SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
การเคลื่อนที่แนวตรง รายวิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ระยะทางคือ ระยะทางจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งระยะกระจัด(S)คือ ระยะห่างจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ระยะทางจากจุดAไปจุดCเป็นได้ทั้ง AB+BC และ ACระยะกระจัดจากจุดAไปจุดCเป็นได้แค่ AC เท่านั้น
	การหาระยะกระจัด เราใช้เพียงจุด 2 จุดเท่านั้นคือ จุดเริ่มต้น กับจุดปลายแล้วเราก็ลากเส้นเชื่อมจุดไปเลยเส้นที่ได้นั้นคือระยะกระจัดนั่นเอง...เช่น นายสมชายอยู่บนตึกชั้น2 ต้องการออกไปหน้าบ้านระยะทางคือการเดินของนายสมชายทั้งหมดคือ จากชั้นสอง เดินลงบันได เดินออกจากบ้านแต่ระยะกระจัดคือระยะที่สั้นที่สุดคือ บินทะลุกำแพงไปเลย  	นายสมชายต้องการไปหานางสมถวิล สาวที่ตนรักแต่นายสมชายและนางสมถวิลอยู่คนละหมู่บ้านกันมีภูเขาลูกใหญ่เป็นอุปสรรคขวางกั้นระยะทางที่นายสมชายต้องเดินคือ เดินข้ามเขาไปยังอีกหมู่บ้านนั้นแต่ระยะกระจัดคือ เดินทะลุเขาไปเลย Ex.1นายสมชายเดินไปทางทิศเหนือ 5 เมตรแล้วเดินต่อไปทางทิศตะวันออก 6 เมตรแล้วจึงเดินไปทางทิศเหนือต่ออีก 3 เมตรระยะทาง และระยะกระจัดเป็นเท่าใด
วิธีทำระยะทาง = 5 + 6 + 3 = 14 เมตร ระยะกระจัด2 =  62 + 82                  = 36 + 64                  = 100ระยะกระจัด   = 10 เมตรอัตราเร็ว คือ ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลาความเร็ว คือ ระยะกระจัดที่เคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลาเช่น สมชายวิ่งรอบสนามหญ้ารูปสี่เหลี่ยมจัตตุรัส6รอบซึ่งกว้างด้านละ25เมตร ใช้เวลา5นาทีจงหาความเร็วและอัตตราเร็วความเร็ว = 0(เพราะจุดเริ่มต้น และจุดสุดท้ายอยู่ณจุดเดียวกัน ระยะกระจัดจึงเป็น 0)อัตราเร็ว = ระยะทาง(เมตร) / เวลา(วินาที)            = (25x4 x6) / (5x60)            = 600 / 300            = 2 เมตร/วินาที
ความเร่ง(a)คือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลามีหน่วยเป็น ระยะทาง/เวลา2เช่น สมชายวิ่งด้วยความเร็ว 2 เมตร/วินาที5 วินาทีต่อมาความเร็วของสมชายเปลี่ยนเป็น 7 เมตร/วินาทีจงหาความเร่งความเร่ง = ความเร็วที่เปลี่ยนไป(เมตร/วินาที) / เวลา(วินาที)            = ( v - u ) / t            = ( 7 - 2 ) / 5            = 5 / 5            = 1 เมตร/วินาที2
ที่มาของสูตร ความเร่งเฉลี่ย = (ความเร็วปลาย - ความเร็วต้น) / ช่วงเวลา               a  = (v - u) / t - 0               a  = (v - u) / t               v  = u + at  เมื่อ s = vtหากมีความเร่ง ระยะกระจัดจะหาได้จากระยะกระจัด = ความเร็วเฉลี่ย x เวลา                                 = (ความเร็วต้น+ความเร็วปลาย)/2 x t                               s = ( u+v ) / 2 x t
เอา v จาก 1 มาแทน    s = [ u+ ( u+at ) ] / 2 x t                               s = ( 2u + at ) x t /2                               s = ( 2ut / 2 ) + (at2 / 2)                               s = ut + at2/2  จาก 1 จะได้ว่า t = (v - u) / a นำค่า t นี้ไปแทนใน 2 ได้s = [ (u + v) / 2 ] [(v - u) / a]s = (v2 - u2) / 2av2 = u2 + 2as
การเคลื่อนที่แนวดิ่ง กาลิเลโอ ได้ทำการทดลองให้เห็นว่า วัตถุที่ตกลงสู่พื้นโลกอย่างอิสระ จะเคลื่อนที่ภายใต้แรงดึงดูดของโลก ต่อมานิวตันสังเกตุเห็นว่า ทำไมดวงจันทร์ไม่ลอยหลุดออกไปจากโลก ทำไมผลแอปเปิ้ลจึงตกลงสู่พื้นดิน นิวตันได้ทำการศึกษาค้นคว้าต่อ จนในที่สุดก็สามารถพิสูจน์ในเรื่องกฎแห่งการดึงดูดของ สสาร โดยโลกและดวงจันทร์ต่างมีแรงดึงดูดซึ่งกันและ กัน แต่เนื่องจากดวงจันทร์โคจรรอบโลก จึงมีแรงหนีสู่ศูนย์กลางซึ่งต่อต้านแรงดึงดูดไว้ ทำให้ดวงจันทร์ลอยโคจรรอบโลกได้ แต่ผลแอปเปิ้ลกับโลกก็มีแรงดึงดูดระหว่างกัน ผลแอปเปิ้ลเมื่อหลุดจากขั้วจึงเคลื่อนที่อิสระตามแรงดึงดูดนั้น การตกอย่างอิสระนี้ วัตถุจะเคลื่อนตัวด้วยความเร่ง ซึ่งเรียกว่า Gravitationalaccelerationหรือ gซึ่งมีค่าประมาณ 9.8m/sการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งนี้จึงเป็นไปตาม กฎการเคลื่อนที่ ดังนี้
ตัวอย่างเช่น ขว้างหินจากชั้น 4 ของตึกขึ้นไปในแนวดิ่ง ด้วยความเร็ว 10 m/s ณ จุดที่มีความสูง 14 เมตร จงหาว่าก้อนหินใช้เวลาอยู่ในอากาศนานเท่าใดจึง ตกถึงพื้น และความเร็วขณะถึงพื้นเป็นเท่าใด ระยะทาง 
บรรณานุกรม 61.19.121.179/elearning/file.php?file=/45/_OAa_eI_Oea_C_A..

More Related Content

Similar to การเคลื่อนที่แนวตรง (7)

การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 

การเคลื่อนที่แนวตรง

  • 2. ระยะทางคือ ระยะทางจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งระยะกระจัด(S)คือ ระยะห่างจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ระยะทางจากจุดAไปจุดCเป็นได้ทั้ง AB+BC และ ACระยะกระจัดจากจุดAไปจุดCเป็นได้แค่ AC เท่านั้น
  • 3. การหาระยะกระจัด เราใช้เพียงจุด 2 จุดเท่านั้นคือ จุดเริ่มต้น กับจุดปลายแล้วเราก็ลากเส้นเชื่อมจุดไปเลยเส้นที่ได้นั้นคือระยะกระจัดนั่นเอง...เช่น นายสมชายอยู่บนตึกชั้น2 ต้องการออกไปหน้าบ้านระยะทางคือการเดินของนายสมชายทั้งหมดคือ จากชั้นสอง เดินลงบันได เดินออกจากบ้านแต่ระยะกระจัดคือระยะที่สั้นที่สุดคือ บินทะลุกำแพงไปเลย นายสมชายต้องการไปหานางสมถวิล สาวที่ตนรักแต่นายสมชายและนางสมถวิลอยู่คนละหมู่บ้านกันมีภูเขาลูกใหญ่เป็นอุปสรรคขวางกั้นระยะทางที่นายสมชายต้องเดินคือ เดินข้ามเขาไปยังอีกหมู่บ้านนั้นแต่ระยะกระจัดคือ เดินทะลุเขาไปเลย Ex.1นายสมชายเดินไปทางทิศเหนือ 5 เมตรแล้วเดินต่อไปทางทิศตะวันออก 6 เมตรแล้วจึงเดินไปทางทิศเหนือต่ออีก 3 เมตรระยะทาง และระยะกระจัดเป็นเท่าใด
  • 4. วิธีทำระยะทาง = 5 + 6 + 3 = 14 เมตร ระยะกระจัด2 = 62 + 82 = 36 + 64 = 100ระยะกระจัด = 10 เมตรอัตราเร็ว คือ ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลาความเร็ว คือ ระยะกระจัดที่เคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลาเช่น สมชายวิ่งรอบสนามหญ้ารูปสี่เหลี่ยมจัตตุรัส6รอบซึ่งกว้างด้านละ25เมตร ใช้เวลา5นาทีจงหาความเร็วและอัตตราเร็วความเร็ว = 0(เพราะจุดเริ่มต้น และจุดสุดท้ายอยู่ณจุดเดียวกัน ระยะกระจัดจึงเป็น 0)อัตราเร็ว = ระยะทาง(เมตร) / เวลา(วินาที) = (25x4 x6) / (5x60) = 600 / 300 = 2 เมตร/วินาที
  • 5. ความเร่ง(a)คือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลามีหน่วยเป็น ระยะทาง/เวลา2เช่น สมชายวิ่งด้วยความเร็ว 2 เมตร/วินาที5 วินาทีต่อมาความเร็วของสมชายเปลี่ยนเป็น 7 เมตร/วินาทีจงหาความเร่งความเร่ง = ความเร็วที่เปลี่ยนไป(เมตร/วินาที) / เวลา(วินาที) = ( v - u ) / t = ( 7 - 2 ) / 5 = 5 / 5 = 1 เมตร/วินาที2
  • 6. ที่มาของสูตร ความเร่งเฉลี่ย = (ความเร็วปลาย - ความเร็วต้น) / ช่วงเวลา a = (v - u) / t - 0 a = (v - u) / t v = u + at เมื่อ s = vtหากมีความเร่ง ระยะกระจัดจะหาได้จากระยะกระจัด = ความเร็วเฉลี่ย x เวลา = (ความเร็วต้น+ความเร็วปลาย)/2 x t s = ( u+v ) / 2 x t
  • 7. เอา v จาก 1 มาแทน s = [ u+ ( u+at ) ] / 2 x t s = ( 2u + at ) x t /2 s = ( 2ut / 2 ) + (at2 / 2) s = ut + at2/2 จาก 1 จะได้ว่า t = (v - u) / a นำค่า t นี้ไปแทนใน 2 ได้s = [ (u + v) / 2 ] [(v - u) / a]s = (v2 - u2) / 2av2 = u2 + 2as
  • 8. การเคลื่อนที่แนวดิ่ง กาลิเลโอ ได้ทำการทดลองให้เห็นว่า วัตถุที่ตกลงสู่พื้นโลกอย่างอิสระ จะเคลื่อนที่ภายใต้แรงดึงดูดของโลก ต่อมานิวตันสังเกตุเห็นว่า ทำไมดวงจันทร์ไม่ลอยหลุดออกไปจากโลก ทำไมผลแอปเปิ้ลจึงตกลงสู่พื้นดิน นิวตันได้ทำการศึกษาค้นคว้าต่อ จนในที่สุดก็สามารถพิสูจน์ในเรื่องกฎแห่งการดึงดูดของ สสาร โดยโลกและดวงจันทร์ต่างมีแรงดึงดูดซึ่งกันและ กัน แต่เนื่องจากดวงจันทร์โคจรรอบโลก จึงมีแรงหนีสู่ศูนย์กลางซึ่งต่อต้านแรงดึงดูดไว้ ทำให้ดวงจันทร์ลอยโคจรรอบโลกได้ แต่ผลแอปเปิ้ลกับโลกก็มีแรงดึงดูดระหว่างกัน ผลแอปเปิ้ลเมื่อหลุดจากขั้วจึงเคลื่อนที่อิสระตามแรงดึงดูดนั้น การตกอย่างอิสระนี้ วัตถุจะเคลื่อนตัวด้วยความเร่ง ซึ่งเรียกว่า Gravitationalaccelerationหรือ gซึ่งมีค่าประมาณ 9.8m/sการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งนี้จึงเป็นไปตาม กฎการเคลื่อนที่ ดังนี้
  • 9. ตัวอย่างเช่น ขว้างหินจากชั้น 4 ของตึกขึ้นไปในแนวดิ่ง ด้วยความเร็ว 10 m/s ณ จุดที่มีความสูง 14 เมตร จงหาว่าก้อนหินใช้เวลาอยู่ในอากาศนานเท่าใดจึง ตกถึงพื้น และความเร็วขณะถึงพื้นเป็นเท่าใด ระยะทาง