือไม่
ขึ้นอยู่กับปัจจัยใด
(ลูกตุ้มมีการเปลี่ยนแปลงความเร็วตลอดเวลา ดังนั้นจึงน่าจะมีความเร่ง ส่วนความเร่งก็จะมีค่าไม่
คงตัว เนื่องจากแรงที่กระทาต่อลูกตุ้มทาให้เกิดการเคลื่อนที่แบบสั่นมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ด้วย)
2
5. ระยะที่ลูกตุ้มเคลื่อนที่ออกห่างจากแนวสมดุล ณ ตาแหน่งใดๆ เรียกว่าอะไร
(การกระจัด)
6. ระยะที่ลูกตุ้มเคลื่อนที่ออกห่างจากแนวสมดุลมากที่สุด เรียกว่าอะไร
(แอมพลิจูด (A))
การเคลื่อนที่ของสปริง
แรงที่ทาให้วัตถุในกรณีนี้เคลื่อนที่แบบ SHM คือ แรงยืดหยุ่น
เมื่อทาให้สปริงมีความยาวเปลี่ยนไปหรือ
เปลี่ยนตาแหน่งจากแนวสมดุล จะมีแรงที่ดึง
กลับ พยายามมาทาให้วัตถุรักษาสภาพเดิมไว้
แรงนี้คือ แรงยืดหยุ่น F = -ks
กาหนดให้  แทนการกระจัดเชิงมุมของวัตถุ มีหน่วยเป็นเรเดียน (rad) เป็นการบอก
ตาแหน่งของการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่แบบสั่นของวัตถุ โดยถ้าวัตถุเคลื่อนที่ได้ 1 รอบ  จะมีค่า
เปลี่ยนไป 
2 rad
จากความสัมพันธ์  = t
ดังนั้น การกระจัด ณ ตาแหน่งใดๆ
ความเร็ว ณ ตาแหน่งใดๆ
s = A cos t
v = -A sin t = 
 2
2
s
A 
ความเร่ง ณ ตาแหน่งใดๆ
จากกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ข้อ 2
สาหรับ การเคลื่อนที่แบบ SHM
a = -2 A cos t = -2s
F

= a
m

F = -m2s
F = -ks
3
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
……………..……
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
……………..……
1. จากนิยามของแรงยืดหยุ่น และแรงที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่แบบ SHM จะได้ความสัมพันธ์ของ
ความเร็วเชิงมุมหรือความถี่เชิงมุม () ในรูปแบบใด
(จาก x
F = -m 2s
-ks = -m 2s
k = m 2 หรือ  = m
k )
2. ความถี่เชิงมุม () มีความสัมพันธ์กับคาบและความถี่อย่างไร
( = 2 f = T
2π )
3.
4. จากข้อ 3 ถ้า kA > kB แต่ mA = mB วัตถุใดจะสั่นได้เร็วกว่ากัน
การเคลื่อนที่ของลูกตุ้ม
การสั่นของลูกตุ้ม
เมื่อดึงให้ลูกตุ้มเคลื่อนที่จากแนวสมดุลในภาพ (a) จะมีแรงที่ดึงกลับพยายามให้วัตถุรักษา
สภาพเดิมไว้ในที่นี้คือ แรง -mg sin  เมื่อ  เป็นมุมระหว่างแนวเชือกกับแนวดิ่ง
แรงที่ทาให้วัตถุในกรณีนี้เคลื่อนที่แบบ SHM คือ -mg sin 
จากภาพถ้า kA = kB แต่ mA > mB เมื่อทาให้
A และ B เคลื่อนที่แบบ SHM วัตถุใดจะสั่น
ได้เร็วกว่ากัน (B)
คาถาม
สาหรับการเคลื่อนที่แบบ SHM ของสปริง ω =
m
k
T =
m
k
2π , f =
k
m
2π
k
4
คาถาม
1. ความสัมพันธ์ของความเร็วเชิงมุมหรือความเร่งเชิงมุม () ในกรณีนี้มีลักษณะอย่างไร
(จาก -mg sin  = -m2 s
g sin  = 2 s
จากภาพ ถ้า  เป็นมุมเล็กๆ s  x
และ L
x = sin 
จึงได้ว่า เมื่อ เป็นมุมเล็กๆ L
x = sin 
หรือ s
2
ω
L
s
g  ดังนั้น = L
g
ω )
2.
3.
สรุปสูตรการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
1.แรงที่กระทาให้วัตถุเคลื่อนที่แบบิิมเปิลฮาร์มอนิก แรงนี้เรียกแรงย้อนกลับมีทิศเข้าสู่แนวสมดุล
และแปรผันตามการขจัดตามสมการ
F = -ks
จากภาพ ถ้า mA = mB เมื่อแกว่งให้ A และ B
เคลื่อนที่แบบ SHM วัตถุใดจะสั่นได้เร็วกว่า
กัน (B)
จากภาพ ถ้า LA = LB เมื่อแกว่งให้ A และ B
เคลื่อนที่แบบ SHM วัตถุใดจะสั่นได้เร็วกว่า
กัน (ทั้งคู่สั่นได้เร็วเท่ากัน)
สาหรับการเคลื่อนที่แบบ SHM ของลูกตุ้ม  =
l
g
T =
g
L
2π , f =
L
g
2π
1
5
2.คาบเวลาของการเคลื่อนที่แบบิิมเปิลฮาร์มอนิก
T =
k
m
2
โดย k คือค่าของการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก
3.คาบเวลาการแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา
3.1ลูกตุ้มนาฬิกาแก่งในระบบหยุดนิ่ง
T = 2
g


3.2ลูกตุ้มนาฬิกาแก่งในระบบที่วิ่งด้วยความเร่ง
T = 2
a
g





4.คาบเวลาการแกว่งของมวลผูกปลายสปริง
T =
k
m
2
5.การต่อสปริงแบบต่างๆ
5.1 การต่อแบบอนุกรม



2
1
e k
1
k
1
k
1
…
5.2 การต่อสปริงแบบขนาน
2
1
e k
k
k 
 + …
ตัวอย่างที่ 1 อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ซิมเปิลฮาร์มอนิกบนพื้นระดับที่มีแอมพลิจูด 10 ซม ที่จุด
ซึ่งห่างจากจุดสมดุล 6 ซม มีความเร็ว24 ซม/วินาที จงหาคาบเวลา
วิธีทา หา  จาก v = 2
2
S
A 

จากโจทย์ A = 10x10-2
m , S = 6x10-2
m , V =24x10-2
m/s
แทนค่า 24x10-2
=  2
2
2
2
)
10
6
(
)
0
1
10
( 

 x
x
 = 3
แต่  =
21
44
3
2
2







คาบเวลาการเคลื่อนที่ = 2.1 วินาที/รอบ ตอบ
6
ตัวอย่างที่ 2 อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ซิมเปิลฮาร์มอนิกบนพื้นระดับที่มีแอมพลิจูด 10 ซม ที่จุด
ซึ่งห่างจากจุดสมดุล 8 ซม มีความเร็ว 18 ซม/วินาที จงหาคาบเวลา
ตัวอย่างที่ 3 อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ซิมเปิลฮาร์มอนิกบนพื้นระดับที่มีแอมพลิจูด 5 ซม ที่จุดซึ่ง
ห่างจากจุดสมดุล 3 ซม มีความเร็ว 12 ซม/วินาที จงหาคาบเวลา
ตัวอย่างที่ 4 นามวล m มาผูกติดกับสปริงซึ่งมีค่านิจสปริง K และแขวนในแนวดิ่งจุดสมดุล
ปกติของสปริงแล้วปล่อยมือ มวล m จะเริ่มเคลื่อนที่โดยมีความเร็วต้นเป็น 0 และ
สั่นแบบ SHM ถ้ากาหนดให้ m = 4 kg , K = 16 2
 N/m และ g = 9.8
m/s2 2

 m/s2
จงหา
ก . คาบของการสั่น
ข . คามถี่ของกการสั่น
ค . ความเร็วเชิงมุม
7
ก. คาบ
k
m
2


แทนค่า 2
16
4
2




 = 1 วินาที/รอบ
ข. ความถี่ f = 1
1
1
1



รอบ/วินาที
ค. ความเร็วเชิงมุม 


 2
1
2
2



 เรเดียน/วินาที
ตัวอย่างที่ 5 นามวล m มาผูกติดกับสปริงซึ่งมีค่านิจสปริง K และแขวนในแนวดิ่งจุดสมดุล
ปกติของสปริงแล้วปล่อยมือ มวล m จะเริ่มเคลื่อนที่โดยมีความเร็วต้นเป็น 0 และ
สั่นแบบ SHM ถ้ากาหนดให้ m = 4 kg , K = 16 2
 N/m และ g = 9.8
m/s2 2

 m/s2
จงหา
ก . คาบของการสั่น
ข . คามถี่ของกการสั่น
ค . ความเร็วเชิงมุม
8
ตัวอย่างที่ 6 สปริงหนึ่งมีค่านิจ 100 นิวตันต่อเมตร ปลายสปริงข้างหนึ่งติดกับมวล 0.49 กิโลกรัม
ส่วนปลายอีกด้านหนึ่งของสปริงติดกับผนัง เมื่อดึงมวลแล้วปล่อยให้สปริงเคลื่อนที่แบบ SHM บน
พื้นลื่น จะมีคาบของการเคลื่อนที่เท่าใด
วิธีทา จาก T = 2
k
m
ตัวอย่างที่ 7 สปริงหนึ่งมีค่านิจ 100 นิวตันต่อเมตร ปลายสปริงข้างหนึ่งติดกับมวล 0.64 กิโลกรัม
ส่วนปลายอีกด้านหนึ่งของสปริงติดกับผนัง เมื่อดึงมวลแล้วปล่อยให้สปริงเคลื่อนที่แบบ SHM บน
พื้นลื่น จะมีคาบของการเคลื่อนที่เท่าใด
วิธีทา จาก T = 2
k
m
ตัวอย่างที่ 8 แขวนลูกตุ้มด้วยเชือกยาว 0.4 เมตร จะแกว่งด้วยคาบเวลาเท่าไร
วิธีทา จาก T = 2
g
L
ตัวอย่างที่ 9 แขวนลูกตุ้มด้วยเชือกยาว 0.64 เมตร จะแกว่งด้วยคาบเวลาเท่าไร
วิธีทา จาก T = 2
g
L
9
ตัวอย่างที่ 10 ลูกตุ้มแขวนด้วยเชือกยาว 1 เมตร แกว่งไปมาด้วยคาบ 2 วินาที ถ้าลูกตุ้ม
แขวนด้วยเชือกยาว 16 เมตร จะแกว่งด้วยคาบเท่าไร
วิธีทา คาบการแกว่ง
g


2

 - - - - - - - - -
ถ้า  1=1 m T1= 2 s จะได้T1 = g
1
2 
 - - - - - - - - -
ถ้า  2=16 m T2= ? จะได้ g
2
T 2
2 

 - - - - - - - -
/ ;
1
2
1
2





แทนค่าจะได้
1
16
2
2


2
 = 8 วินาที ตอบ
ตัวอย่างที่ 11 ลูกตุ้มแขวนด้วยเชือกยาว 1 เมตร แกว่งไปมาด้วยคาบ 3 วินาที ถ้าลูกตุ้ม
แขวนด้วยเชือกยาว 9 เมตร จะแกว่งด้วยคาบเท่าไร
ตัวอย่างที่ 12 ลูกตุ้มแขวนด้วยเชือกยาว 0.4 เมตร แกว่งไปมาด้วยคาบ 4 วินาที ถ้าลูกตุ้ม
แขวนด้วยเชือกยาว 3.6 เมตร จะแกว่งด้วยคาบเท่าไร
10
ตัวอย่างที่ 13 ลูกตุ้มนาฬิกาแขวนด้วยเชือกยาว 2 เมตร จงหาความถี่ของลูกตุ้มในกรณี
ต่อไปนี้
ก. แกว่งบนพื้นโลก
ข. แกว่งในลิฟท์ขึ้นด้วยความเร่ง 2 m/s2
ค. แกว่งในลิฟท์ลงด้วยความเร่ง 2 m/s2
วิธีทา ก. แกว่งบนพื้นโลกจะได้ f =

g

2
1
แทนค่าจะได้ f =

 2
5
2
10
2
1

= 0.356 รอบ/วินาที ตอบ
ข.เมื่อแกว่งในลิฟท์ที่เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่ง 2 m/s2
ขนาดของความเร่งลัพธ์ของลูกตุ้มเมื่อเทียบกับคนในลิฟท์
a
g


 = 10 + 2 = 12 m/s2
ความถี่ของการแกว่ง f =



a
g 

2
1
แทนค่า f =
2
12
2
1

= 0.39 รอบ/วินาที ตอบ
ค. เมื่อแกว่งในลิฟท์ที่เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง 2
ขนาดของความเร่งลัพท์ของลูกตุ้มเทียบกับคนในลิฟท์
a
g


 = 10-2 = 8 m/s2
ความถี่ของการแกว่ง f =



a
g 

2
1
แทนค่า f =
2
8
2
1

= 0.318 รอบ/วินาที ตอบ
ตัวอย่างที่ 14 ลูกตุ้มนาฬิกาแขวนด้วยเชือกยาว 0.1 เมตร จงหาความถี่ของลูกตุ้มในกรณี
ต่อไปนี้
ก. แกว่งบนพื้นโลก
ข. แกว่งในลิฟท์ขึ้นด้วยความเร่ง 3.6 m/s2
ค. แกว่งในลิฟท์ลงด้วยความเร่ง 6.4 m/s2
11
ตัวอย่างที่ 15 จากรูปต่อไปนี้ จงหาคาบเวลาการแกว่งของมวล m
วิธีทา ในแต่ละรูปที่โจทย์กาหนดให้มา ทาการยุบเป็นสปริงเส้นเดียวเสียก่อน จึงหา
คาบเวลา
จาก
m
k

2


12
จากรูปสปริง 3 ตัวต่ออย่างอนุกรมกัน ยุบให้เหลือสปริง 1 ตัว ดังรูป
3
2
1
e k
1
k
1
k
1
k
1



3
2
1
2
1
1
3
3
2
e k
k
k
k
k
k
k
k
k
k
1 


จากสูตร
e
k
m
2


แทนค่าจะได้
3
2
1
2
1
1
3
3
2
k
k
k
)
k
k
k
k
k
k
(
m
2




 ตอบ
จากรูป สปริง k1 และ k2 ต่อขนานกันยุบเป็น 1 ตัว แลละต่ออนุกรมกับ k3 ดังรูป
3
2
1
e k
1
k
k
1
k
1



3
2
1
2
1
3
e k
)
k
k
(
k
k
k
k
1



จาก
e
k
m

2


3
2
1
3
2
1
k
)
k
k
(
)
k
k
k
(
m
2





 ตอบ
16. สปริง S1 และ S2 มีค่านิจ K1 และ K2 ตามลาดับ ผูกติดกัน แล้วผูกติดกับมวล m ดังรูป มวล
m จะสั่น ด้วยคาบเวลาเท่าใด
ก. 









2
1 k
1
k
1
m
2 ข.
2
1 k
k
m
2


ค.
2
1
2
1
k
k
k
mk
2

 ง.  
2
1 k
k
/
m
2
2 

13
17. สปริง S1 และ S2 มีค่านิจ K1 และ K2 ตามลาดับ ผูกติดกัน แล้วผูกติดกับมวล m แขวน
ในแนวดิ่ง ดังรูป มวล m จะสั่นด้วยคาบเวลาเท่าใด
ก. m
)
k
k
(
2 2
1 
 ข. 2  )
k
k
/
m 2
1 
ค. 2  )
k
k
/
m
2 2
1 
 ง. 2  )
k
k
/
k
mk 2
1
2
1 

18. สปริง S1, S2 และ S3 มีค่านิจ K1 , K2 และ K3 ตามลาดับ ผูกติดกับมวล m ดังรูป ค่านิจรวม
ของสปริงเท่ากับเท่าใด
ก.  
3
2
1 k
k
k
3
1

 ข. 3
2
1 k
k
k 

ค. 3
3
2
1 k
.
k
.
k ง.
3
2
1 k
1
k
1
k
1


19.จากรูป ค่านิจรวมของสปริงทั้งสามเท่ากับเท่าใด ถ้า K1 , K2 และ K3 เป็นค่านิจของสปริงทั้ง
สาม
ก.
3
2
1 k
1
k
1
k
1

 ข. 









3
2
1 k
1
k
1
k
1
/
1
ค. 3
2
1 k
k
k 
 ง.  
3
2
1 k
k
k
3
1



More Related Content

What's hot

2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Dew Thamita
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายSunanthaIamprasert
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 

What's hot (20)

2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
 
12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 

Similar to การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์

การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่Tutor Ferry
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s EquationsThepsatri Rajabhat University
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนpumarin20012
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆApinya Phuadsing
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆApinya Phuadsing
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53noeiinoii
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53shanesha
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53Sp Play'now
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]Worrachet Boonyong
 
ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2aatjima
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่พัน พัน
 
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันApinya Phuadsing
 

Similar to การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (20)

การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
Ch9 wave exercises
Ch9 wave exercisesCh9 wave exercises
Ch9 wave exercises
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
 
ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2
 
โมเมนตัม
โมเมนตัมโมเมนตัม
โมเมนตัม
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 

More from Aey Usanee

ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.pptระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.pptAey Usanee
 
ระเบียบวิธีวิจัย.pptx
ระเบียบวิธีวิจัย.pptxระเบียบวิธีวิจัย.pptx
ระเบียบวิธีวิจัย.pptxAey Usanee
 
เลขนัย
เลขนัยเลขนัย
เลขนัยAey Usanee
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตAey Usanee
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงานAey Usanee
 

More from Aey Usanee (6)

ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.pptระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
 
ระเบียบวิธีวิจัย.pptx
ระเบียบวิธีวิจัย.pptxระเบียบวิธีวิจัย.pptx
ระเบียบวิธีวิจัย.pptx
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
เลขนัย
เลขนัยเลขนัย
เลขนัย
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 

การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์

  • 1. 1 4.3 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย การเคลื่อนที่แบบสั่นจะมีลักษณะพิเศษคือ จะมีการเคลื่อนที่แบบซ้ารอบรอยเดิมกลับไป กลับมาจากอิทธิพลของแรงที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmonic motion - SHM) เป็นการเคลื่อนที่ อีกแบบหนึ่ง การกระจัดของวัตถุซึ่งมีการเคลื่อนที่แบบนี้จะวัดจากตาแหน่งเดิมของวัตถุ เมื่อไม่ถูก แรงภายนอกใดๆ มากระทา เรียกตาแหน่งนี้ว่า แนวสมดุล การเคลื่อนที่ของลูกตุ้มแบบ SHM จากภาพข้างต้น ออกแรงเลื่อนให้ลูกตุ้มอยู่ในตาแหน่ง A แล้วปล่อยให้ลูกตุ้มเคลื่อนที่ ลูกตุ้มจะแกว่งจาก A ไป B, C, D และ E เมื่อลูกตุ้มกลับมายัง E หรือกลับมายังจุดเริ่มต้นอีกครั้งจะ เรียกว่า เป็นการสั่นครบ 1 รอบ จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ลูกตุ้มเคลื่อนที่อยู่ในตาแหน่งใดจะมีการกระจัดน้อยที่สุดหรืออยู่ในแนวสมดุล (B และ D) 2. ลูกตุ้มเคลื่อนที่อยู่ในตาแหน่งใดจะมีการกระจัดมากที่สุด (C และ A) 3. นักเรียนคิดว่า ลูกตุ้มเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวในทุกตาแหน่งหรือไม่ ถ้าความเร็วไม่คงตัว ตาแหน่งใดมีความเร็วมากที่สุด และตาแหน่งใดมีความเร็วน้อยที่สุด (ความเร็วของลูกตุ้มจะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยจะมีความเร็วมากที่สุด เมื่อลูกตุ้มผ่านแนว สมดุล (ตาแหน่ง B และ D ) และจะมีความเร็วน้อยที่สุดหรือหยุดนิ่ง เมื่อลูกตุ้มเคลื่อนห่างจาก สมดุลมากที่สุด (ตาแหน่ง C และ A )) 4. นักเรียนคิดว่า ในการเคลื่อนที่แบบสั่นนี้ วัตถุมีความเร่งหรือไม่ ถ้ามีความเร่งจะคงตัวหรือไม่ ขึ้นอยู่กับปัจจัยใด (ลูกตุ้มมีการเปลี่ยนแปลงความเร็วตลอดเวลา ดังนั้นจึงน่าจะมีความเร่ง ส่วนความเร่งก็จะมีค่าไม่ คงตัว เนื่องจากแรงที่กระทาต่อลูกตุ้มทาให้เกิดการเคลื่อนที่แบบสั่นมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ด้วย)
  • 2. 2 5. ระยะที่ลูกตุ้มเคลื่อนที่ออกห่างจากแนวสมดุล ณ ตาแหน่งใดๆ เรียกว่าอะไร (การกระจัด) 6. ระยะที่ลูกตุ้มเคลื่อนที่ออกห่างจากแนวสมดุลมากที่สุด เรียกว่าอะไร (แอมพลิจูด (A)) การเคลื่อนที่ของสปริง แรงที่ทาให้วัตถุในกรณีนี้เคลื่อนที่แบบ SHM คือ แรงยืดหยุ่น เมื่อทาให้สปริงมีความยาวเปลี่ยนไปหรือ เปลี่ยนตาแหน่งจากแนวสมดุล จะมีแรงที่ดึง กลับ พยายามมาทาให้วัตถุรักษาสภาพเดิมไว้ แรงนี้คือ แรงยืดหยุ่น F = -ks กาหนดให้  แทนการกระจัดเชิงมุมของวัตถุ มีหน่วยเป็นเรเดียน (rad) เป็นการบอก ตาแหน่งของการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่แบบสั่นของวัตถุ โดยถ้าวัตถุเคลื่อนที่ได้ 1 รอบ  จะมีค่า เปลี่ยนไป  2 rad จากความสัมพันธ์  = t ดังนั้น การกระจัด ณ ตาแหน่งใดๆ ความเร็ว ณ ตาแหน่งใดๆ s = A cos t v = -A sin t =   2 2 s A  ความเร่ง ณ ตาแหน่งใดๆ จากกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ข้อ 2 สาหรับ การเคลื่อนที่แบบ SHM a = -2 A cos t = -2s F  = a m  F = -m2s F = -ks
  • 3. 3 ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ……………..…… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ……………..…… 1. จากนิยามของแรงยืดหยุ่น และแรงที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่แบบ SHM จะได้ความสัมพันธ์ของ ความเร็วเชิงมุมหรือความถี่เชิงมุม () ในรูปแบบใด (จาก x F = -m 2s -ks = -m 2s k = m 2 หรือ  = m k ) 2. ความถี่เชิงมุม () มีความสัมพันธ์กับคาบและความถี่อย่างไร ( = 2 f = T 2π ) 3. 4. จากข้อ 3 ถ้า kA > kB แต่ mA = mB วัตถุใดจะสั่นได้เร็วกว่ากัน การเคลื่อนที่ของลูกตุ้ม การสั่นของลูกตุ้ม เมื่อดึงให้ลูกตุ้มเคลื่อนที่จากแนวสมดุลในภาพ (a) จะมีแรงที่ดึงกลับพยายามให้วัตถุรักษา สภาพเดิมไว้ในที่นี้คือ แรง -mg sin  เมื่อ  เป็นมุมระหว่างแนวเชือกกับแนวดิ่ง แรงที่ทาให้วัตถุในกรณีนี้เคลื่อนที่แบบ SHM คือ -mg sin  จากภาพถ้า kA = kB แต่ mA > mB เมื่อทาให้ A และ B เคลื่อนที่แบบ SHM วัตถุใดจะสั่น ได้เร็วกว่ากัน (B) คาถาม สาหรับการเคลื่อนที่แบบ SHM ของสปริง ω = m k T = m k 2π , f = k m 2π k
  • 4. 4 คาถาม 1. ความสัมพันธ์ของความเร็วเชิงมุมหรือความเร่งเชิงมุม () ในกรณีนี้มีลักษณะอย่างไร (จาก -mg sin  = -m2 s g sin  = 2 s จากภาพ ถ้า  เป็นมุมเล็กๆ s  x และ L x = sin  จึงได้ว่า เมื่อ เป็นมุมเล็กๆ L x = sin  หรือ s 2 ω L s g  ดังนั้น = L g ω ) 2. 3. สรุปสูตรการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย 1.แรงที่กระทาให้วัตถุเคลื่อนที่แบบิิมเปิลฮาร์มอนิก แรงนี้เรียกแรงย้อนกลับมีทิศเข้าสู่แนวสมดุล และแปรผันตามการขจัดตามสมการ F = -ks จากภาพ ถ้า mA = mB เมื่อแกว่งให้ A และ B เคลื่อนที่แบบ SHM วัตถุใดจะสั่นได้เร็วกว่า กัน (B) จากภาพ ถ้า LA = LB เมื่อแกว่งให้ A และ B เคลื่อนที่แบบ SHM วัตถุใดจะสั่นได้เร็วกว่า กัน (ทั้งคู่สั่นได้เร็วเท่ากัน) สาหรับการเคลื่อนที่แบบ SHM ของลูกตุ้ม  = l g T = g L 2π , f = L g 2π 1
  • 5. 5 2.คาบเวลาของการเคลื่อนที่แบบิิมเปิลฮาร์มอนิก T = k m 2 โดย k คือค่าของการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก 3.คาบเวลาการแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา 3.1ลูกตุ้มนาฬิกาแก่งในระบบหยุดนิ่ง T = 2 g   3.2ลูกตุ้มนาฬิกาแก่งในระบบที่วิ่งด้วยความเร่ง T = 2 a g      4.คาบเวลาการแกว่งของมวลผูกปลายสปริง T = k m 2 5.การต่อสปริงแบบต่างๆ 5.1 การต่อแบบอนุกรม    2 1 e k 1 k 1 k 1 … 5.2 การต่อสปริงแบบขนาน 2 1 e k k k   + … ตัวอย่างที่ 1 อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ซิมเปิลฮาร์มอนิกบนพื้นระดับที่มีแอมพลิจูด 10 ซม ที่จุด ซึ่งห่างจากจุดสมดุล 6 ซม มีความเร็ว24 ซม/วินาที จงหาคาบเวลา วิธีทา หา  จาก v = 2 2 S A   จากโจทย์ A = 10x10-2 m , S = 6x10-2 m , V =24x10-2 m/s แทนค่า 24x10-2 =  2 2 2 2 ) 10 6 ( ) 0 1 10 (    x x  = 3 แต่  = 21 44 3 2 2        คาบเวลาการเคลื่อนที่ = 2.1 วินาที/รอบ ตอบ
  • 6. 6 ตัวอย่างที่ 2 อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ซิมเปิลฮาร์มอนิกบนพื้นระดับที่มีแอมพลิจูด 10 ซม ที่จุด ซึ่งห่างจากจุดสมดุล 8 ซม มีความเร็ว 18 ซม/วินาที จงหาคาบเวลา ตัวอย่างที่ 3 อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ซิมเปิลฮาร์มอนิกบนพื้นระดับที่มีแอมพลิจูด 5 ซม ที่จุดซึ่ง ห่างจากจุดสมดุล 3 ซม มีความเร็ว 12 ซม/วินาที จงหาคาบเวลา ตัวอย่างที่ 4 นามวล m มาผูกติดกับสปริงซึ่งมีค่านิจสปริง K และแขวนในแนวดิ่งจุดสมดุล ปกติของสปริงแล้วปล่อยมือ มวล m จะเริ่มเคลื่อนที่โดยมีความเร็วต้นเป็น 0 และ สั่นแบบ SHM ถ้ากาหนดให้ m = 4 kg , K = 16 2  N/m และ g = 9.8 m/s2 2   m/s2 จงหา ก . คาบของการสั่น ข . คามถี่ของกการสั่น ค . ความเร็วเชิงมุม
  • 7. 7 ก. คาบ k m 2   แทนค่า 2 16 4 2      = 1 วินาที/รอบ ข. ความถี่ f = 1 1 1 1    รอบ/วินาที ค. ความเร็วเชิงมุม     2 1 2 2     เรเดียน/วินาที ตัวอย่างที่ 5 นามวล m มาผูกติดกับสปริงซึ่งมีค่านิจสปริง K และแขวนในแนวดิ่งจุดสมดุล ปกติของสปริงแล้วปล่อยมือ มวล m จะเริ่มเคลื่อนที่โดยมีความเร็วต้นเป็น 0 และ สั่นแบบ SHM ถ้ากาหนดให้ m = 4 kg , K = 16 2  N/m และ g = 9.8 m/s2 2   m/s2 จงหา ก . คาบของการสั่น ข . คามถี่ของกการสั่น ค . ความเร็วเชิงมุม
  • 8. 8 ตัวอย่างที่ 6 สปริงหนึ่งมีค่านิจ 100 นิวตันต่อเมตร ปลายสปริงข้างหนึ่งติดกับมวล 0.49 กิโลกรัม ส่วนปลายอีกด้านหนึ่งของสปริงติดกับผนัง เมื่อดึงมวลแล้วปล่อยให้สปริงเคลื่อนที่แบบ SHM บน พื้นลื่น จะมีคาบของการเคลื่อนที่เท่าใด วิธีทา จาก T = 2 k m ตัวอย่างที่ 7 สปริงหนึ่งมีค่านิจ 100 นิวตันต่อเมตร ปลายสปริงข้างหนึ่งติดกับมวล 0.64 กิโลกรัม ส่วนปลายอีกด้านหนึ่งของสปริงติดกับผนัง เมื่อดึงมวลแล้วปล่อยให้สปริงเคลื่อนที่แบบ SHM บน พื้นลื่น จะมีคาบของการเคลื่อนที่เท่าใด วิธีทา จาก T = 2 k m ตัวอย่างที่ 8 แขวนลูกตุ้มด้วยเชือกยาว 0.4 เมตร จะแกว่งด้วยคาบเวลาเท่าไร วิธีทา จาก T = 2 g L ตัวอย่างที่ 9 แขวนลูกตุ้มด้วยเชือกยาว 0.64 เมตร จะแกว่งด้วยคาบเวลาเท่าไร วิธีทา จาก T = 2 g L
  • 9. 9 ตัวอย่างที่ 10 ลูกตุ้มแขวนด้วยเชือกยาว 1 เมตร แกว่งไปมาด้วยคาบ 2 วินาที ถ้าลูกตุ้ม แขวนด้วยเชือกยาว 16 เมตร จะแกว่งด้วยคาบเท่าไร วิธีทา คาบการแกว่ง g   2   - - - - - - - - - ถ้า  1=1 m T1= 2 s จะได้T1 = g 1 2   - - - - - - - - - ถ้า  2=16 m T2= ? จะได้ g 2 T 2 2    - - - - - - - - / ; 1 2 1 2      แทนค่าจะได้ 1 16 2 2   2  = 8 วินาที ตอบ ตัวอย่างที่ 11 ลูกตุ้มแขวนด้วยเชือกยาว 1 เมตร แกว่งไปมาด้วยคาบ 3 วินาที ถ้าลูกตุ้ม แขวนด้วยเชือกยาว 9 เมตร จะแกว่งด้วยคาบเท่าไร ตัวอย่างที่ 12 ลูกตุ้มแขวนด้วยเชือกยาว 0.4 เมตร แกว่งไปมาด้วยคาบ 4 วินาที ถ้าลูกตุ้ม แขวนด้วยเชือกยาว 3.6 เมตร จะแกว่งด้วยคาบเท่าไร
  • 10. 10 ตัวอย่างที่ 13 ลูกตุ้มนาฬิกาแขวนด้วยเชือกยาว 2 เมตร จงหาความถี่ของลูกตุ้มในกรณี ต่อไปนี้ ก. แกว่งบนพื้นโลก ข. แกว่งในลิฟท์ขึ้นด้วยความเร่ง 2 m/s2 ค. แกว่งในลิฟท์ลงด้วยความเร่ง 2 m/s2 วิธีทา ก. แกว่งบนพื้นโลกจะได้ f =  g  2 1 แทนค่าจะได้ f =   2 5 2 10 2 1  = 0.356 รอบ/วินาที ตอบ ข.เมื่อแกว่งในลิฟท์ที่เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่ง 2 m/s2 ขนาดของความเร่งลัพธ์ของลูกตุ้มเมื่อเทียบกับคนในลิฟท์ a g    = 10 + 2 = 12 m/s2 ความถี่ของการแกว่ง f =    a g   2 1 แทนค่า f = 2 12 2 1  = 0.39 รอบ/วินาที ตอบ ค. เมื่อแกว่งในลิฟท์ที่เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง 2 ขนาดของความเร่งลัพท์ของลูกตุ้มเทียบกับคนในลิฟท์ a g    = 10-2 = 8 m/s2 ความถี่ของการแกว่ง f =    a g   2 1 แทนค่า f = 2 8 2 1  = 0.318 รอบ/วินาที ตอบ ตัวอย่างที่ 14 ลูกตุ้มนาฬิกาแขวนด้วยเชือกยาว 0.1 เมตร จงหาความถี่ของลูกตุ้มในกรณี ต่อไปนี้ ก. แกว่งบนพื้นโลก ข. แกว่งในลิฟท์ขึ้นด้วยความเร่ง 3.6 m/s2 ค. แกว่งในลิฟท์ลงด้วยความเร่ง 6.4 m/s2
  • 11. 11 ตัวอย่างที่ 15 จากรูปต่อไปนี้ จงหาคาบเวลาการแกว่งของมวล m วิธีทา ในแต่ละรูปที่โจทย์กาหนดให้มา ทาการยุบเป็นสปริงเส้นเดียวเสียก่อน จึงหา คาบเวลา จาก m k  2  
  • 12. 12 จากรูปสปริง 3 ตัวต่ออย่างอนุกรมกัน ยุบให้เหลือสปริง 1 ตัว ดังรูป 3 2 1 e k 1 k 1 k 1 k 1    3 2 1 2 1 1 3 3 2 e k k k k k k k k k k 1    จากสูตร e k m 2   แทนค่าจะได้ 3 2 1 2 1 1 3 3 2 k k k ) k k k k k k ( m 2      ตอบ จากรูป สปริง k1 และ k2 ต่อขนานกันยุบเป็น 1 ตัว แลละต่ออนุกรมกับ k3 ดังรูป 3 2 1 e k 1 k k 1 k 1    3 2 1 2 1 3 e k ) k k ( k k k k 1    จาก e k m  2   3 2 1 3 2 1 k ) k k ( ) k k k ( m 2       ตอบ 16. สปริง S1 และ S2 มีค่านิจ K1 และ K2 ตามลาดับ ผูกติดกัน แล้วผูกติดกับมวล m ดังรูป มวล m จะสั่น ด้วยคาบเวลาเท่าใด ก.           2 1 k 1 k 1 m 2 ข. 2 1 k k m 2   ค. 2 1 2 1 k k k mk 2   ง.   2 1 k k / m 2 2  
  • 13. 13 17. สปริง S1 และ S2 มีค่านิจ K1 และ K2 ตามลาดับ ผูกติดกัน แล้วผูกติดกับมวล m แขวน ในแนวดิ่ง ดังรูป มวล m จะสั่นด้วยคาบเวลาเท่าใด ก. m ) k k ( 2 2 1   ข. 2  ) k k / m 2 1  ค. 2  ) k k / m 2 2 1   ง. 2  ) k k / k mk 2 1 2 1   18. สปริง S1, S2 และ S3 มีค่านิจ K1 , K2 และ K3 ตามลาดับ ผูกติดกับมวล m ดังรูป ค่านิจรวม ของสปริงเท่ากับเท่าใด ก.   3 2 1 k k k 3 1   ข. 3 2 1 k k k   ค. 3 3 2 1 k . k . k ง. 3 2 1 k 1 k 1 k 1   19.จากรูป ค่านิจรวมของสปริงทั้งสามเท่ากับเท่าใด ถ้า K1 , K2 และ K3 เป็นค่านิจของสปริงทั้ง สาม ก. 3 2 1 k 1 k 1 k 1   ข.           3 2 1 k 1 k 1 k 1 / 1 ค. 3 2 1 k k k   ง.   3 2 1 k k k 3 1  