SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 1
หนวยที่ 9 คลื่นกล
คลื่นเปนปรากฏการณที่แสดงการถายทอดพลังงานจากแหลงกําเนิดออกยังบริเวณโดยรอบ
1. การจําแนกคลื่น
สามารถจําแนกไดหลายวิธี ดังนี้
1.1 จําแนกตามความจําเปนในการใชตัวกลางในการแผ
คลื่นกล (Mechanical Wave) เปนคลื่นที่ตองอาศัยตัวกลางในการแผ เชน คลื่นผิวน้ํา คลื่นใน
เสนเชือก คลื่นเสียง เปนตน
คลื่นแมเหล็กไฟฟา ( Electromagnetic Wave) ไมอาศัยตัวกลางในการแผ เกิดจากการ
เหนี่ยวนํา ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของสนามแมเหล็กและสนามไฟฟา ในทิศตั้งฉากซึ่งกันและ
กัน และตั้งฉากกับทิศทางการแผของคลื่น เชน คลื่นวิทยุ เรดาห ไมโครเวฟ แสง รังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีเอกซ เปนตน
1.2 จําแนกตามลักษณะของการสั่นของแหลงกําเนิด หรือตามลักษณะการแผ
คลื่นตามขวาง (Transverse Wave) เปนคลื่นที่มีทิศทางการสั่นของตัวกลาง ตั้งฉากกับทิศ
ทางการแผ (ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น) เชน คลื่นในเสนเชือก คลื่นน้ํา คลื่นแมเหล็กไฟฟา
คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave) เปนคลื่นที่มีทิศทางการสั่นของตัวกลางอยูในแนวขนาน
กับการเคลื่อนที่ของคลื่น เชน คลื่นเสียง คลื่นสปริง (คลื่นตามยาวทุกชนิดเปนคลื่นกลทั้งสิ้น)
1.3 จําแนกตามความตอเนื่องของแหลงกําเนิด
คลื่นดล (Pulse Wave) เปนคลื่นที่เกิดจากแหลงกําเนิดสั่นหรือรบกวนตัวกลางเปนระยะเวลา
สั้น ๆ ทําใหเกิดคลื่นแผออกไปจํานวน 1 หรือ 2 คลื่น เชน การเอามือจุมน้ําเพียง 1 หรือ 2 ครั้ง
คลื่นตอเนื่อง ( Continous Wave) เปนคลื่นที่เกิดจากแหลงกําเนิดคลื่นสั่น หรือรบกวน
ตัวกลาง อยางตอเนื่อง เชน การเกิดคลื่นผิวน้ําเนื่องจากแหลงกําเนิดติดกับมอเตอร
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 2
2. สวนประกอบของคลื่น
1. สันคลื่น (Crest) เปนตําแหนงสูงสุดของคลื่น หรือเปนตําแหนงที่มีการกระจัดสูงสุดในทางบวก
2. ทองคลื่น (Trough) เปนตําแหนงต่ําสุดของคลื่น หรือเปนตําแหนงที่มีการกระจัดสูงสุดในทางลบ
3. แอมพลิจูด (Amplitude) เปนระยะการกระจัดมากสุด ทั้งคาบวกและคาลบ
4. ความยาวคลื่น (wavelength) เปนความยาวของคลื่นหนึ่งลูกมีคาเทากับระยะระหวางสันคลื่นหรือทอง
คลื่น ที่อยูถัดกัน ความยาวคลื่นแทนดวยสัญลักษณ มีหนวยเปนเมตร (m)
5. ความถี่ (frequency) หมายถึง จํานวนลูกคลื่นที่เคลื่อนที่ผานตําแหนงใด ๆ ในหนึ่งหนวยเวลา แทนดวย
สัญลักษณ f มีหนวยเปนรอบตอวินาที (s-1) หรือ เฮิรตซ (Hz)
6. คาบ (period) หมายถึง ชวงเวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ผานตําแหนงใด ๆ ครบหนึ่งลูกคลื่น แทนดวย
สัญลักษณ T มีหนวยเปนวินาทีตอรอบ (s/รอบ )
7. อัตราเร็วคลื่น (wave speed) หมายถึงระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ไดใน 1 หนวยเวลา ใชสัญลักษณ v
มีหนวยเปน เมตร/วินาที
8. หนาคลื่น (wave front) คือ แนวสมดุลที่เชื่อมระหวางตําแหนงเดียวกันบนคลื่นหลาย ๆ ขบวน
โดยหนาคลื่นจะตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
9. เฟส (phase) คือ การบอกตําแหนงบนคลื่น โดยเปรียบเทียบการเคลื่อนที่หรือการสั่นของคลื่น 1 รอบ
กับการเคลื่อนที่เปนวงกลม ใชสัญลักษณ( ) มีหนวยเปน องศา หรือ เรเดียน ซึ่งมุม 1 เรเดียน เทียบได
เทากับ 57.3องศา มุม 360 องศา เทียบไดเทากับ 2 เรเดียน
สันคลืน สันคลืน
ท้องคลืน ท้องคลืน
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 3
เดี๋ยวเพื่อนๆ ลองตอบคําถาม
เพื่อทดสอบความเขาใจนะครับ
1.1 ตําแหนงใดบางที่เปนตําแหนงสันคลื่น……………………………………………………….
1.2 ตําแหนงใดบางที่เปนตําแหนงทองคลื่น………………………………………………………...
1.3 คลื่นนี้มีแอมพลิจูด เทากับ………………………………..เซนติเมตร
1.4 ในรูปคลื่นนี้มีคลื่นทั้งหมดกี่ความยาวคลื่น………………………………..
1.5 1 ความยาวคลื่น เทากับ……………………………………เมตร
1.6 ถาคลื่นที่ตําแหนง A ไปถึงตําแหนง I ภายในเวลา 5 วินาที จงหา
1.6.1 คาบ……………………..วินาที
1.6.2 ความถี่คลื่น……………….เฮิรตซ
1.6.3 อัตราเร็วคลื่น……………….เมตรตอวินาที
3. ความสัมพันธระหวางความถี่และคาบของคลื่น
เมื่อพิจารณาจากความหมายของคาบและความถี่ของคลื่น จะไดความสัมพันธดังนี้
T
f
1
 หรือ
f
T
1

ระยะทาง (cm)
การกระจัด (cm)
20
0 5 10 15 20 25
A
B
C
D
E
F
G
H
I
J
ทิศการเคลือนที 
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 4
4. อัตราเร็วคลื่น (wave speed)
หมายถึงระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ไดใน 1 หนวยเวลา ใชสัญลักษณ v มีหนวยเปน เมตร/วินาที
จาก
t
s
v 
ดังนั้น
T
v

 หรือ fv 
อัตราเร็วของคลื่นบนเสนเชือก

T
v 
ตัวอยางที่ 1 เชือกเสนหนึ่งสั่นดวยความถี่คาหนึ่ง ทําใหเกิดคลื่นตอเนื่องเคลื่อนที่ไปทางขวา ดังรูป (1) เปน
ภาพถายการสั่นของเสนเชือกในชวงหนึ่งและในขณะที่คลื่นเคลื่อนที่ไป อนุภาคของเสนเชือกมีการเคลื่อนที่ขึ้น-ลง
ซึ่งเมื่อเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางการกระจัดกับเวลาจะไดดังรูปที่ 2 จงหาอัตราเร็วของคลื่นบนเสน
เชือก
โดย T = ความตึงของเส้นเชือก (นิวตัน)
 มวลต่อหนึงหน่วยความยาว (kg/m)
V= อัตราเร็วของคลืนในเส้นเชือก (m/s)
X(m)
t(s)
0.4 0.8 1.2 1.6
1 3 5 7
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 5
ตัวอยางที่ 2 เชือกที่ยาวมาก และสมาเสมอเสนหนึ่งถูกขึงตึง ถาเราสะบัดปลายเชือกอีกขางหนึ่ง ขึ้นลงอยาง
สม่ําเสมอเปนเวลา 0.5 วินาที รูปรางของเชือกจะเปลี่ยนแปลงดังรูป จงหา
ก) ความยาวคลื่น
ข) อัตราเร็วคลื่น
ค) ความถี่ของคลื่น
ง) ความถี่ที่สะบัดปลายเชือก
ตัวอยางที่ 3 แหลงกําเนิดคลื่นผิวน้ําสั่นดวยความถี่ 20 รอบ/วินาที และพบวาสันคลื่น 5 สันติดกันหางกัน
20 cm จงหาอัตราเร็วของคลื่นผิวน้ํา
ตัวอยางที่ 4 ปงปอนดโยนกอนหินลงน้ํา ทําใหเกิดคลื่นที่ผิวน้ํา 3 ลูกคลื่นวิ่งติดตามกันมา ถาตําแหนงที่กอนหิน
กระทบผิวน้ําหางออกไป 10 m พบวาคลื่นลูกแรกวิ่งมาถึงฝงใชเวลา 5 วินาที คลื่นลูกถัดไปใชเวลา 5 วินาที คลื่น
ลูกถัดไปมาถึงเวลา 5.5 และ 6.0 วินาทีตามลําดับ จงหาความยาวคลื่นผิวน้ําที่เกิด
ตําแหน่ง
(cm)0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22
การขจัด
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 6
แบบฝกหัดที่ 1.2 เรื่อง อัตราเร็วคลื่น
1. คลื่นชนิดหนึ่งเกิดจากการสั่น 3000 รอบตอนาที คลื่นนี้มีความถี่และคาบเทาไร
2. คลื่นน้ําคลื่นหนึ่ง สามารถเคลื่อนที่ไดระยะทาง 40 เมตร ในเวลา 5 วินาที
ก) คลื่นนี้จะมีความเร็วคลื่นเทาใด
ข) จากขอที่ผานมา หากคลื่นนี้มีความยาวคลื่น 2 เมตร จะมีความถี่เทาใด
ค) จากขอที่ผานมา จงหาเวลาที่คลื่นใชในการเคลื่อนที่ได 1 ลูกคลื่น พอดี
3. แหลงกําเนิดคลื่นปลอยคลื่นมีความยาวคลื่น 0.05 เมตร วัดอัตราเร็วได 40 เมตร/วินาทีเปนเวลา 0.8
วินาที ไดคลื่นทั้งหมดกี่ลูกคลื่น
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 7
4. แหลงกําเนิดคลื่นใหคลื่นความถี่ 400 Hz ความยาวคลื่น 12.5 cm ถาคลื่นชุดนี้ เคลื่อนที่ในระยะทาง
300 m จะใชเวลาเทาไร
5. เมื่อสังเกตคลื่นเคลื่อนที่ไปบนผิวน้ํากระเพื่อมขึ้นลง 600 รอบ ใน 1 นาที และระยะระหวางสันคลื่นที่ถัดกัน
วัดได 20 เซนติเมตร จงหาวาเมื่อสังเกตคลื่นลูกหนึ่งเคลื่อนที่ไปใน 1 นาทีจะไดระยะทางกี่เมตร
6. แหลงกําเนิดคลื่นสั่นอยางสม่ําเสมอดวยอัตรา 30 ครั้ง ใน 1 นาที ทําใหเกิดคลื่นน้ําแผออกไปอยาง
ตอเนื่อง เมื่อพิจารณาคลื่นที่เกิดขึ้นพบวา คลื่นแตละลูกเคลื่อนที่จากเสาตนหนึ่งไปยังเสาอีกตนหนึ่งซึ่ง
ปกอยูหางกัน 20 เมตร ตองใชเวลา 2 วินาที ความยาวคลื่นน้ํามีคาเทาใด
7. นอยยืนอยูที่ทาน้ํา สังเกตเห็นคลื่นผิวน้ําที่เกิดจากเรือวิ่งกระทบฝง 20 ลูกคลื่นในเวลา 10 วินาที
และทราบวาอัตราเร็วของคลื่นผิวน้ํา 10 m/s อยากทราบวาสันคลื่นที่อยูติดกันหางกันเทาไร
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 8
5. การบอกตําแหนงการเคลื่อนที่แบบคลื่น
จากรูป สรุปไดวา ณ ตําแหนงสันคลื่นจะมีเฟส 90o เสมอ สวนทองคลื่นมีเฟส 270o สวนตําแหนงที่กําลัง
เคลื่อนที่ขึ้นจากแนวสมดุลจะมีเฟส 0o หรือ 360o สวนตําแหนงที่กําลังเคลื่อนที่ลงจากแนวสมดุลจะมีเฟส 180o
5.1 เฟสตรงกัน (Inphase)
หมายถึง จุดสองจุด บนคลื่นที่มีการกระจัดเทากัน และลักษณะการสั่นไปทางเดียวกัน ซึ่งอาจมี
ลักษณะดังนี้
1) จุดทั้งสองมีระยะหาง  , 2 , 3 , 4 ,………,n
2) จุดทั้งสองมีเฟสตางกัน 2 , 4 , 6 , 8 ,………, n
3) จุดทั้งสองมีเวลาตางกัน T, 2T, 3T, 4T,…………..,nT
5.2 เฟสตรงขาม (Out of Phase)
หมายถึง จุดสองจุด บนคลื่นที่มีการกระจัดเทากัน แตมีตําแหนงและทิศทางการสั่นตรงขามกัน ซึ่ง
อาจมีลักษณะดังนี้
1) จุดทั้งสองมีระยะหาง
2

,
2
3
,
2
5
, ……..…, 






2
1
n
2) จุดทั้งสองมีเฟสตางกัน  , 3 , 5 , ………..…., 12 n
3) จุดทั้งสองมีเวลาตางกัน
2
T
,
2
3T
,
2
5T
, ………, Tn 






2
1
A C E
0, 2
2


2
3
B
B
D
F
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 9
5.3 ความตางเฟส
หมายถึง จุด 2 จุด บนคลื่นขบวนเดียวกัน หรือบนคลื่นหลายขบวนที่มีเฟสตาง ๆ กัน
ก) เมื่อทราบระยะหาง ( X )
กําหนดให คลื่นขบวนหนึ่งมีความยาวคลื่น  จุด 2 จุดบนคลื่น หางกัน X มีเฟส
ตางกัน 
จากนิยาม
จุด 2 จุด บนคลื่นหางกัน  จะมีเฟสตางกัน 2 เรเดียน
จุด 2 จุด บนคลื่นหางกัน X จะมีเฟสตางกัน

 X2
เรเดียน
ดังนั้น



X

2
ข) เมื่อทราบระยะหาง ( t )
กําหนดให คลื่นขบวนหนึ่งมีคาบ T จุด 2 จุดบนคลื่น ใชเวลาตางกัน t มีเฟสตางกัน 
จากนิยาม
จุด 2 จุด บนคลื่นใชเวลาตางกัน T จะมีเฟสตางกัน 2 เรเดียน
จุด 2 จุด บนคลื่นใชเวลาตางกัน t จะมีเฟสตางกัน
T
t2
เรเดียน
ดังนั้น tf
T
t


 

 2
2
ตัวอยางที่ 5 จากรูปคลื่นมีอัตราเร็ว 2 m/s จุด 2 จุด บนคลื่นมีเฟสตางกัน
2
3
rad จะอยูหางกันเทาไร
เวลา(s)
0.1 0.2 0.3 0.4 0.5
การกระจัด
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 10
ตัวอยางที่ 6 คลื่นผิวน้ําตอเนื่องกระจายออกจากแหลงกําเนิดคลื่น ซึ่งมีความถี่ 20 Hz มีอัตราเร็ว 40 cm/s ณ
ตําแหนงที่อยูหางจากแหลงกําเนิดเปนระยะ 20 และ 21 cm จะมีเฟสตางกันกี่องศา
หลักการซอนทับ (Principle of superposition)
เมื่อคลื่น 2 คลื่น เคลื่อนที่มาซอนทับกันในตัวกลางหนึ่งๆ คลื่นรวมจะมีคาตามหลักการซอนทับ
(principle of superposittion)
กลาวคือ คลื่นรวมจะมีการกระจัดของตัวกลางที่แตละตําแหนง ณ เวลาหนึ่งๆ เทากับผลบวกของการ
กระจัดของตัวกลางที่เกิดจากแตละคลื่นที่ตําแหนงและเวลานั้นๆ
ถาคลื่น 2 คลื่น เคลื่อนที่ในทิศทางตรงขามกัน เมื่อซอนทับแลว คลื่นแตละขบวนก็จะเคลื่อนที่ผานกัน
ไป โดยยังคงรูปรางและทิศทางการเคลื่อนที่ของแตละคลื่นไว
ในกรณีของคลื่นดล ถาคลื่น 2 คลื่น มีการกระจัดของตัวกลาง ณ ตําแหนงที่รวมกันอยูในทิศทาง
เดียวกัน เรียกผลของการซอนทับกันนี้วา การแทรกสอดแบบเสริม (constructive interference)
แตถา ณ ตําแหนงที่มารวมกัน มีการกระจัดของตัวกลาง ณ ตําแหนงที่มารวมกันอยูในทิศทางที่ตรงขามกัน เรียก
การแทรกสอดนี้วา การแทรกสอดแบบหักลาง (destructive interference)
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 11
ตัวอยางที่ 7 มีคลื่นดล 2 คลื่น เคลื่อนที่ผานตัวกลางเดียวกันแตในทิศทางตรงขามกัน โดยอัตราเร็วของคลื่นมีคา
เทากับ 1.0 เมตรตอวินาทีและมีรูปรางดังแสดงในรูปดานลาง โดยใชหลักการซอนทับ วาดรูปรางของคลื่นรวม
เมื่อเวลาผานไป 2 วินาที 3 วินาที และ 4 วินาที จงบอกวิธีคิด
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 12
คําถามตรวจสอบความเขาใจ 9.1
1. จากรูปจงเติมใหถูกตอง
ตําแหนง เฟส( เรเดียน,องศา) เฟสตรงกัน เฟสตรงขาม
A
B
C
D
E
F
G
H
I
2.รูปขางลางนี้แสดงรูปรางคลื่นดลในเสนเชือกที่กําลังเคลื่อนที่ไปทางซาย อนุภาคของเชือกตรงจุด A
และจุด B กําลังจะเคลื่อนที่ไปในทิศทางใด (ซาย ขวา ลง หรือขึ้น)
3.คลื่นกลตางจากคลื่นแมเหล็กไฟฟาอยางไร
B D J L
A E I M Q
F H N P
C K
G O
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 13
คําถามตรวจสอบความเขาใจ 9.2
1.ดานลางแสดงรูปรางคลื่นดลในเสนเชือกที่กําลังเคลื่อนที่ไปทางขวาดวยอัตราเร็ว 100 เซนติเมตร
ตอวินาที โดยในรูป แสดงเฉพาะรูปรางคลื่นที่เวลา t = 0.01 วินาที เทานั้น จงหา
ก. จงวาดรูปรางคลื่นที่เวลา t = 0.00 s, t = 0.02 s, t = 0.03 s และ t = 0.04 s
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 14
2. พิจารณาคลื่นรูปไซนดานลางนี้ โดยเปนคลื่นที่เคลื่อนที่ไปทางขวาดวยอัตราเร็ว 25 เซนติเมตรตอวินาที จง
วาดรูปคลื่นไซนนี้ที่เวลาอื่น ๆ ตามระบุในรูป
3. พิจารณาคลื่นรูปไซนดานลาง จงหาวา จุด B C D E และ F หางจากจุด A เปนระยะในแนวนอน เทากับ
กี่เทาของความยาวคลื่นนี้ และมีคาเฟสตางจากจุด A เทาใด
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 15
4. สันคลื่นกับทองคลื่นที่อยูถัดกันมีเฟสตางกันกี่องศา
5.พิจารณาคลื่นรูปไซนดานลางนี้ จงวาดรูปของคลื่นไซนอีก 2 คลื่น โดยคลื่นแรกมีความยาวคลื่นเทากันกับคลื่น
ดานบนสุดแตมีแอมพลิจูดเปนครึ่งหนึ่ง และคลื่นที่สองมีแอมพลิจูดเทากันกับคลื่น บนสุดแตมีความยาวคลื่นเปน
ครึ่งหนึ่ง
คําถามตรวจสอบความเขาใจ 9.3
1. พิจารณาหนาคลื่นระนาบ ณ เวลาเริ่มตน t = 0 วินาที ที่กําาลังเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 10 เซนติเมตรตอ
วินาที ดังแสดงในรูปดาน ขวา ความยาวคลื่นของคลื่นนี้มีคาเทาใด แนวของสันคลื่นกับแนวของทองคลื่นอยูที่
คา y เทาใดบาง
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 16
2. พิจารณาคลื่นดล 2 คลื่นที่เคลื่อนที่ในทิศทางตรงกันขาม โดยทั้งคูมีอัตราเร็วเทากันเทากับ1.0 เมตรตอวินาที
โดยมีการกระจัดของตัวกลางที่ตําแหนงตาง ๆ ที่เวลาเริ่มตนเปนดังรูป จงแสดงการกระจัดของตัวกลางได
หลังจากเวลาผานไปแลว 3.0 วินาที จากตอนเริ่มตน
3. คลื่นดล 2 คลื่น มีรูปรางตางกัน เคลื่อนที่เขาหากันดวยอัตราเร็ว 10 เมตรตอวินาที ดังรูป จงวาดรูปรางคลื่น
รวมที่เวลาถัดมา ตามที่ระบุในรูป
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 17
6.สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นมี 4 ประการ ดังนี้
การสะทอนกลับ( Reflection ) การหักเห (Refraction)
การเลี้ยวเบน (Diffraction ) การแทรกสอดของคลื่น ( Interference )
รูปที่ 1 แสดงสมบัติของคลื่น
1. การสะทอน (Reflection)
การสะทอนของคลื่นหมายถึง การเปลี่ยนทิศทางการเดินทางของคลื่นโดยทันทีทันใดเมื่อคลื่นนั้นเดินทาง ตก
กระทบที่ผิวของตัวกลาง นั่นคือ คลื่นกระดอนออกจากผิวสะทอนของตัวกลาง ในลักษณะเดียวกับแสงสะทอน
จากกระจกเงา ในหัวขอนี้เราจะศึกษาการสะทอนของคลื่นในเสนเชือกและคลื่นผิวน้ํา
1.1 การสะทอนของคลื่นในเสนเชือก
 เมื่อจุดสะทอนเปนจุดตรึงแนน
 จุดตรึงแนน คือ จุดที่ไมสามารถเคลื่อนที่ได การกระจัดมีคาเปนศูนยเสมอ
 คลื่นสะทอนมีลักษณะตรงขามกับคลื่นตกกระทบ คือเขาเปนสันคลื่น ออกเปนทอง
คลื่น หรือเขาทองคลื่นออกเปนสันคลื่น ดังนั้น เฟสเปลี่ยน 180o (เฟสตรงขามกัน)
 เมื่อจุดสะทอนอิสระ
 จุดสะทอนอิสระ คือ จุดที่มีการเคลื่อนไหวอยางอิสระตามทิศทางการสั่น
 คลื่นสะทอนมีลักษณะเหมือนกับคลื่นตกกระทบ คือ เขาเปนสันคลื่นออกเปน สัน
คลื่น หรือเขาเปนทองคลื่นออกเปนทองคลื่น ดังนั้นเฟสไมเปลี่ยน (เฟสตรงกัน)
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 18
รูปที่ 2 การสะทอนที่จุดตรึงแนน รูปที่ 3 การสะทอนที่อิสระ
คําถาม… นักเรียนลองเขียนคลื่นสะทอนที่เกิดขึ้นในกรณีตอไปนี้
ใหนักเรียนเขียนการสะทอนของคลื่นในเสนเชือกมวลตางกัน
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 19
1.2 การสะทอนของคลื่นผิวน้ํา
จากการทดลองการสะทอนของคลื่นผิวน้ําเสนตรง พบวาในการสะทอนแตละครั้ง มุมที่หนาคลื่นตก
กระทบทํากับผิวสะทอนจะเทากับมุมที่หนาคลื่นสะทอนทํากับผิวสะทอนเสมอดังรูปที่ 4
2.
รูปที่ 4 แสดงมุมที่หนาคลื่นตกกระทบ และมุมที่หนาคลื่นสะทอนกระทํากับแผนสะทอนตรง
สามารถเขียนทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบและคลื่นสะทอนไดโดยมีทิศตั้งฉากกับหนาคลื่นตกกระทบและ
หนาคลื่นสะทอนตามลําดับ และที่ตําแหนงคลื่นตกกระทบและคลื่นสะทอน ลากเสนตั้งฉากกับผิวสะทอน ซึ่ง
เรียกวา “เสนแนวฉาก” (normal line) ทําใหไดมุมตกกระทบและมุมสะทอน ดังรูปที่ 5
รูปที่ 5 แสดงการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบและคลื่นสะทอน
ถาเขียนทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบและทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นสะทอนขณะเกิดการสะทอน จะได
ลักษณะดังรูปที่ 6
รูปที่ 6 แสดงทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบและคลื่นสะทอน
เมื่อทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบ(รังสีตกกระทบ) คือแนวที่คลื่นวิ่งเขาชนตัวสะทอนกอนสะทอน
ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นสะทอน(รังสีสะทอน) คือ แนวที่คลื่นวิ่งออกจากตัวสะทอนหลังสะทอน
เสนแนวฉาก คือ เสนที่ลากตั้งฉากกับตัวสะทอน ณ ตําแหนงที่คลื่นตกกระทบ
มุมตกกระทบ คือ 1 อาจวัดไดจากมุมที่หนาคลื่นตกกระทบกับแนวตัวสะทอน หรือมุมที่รังสีตก
กระทบทํากับเสนแนวฉาก
มุมสะทอน คือมุม 2 อาจวัดไดจากมุมที่หนาคลื่นสะทอนทํากับแนวตัวสะทอน หรือมุมที่รังสี
สะทอนกับกับเสนแนวฉาก
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 20
กฎการสะทอนอาจสรุปไดวา…
1. มุมตกกระทบเทากับมุมสะทอน(1=2)
2. ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบ(รังสีตกกระทบ) เสนแนวฉาก หรือเสนปกติ และทิศการ
เคลื่อนที่ของคลื่นสะทอน(รังสีสะทอน) อยูในระนาบเดียวกัน
คุณสมบัติการสะทอนของคลื่น
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปชนสิ่งกีดขวาง หรือเคลื่อนที่ไปถึงปลายสุดของตัวกลางจะทําใหเกิดคลื่นสะทอน
ขึ้นมา คลื่นสะทอนที่เกิดขึ้นมานั้น จะตองมีคุณสมบัติดังนี้…
1. ความถี่ของคลื่นสะทอนมีคาเทากับความถี่ของคลื่นตกกระทบ
2. ความเร็วและความยาวคลื่นของคลื่นสะทอนมีคาเทากับความเร็วและความยาวคลื่นของคลื่นตก
กระทบ
3. ถาการสะทอนไมสูญเสียพลังงาน จะไดแอมพลิจูดของคลื่นสะทอนมีคาเทากับแอมพลิจูดของ
คลื่นตกกระทบ
ตัวอยางที่ 8 แหลงกําเนิดคลื่นน้ําความถี่ 10 HZ ความยาวคลื่น 1 cm อยูหางจากผิวสะทอน 15 cm
ก) นับจากเกิดคลื่นนานเทาไร คลื่นจึงจะเคลื่อนที่กลับมายังแหลงกําเนิด
ข) คลื่นที่สะทอนมาถึงแหลงกําเนิด แหลงกําเนิดไดสั่นกี่รอบ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 21
2.การหักเหของคลื่น (Refraction of Wave)
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผานตัวกลางตางชนิดกัน จะทําใหความเร็วของคลื่นและความยาวของคลื่น
เปลี่ยนแปลงแตความถี่คงเดิม
การหักเห (refraction) เปนปรากฏการณที่คลื่นเคลื่อนที่ผานรอยตอระหวางตัวกลางที่มีคุณสมบัติ
ตางกันแลวทําใหอัตราเร็วและทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเปลี่ยนแปลงไป ดังรูปที่ 7
รูปที่ 7 แสดงมุมตกกระทบ(1) และมุมหักเห(2)
เมื่อคลื่นเกิดการหักเห ความยาวคลื่น และอัตราเร็วของคลื่นตกกระทบและคลื่นหักเหเปลี่ยนไป ดังสมการ
2
1
2
1
2
1
sin
sin
v
v





เมื่อ 1 มุมตกกระทบ เปนหนาคลื่นของคลื่นตกกระทบทํามุมกับเสนรอยตอ
หรือทิศทางของการตกกระทบทํามุมกับเสนแนวฉาก
2 มุมหักเห เปนหนาคลื่นของคลื่นหักเหทํามุมกับเสนรอยตอ
หรือทิศทางของการหักเหทํามุมกับเสนแนวฉาก
1 เปนความยาวคลื่นในบริเวณกอนตกกระทบ
2 เปนความยาวคลื่นในบริเวณหลังหักเห
1v เปนความเร็วคลื่นในบริเวณกอนตกกระทบ
2v เปนความเร็วคลื่นในบริเวณหลังหักเห
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 22
จากสมการ สรุปเปนกฎการหักเหไดวา
ทิศทางคลื่นตกกระทบเสนแนวฉาก และทิศทางคลื่นหักเหอยูในระนาบเดียวกัน
กฎการหักเหซึ่งเรียกอีกอยางหนึ่งวา “กฎของสเนล” ซึ่งอัตราสวนของคา sine
ของมุมตกกระทบในตัวกลางที่ 1 (1) ตอคา sine ของมุมหักเหในตัวกลางที่ 2 (2) จะมีคาคงที่เสมอ
เรียกอัตราสวนนี้วา… “ดัชนีหักเหของตัวกลางที่ 2 เทียบตัวอยางที่ 1 ใชสัญลักษณแทนดวย “ n”
2
1
sin
sin


n
ดังนั้นเราสามารถสรุปเปนสมการรวมไดวา…
2
1
2
1
2
1
21
sin
sin





v
v
n
หมายเหตุ คาดัชนีหักเห (n) จะตองกําหนดวาเปรียบเทียบกับตัวกลางใด ดังนั้น การเขียน
คาดัชนี (n) จึงตองมีอักษรกํากับไวเพื่อบงบอกคาดัชนีหักเห เชน
AnB หมายถึง ดัชนีหักเหของตัวกลาง B เทียบกับตัวกลาง A หรือคลื่นเคลื่อนที่จาก
ตัวกลาง A ไปสูตัวกลาง B แลวเกิดการหักเหในตัวกลาง B
1n2 หมายถึง ดัชนีหักเหของตัวกลาง 2 เทียบตัวกลาง 1
ตัวกลางที่มีอัตราเร็วมากมุม  จะมีคามาก และตัวกลางที่มีอัตราเร็วนอยมุม  จะมีคานอย
สรุปเพิ่มเติม
 คลื่นเคลื่อนที่จากน้ําตื้น(V นอย,  นอย) สูน้ําลึก (V มาก,  มาก) ทิศทางคลื่นหักเหจะเบนออกจาก
เสนแนวฉาก
 คลื่นเคลื่อนที่จากน้ําลึก (V มาก,  มาก) สูน้ําตื้น(V นอย,  นอย) ทิศทางคลื่นหักเหจะเบนเขาหา
เสนแนวฉาก
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 23
มุมวิกฤตและการสะทอนกลับหมด
เมื่อคลื่นผิวน้ําเคลื่อนที่จากบริเวณน้ําตื้นเขาสูบริเวณน้ําลึก จะทําใหเกิดการหักเหโดยทิศทางคลื่นหักเห
จะเบนออกจากเสนแนวฉาก ถามุกหักเหของคลื่นเทากับ 90 องศาพอดี มุมตกกระทบที่ทําใหเกิดมุมหักเหมีคา
เทากับ 90 องศานี้เราเรียกวา “มุมวิกฤต” ( Critical Angle ; c ) และถามุมตกกระทบโตมากกวามุมวิกฤต
จะเกิดการสะทอนขึ้นที่รอยตอของตัวกลางทั้งสอง เรียกปรากฏการณนี้วา “การสะทอนกลับหมด ( Total
Reflection) ดังรูปที่ 8
5.
รูปที่ 8 แสดงการเกิดมุมวิกฤตและการสะทอนกลับหมดของคลื่นผิวน้ํา
ขอสรุป
มุมวิกฤตและการสะทอนกลับหมด เกิดขึ้นไดเมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มี
อัตราเร็วคลื่นนอยไปยังตัวกลางที่มีอัตราเร็วคลื่นมาก
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 24
ใหนักเรียนศึกษากรณีตัวอยางตอไปนี้
ตัวอยางที่ 9คลื่นน้ําในถาดคลื่นพบวาบริเวณน้ําลึกระยะหางระหวางหนาคลื่นติดกันเทากับ 2 cm และ
บริเวณน้ําตื้นระยะหางระหวางหนาคลื่นที่ติดกันเทากับ 1.5 cm ถามุมระหวางหนาคลื่นในน้ําตื้นทํามุม 30 องศากับ
รอยตอของน้ําลึกและน้ําตื้น อยากทราบวามุมระหวางหนาคลื่นในน้ําลึกกับรอยตอของน้ําลึกและน้ําตื้นเปนเทาใด
ตัวอยางที่ 10 แหลงกําเนิดคลื่นน้ําสั่นดวยความถี่ 8 Hz วัดอัตราเร็วของคลื่นน้ําได 4 เมตร/วินาที เมื่อคลื่นน้ําเคลื่อนที่เขา
ไปในบริเวณตื้นกวาเดิม โดยหนาคลื่นตกกระทบทํามุม 1 กับรอยตอระหวางตัวกลาง พบวาหนาคลื่นหักเหทํามุม 2 กับ
รอยตอระหวางตัวกลาง และระยะหางของหนาคลื่นหักเหที่ถัดกัน 5 แนว หางกัน 1.6 เมตร จงหาอัตราสวน sin1 ตอ
sin2
ตัวอยางที่ 11 คลื่นน้ําในถาดคลื่น เคลื่อนที่จากบริเวณน้ําตื้นไปสูบริเวณน้ําลึก โดยมีมุมตกกระทบ 30 องศา
และมุมหักเห 45 องศา ถาเปลี่ยนมุมตกกระทบเปน 45 องศา มุมหักเหจะมีขนาดเทาใด
ตัวอยางที่ 12 คลื่นน้ําเคลื่อนที่ผานบริเวณที่มีความลึกตางกัน เกิดปรากฏการณดังรูป ในบริเวณ (ก) หนาคลื่น
อยูหางกัน 4 เซนติเมตร ในบริเวณ (ข) คลื่นมีความเร็ว 6 2 cm/s ถาตนกําเนิดมาจากบริเวณ (ก) ความถี่ของ
ตนกําเนิดคลื่นมีคาเทาใด
(ก) 53
45 (ข)
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 25
ตัวอยางที่ 13 ถาอัตราเร็วของคลื่นในบริเวณน้ําลึกเปน 2 เทา ของอัตราเร็วในบริเวณน้ําตื้น จงหามุมตก
กระทบที่ทําใหเกิดการสะทอนกลับหมด
ตัวอยางที่ 14 คลื่นน้ําหนาตรงเคลื่อนที่จากบริเวณ A ไปยังบริเวณ B ปรากฏวาคาความยาวคลื่นบริเวณ B มี
คา 0.5 เทาของความยาวคลื่นบริเวณ A ถาหนาคลื่นบริเวณ A ทํามุมกับบริเวณรอยตอ A เทากับ 45 องศา
จงหา
1. คาดัชนีหักเหของคลื่นบริเวณ B เทียบกับบริเวณ A
2. มุมหักเหในตัวกลาง B มีคาเทาใด
3. การแทรกสอดของคลื่น (Interferance of Wave)
เมื่อมีคลื่นตั้งแต 2 คลื่น เคลื่อนที่มาพบกันจะเกิดการรวมกันแบบเสริมและแบบหักลาง ซึ่งสังเกตไดจากการ
เกิดแนวสวางและแนวมืดของถาดคลื่น เราเรียกสมบัติการรวมกันของคลื่นนี้วา “การแทรกสอด” (inter
ference) และเรียกแนวสวางและแนวมืดที่เกิดวา “ลวดลายการแทรกสอดหรือริ้วของการแทรกสอด”
(interference pattern) ดังรูปที่ 9 ซึ่งเปนการแทรกสอดของคลื่นวงกลมตอเนื่องสองขบวนที่เหมือนกันทุก
ประการ
รูปที่ 1 แสดงลวดลายการแทรกสอด
จากรูปที่ 1 เมื่อคลื่นจากแหลงกําเนิดทั้งสองเคลื่อนที่มาพบกันจะเกิดการซอนทับ (superposition) ซึ่งมี 2
ลักษณะ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 26
1. การแทรกสอดแบบเสริม( constructive interference)
เกิดขึ้นเมื่อสวนที่เปนสันคลื่นพบสวนที่เปนสันคลื่น หรือสวนที่เปนทองคลื่นพบสวนที่เปนทองคลื่น
แอมพลิจูดของคลื่นทั้งสองจะเสริมกัน ทําใหผิวน้ํา ณ ตําแหนงนั้นมีระดับสูงขึ้นมากที่สุดและลดต่ํามากที่สุด
ตามลําดับ เราเรียกตําแหนงนี้วา “ปฏิบัพ” (antinode)
2. การแทรกสอดแบบหักลาง (destructive interference)
เกิดขึ้นเมื่อสวนที่เปนสันคลื่นพบกับสวนที่เปนทองคลื่น แอมพลิจูดของคลื่นทั้งสองจะหักลางกัน
ทําใหผิวน้ํา ณ ตําแหนงนั้นไมกระเพื่อม เราเรียกตําแหนงนี้วา “บัพ” (node)
แหลงกําเนิดคลื่นอาพันธ (Coherent Sources) คือ แหลงกําเนิดคลื่นที่มีความถี่เทากัน ความยาวคลื่นเทากัน
อัตราเร็วเทากัน แอมพลิจูดเทากัน มีเฟสตรงกันหรือตางกันคงที่
จากการศึกษาเมื่อใหคลื่นตอเนื่องสองขบวนเคลื่อนที่มาพบกันตลอดเวลา จะเกิดบัพและปฏิบัพอยางตอเนื่อง
และพบวาเมื่อลากเสนเชื่อมตอปฏิบัพที่อยูถัดกันไปจะไดแนวเสนที่เรียกวา เสนปฎิบัพ (antinode line) สวน
เสนที่เชื่อมตอบัพที่อยูถัดกันไป จะไดแนวเสนที่เรียกวา เสนบัพ (node line) ทําใหเห็นลวดลายการแทรกสอด
ดังรูปที่ 2
รูปที่ 2 แสดงการแทรกสอดของคลื่นน้ํา
จากรูปขางบน แสดงการรวมกันแบบเสริมและแบบหักลางของคลื่นวงกลมตอเนื่อง 2 แหลงกําเนิด
เปนจุดที่ทองคลื่นพบกับทองคลื่น (ปฎิบัพ)
เปนจุดที่สันคลื่นพบกับสันคลื่น (ปฏิบัพ)
เปนจุดที่สันคลื่นพบกับทองคลื่น (บัพ)
A เปนเสนปฎิบัพ
N เปนเสนบัพ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 27
จากภาพที่ 2 เราจะเห็นวาถาเราใหตําแหนง P เปนตําแหนงปฏิบัพใดๆ
บนเสนปฏิบัพ เราจะไดความสัมพันธวา
PS-PS 21 = n เมื่อ n = 1,2,3,…
และถาใหตําแหนง Q เปนตําแหนงบัพใด ๆ
บนเสนบัพ เราจะไดความสัมพันธวา
QS-QS 21 = (n –
2
1
)  เมื่อ n = 1,2,3,…
หมายเหตุ ณ ตําแหนงแทรกสอดไกลที่สุด ที่เปนไปไดจะอยูในแนวเดียวกับ S1 ,S2 ดังนั้น
Path diff มากสุด เทากับ d (ระยะหางระหวาง S1 ,S2)
ถา P เปนจุดปฏิบัพ บนเสน An และ P อยูไกลมาก จะประมาณไดวา
 nd sin ; n = 1,2,3………..
ในทํานองเดียวกัน ถา P เปนจุดบัพบนเสน Nn จะไดวา
 






2
1
sin nd ; n = 1,2,3………..
สรุปสูตรการแทรกสอด
เมื่อเฟสตรงกัน
เสริมกัน(ปฏิบัพ) PS-PS 21 = n
 nd sin ; n = 1,2,3………..
หักลางกัน (บัพ) QS-QS 21 = (n –
2
1
) 
 






2
1
sin nd ; n = 1,2,3………..
เมื่อเฟสตรงขามกัน
เสริมกัน(ปฏิบัพ) PS-PS 21 = (n –
2
1
) 
 






2
1
sin nd ; n = 1,2,3………..
หักลางกัน (บัพ) QS-QS 21 = n
 nd sin ; n = 1,2,3………..
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 28
ตัวอยางที่ 15 แหลงกําเนิดอาพันธสองแหลงหางกัน 10 cm ใหคลื่นมีความยาวคลื่นเทากัน 2.5 cm เฟสตรงกัน
จงหาวาตําแหนงตอไปนี้อยูบนแนวบัพหรือปฏิบัพที่เทาไร
ก. จุด A อยูหางจากแหลงกําเนิดทั้ง 2 เปนระยะ 12 และ 17 cm
ข. จุด B อยูหางจากแหลงกําเนิดทั้ง 2 เปนระยะ 14.5 และ 15.75 cm
ค. จุด C อยูหางจากแหลงกําเนิดทั้ง 2 เปนระยะ 16 และ 24 cm
ตัวอยางที่ 16 แหลงกําเนิดอาพันธ 2 แหลงตรงกัน หางกัน 12 cm มีความถี่เทากับ 10 Hz และเคลื่อนที่ดวย
อัตราเร็ว 40 cm/s เทากัน จงหา
ก) จุด x อยูหางจาก แหลงกําเนิดทั้งสองเปนระยะ 19 และ 25 cm ตามลําดับ จุด x จะอยูบนแนวเสริม
หรือหักลางกันที่เทาไร
ข) จํานวนบัพและปฏิบัพที่เกิดขึ้นทั้งหมด
ค) จํานวนบัพและปฏิบัพที่เกิดขึ้นระหวางแหลงกําเนิดคลื่นทั้งสอง
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 29
แบบฝกหัด 1.3 เรื่อง การแทรกสอดของคลื่น
1. S1 และ S2 เปนแหลงกําเนิดอาพันธใหเฟสตรงขามกัน หางกัน 10 cm ใหคลื่นมีความยาวคลื่น 4 cm
จงหาแนวปฏิบัพและบัพที่เกิดขึ้นระหวาง S1 และ S2
2. S1 และ S2 เปนแหลงกําเนิดอาพันธ หางกัน 10 cm ใหคลื่นเฟสตรงกันและมีระยะหางระหวางหนาคลื่น
2 cm
ก) บนแนวเสนตรง S1 , S2 มีแนวปฏิบัพและบัพกี่แนว (11,10)
ข) ระหวาง S1 ,S2 มีแนวปฏิบัพและบัพกี่แนว (9,10)
3. แหลงกําเนิดอาพันธ 2 แหลง ใหเฟสตรงกัน หางกัน 6 cm ปรากฏวาแนวเสริมกันครั้งแรกเบนออกจาก
แนวกลาง 30o จงหาความยาวคลื่นจากแหลงกําเนิดทั้งสอง
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 30
4. การเลี้ยวเบนของคลื่น (Diffraction of Wave)
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผานสิ่งกีดขวาง คลื่นสวนที่กระทบสิ่งกีดขวางจะสะทอนกลับมา คลื่นบางสวนที่ผาน
ไปไดจะสามารถแผจากขอบของสิ่งกีดขวางเขาไปทางดานหลังของสิ่งกีดขวางนั้น คลายกับคลื่นเคลื่อนที่ออมผาน
สิ่งกีดขวางนั้นไดเรียกปรากฏการณนี้วา… ” การเลี้ยวเบน ” (diffraction)
ในการเลี้ยวเบนของคลื่นยังคงมีความยาวคลื่น ความถี่ และ อัตราเร็วเทาเดิม
รูปที่ 1 การเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ําผานสิ่งกีดขวาง
หลักการเลี้ยวเบนของคลื่น (หลักของฮอยเกนส ; Huygens)
หลักการเลี้ยวเบนของคลื่น มีใจความวา ทุก ๆ จุดบนหนาคลื่น ถือไดวาเปนตนกําเนิดใหม ซึ่งให
กําเนิดคลื่นวงกลมที่มีเฟสเดียวกัน เคลื่อนที่ไปในทิศเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นนั้น
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 31
1. การเลี้ยวเบนของคลื่นน้ําผานชองเดี่ยว
ถา P เปนจุดใด ๆ บนแนวบัพที่ n (Nn)
nAPBP  หรือ npathdiff 
ถา P เปนจุดใด ๆ บนแนวบัพที่ n และอยูไกลจากชองเปดเดี่ยว พบวา
 nd sin เมื่อ n=1,2,3……
เงื่อนไขการเลี้ยวเบนและการแทรกสอด มีดังนี้
 กรณี d <  ; แนวไกลสุด n<1 แสดงวาไมมีแนวบัพ
 กรณี d = ; แนวไกลสุด n=1 แสดงวาแนวบัพที่ 1 ทับแนวสิ่งกีดขวางพอดี เราจะมอง
ไมเห็นแนวบัพ
 กรณี d > ; แนวไกลสุด n>1 แสดงวาจะเกิดแนวบัพและมองเห็นแนวบัพไดมากกวา
1 แนว
ถา P เปนจุดที่มีการแทรกสอดแบบเสริมกัน (ปฏิบัพ) เราสามารถหาเงื่อนไขของการแทรกสอดไดวา







2
1
nAPBP หรือ 






2
1
npathdiff
และ  






2
1
sin nd เมื่อ n = 1,2,3……
2. การเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ําผานชองเปดคู
สูตรการคํานวณแนวปฏิบัพและแนวบัพจากชองเปดคู
 แนวปฏิบัพ
npathdiff  และ  nd sin ; เมื่อ n = 1,2,3……
 แนวบัพ







2
1
npathdiff และ  






2
1
sin nd ; เมื่อ n = 1,2,3……
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 32
สรุปสูตรการเลี้ยวเบนของคลื่น
การเลี้ยวเบนของคลื่นน้ําผานชองเดี่ยว
เสริมกัน(ปฏิบัพ) 






2
1
nAPBP
 






2
1
sin nd ; n = 1,2,3………..
หักลางกัน (บัพ) nAPBP 
 nd sin ; n = 1,2,3………..
การเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ําผานชองเปดคู
เสริมกัน(ปฏิบัพ) npathdiff 
 nd sin ; n = 1,2,3………..
หักลางกัน (บัพ) 






2
1
npathdiff
 






2
1
sin nd ; n = 1,2,3………..
ตัวอยางที่ 17 คลื่นน้ําหนาตรงมีความยาวคลื่น 2.5 cm ผานอยางตั้งฉากกับชองเปดเดี่ยวซึ่งกวาง 8 cm จงหา
ก) แนวบัพที่เกิดขึ้นทั้งหมด
ข) แนวบัพที่ 2 เบนจากแนวกลางเทาไร
ค) แนวปฏิบัพแรกเบนจากแนวกลางเทาไร
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 33
ตัวอยางที่ 18 ชองแคบคูอยูหางกัน 8 เซนติเมตร ในถาดคลื่น ถาทําใหเกิดคลื่นหนาตรงผานชองแคบคูนั้นใน
แนวตั้งฉาก ทําใหเกิดการแทรกสอดขึ้น ถาจุด A อยูบนแนวปฏิบัพที่ 2 ซึ่งอยูหางจากชองแคบทั้งสองเปนระยะ
10 เซนติเมตร และ 14 เซนติเมตร ตามลําดับ จงหา
ก. ความยาวคลื่นน้ํา ข . แนวบัพหรือปฏิบัพที่เกิดขึ้นทั้งหมด
ตัวอยางที่ 19 ชองแคบเดี่ยวจะตองกวางเทาไรจึงจะทําใหคลื่นที่มีความยาวคลื่น 3 cm ผานแลวเกิดแนวบัพ
ทั้งหมด 6 แนว
แบบฝกหัด 1.4 เรื่อง การเลี้ยวเบนของคลื่น
1. ชองเปดเดี่ยวกวาง 6 เซนติเมตร ใหคลื่นหนาตรงมีความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร จงหาแนวบัพที่เกิดขึ้น
ทั้งหมด
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 34
2. ชองเดี่ยวกวาง 4 cm จะตองใหคลื่นมีความยาวคลื่นเทาไร ผานในแนวตั้งฉากกับชองเดี่ยวนี้จึงจะทําให
เกิด แนวบัพรอบชองเดี่ยว 4 แนว
3. ชองเปด 2 ชอง หางกัน 3.25เทาของความยาวคลื่นน้ําหนาตรงที่ผานเขากระทบในแนวตั้งฉากทําให
คลื่นน้ําที่ผานชองเปดทั้งสองเกิดการเลี้ยวเบนแลวแทรกสอดกัน จงหาแนวบัพและปฏิบัพที่เกิดขึ้น
ทั้งหมด
คลื่นนิ่ง (Standing Wave)
เปนปรากฏการณที่เกิดจากคลื่น 2 ขบวน ที่มีแอมพลิจูดเทากัน มีความยาวคลื่นเทากัน มีอัตราเร็วเทากัน คลื่นที่
สวนทางกันในแนวเสนตรงเดียวกัน จะเกิดการรวมกัน ซึ่งจะพบวา
 ตําแหนงที่คลื่นแทรกสอดแบบหักลาง เรียกวา บัพ (Node)
 ตําแหนงที่คลื่นมีการแทรกสอดแบบเสริม เรียกวา ปฏิบัพ (Antinode)
รูปที่ 1 แสดงจุด Node และ Antinode
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 35
ลักษณะของคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้น
จุดบัพที่อยูติดกันจะหางกัน เทากับ
2

เสมอ
จุดปฏิบัพที่อยูติดกันจะหางกัน เทากับ
2

เสมอ
จุดบัพและปฏิบัพที่ติดกันจะหางกัน เทากับ
4

เสมอ
แอมพลิจูดสูงสุดของจุดปฏิบัพจะเปน 2 เทาของคลื่นยอยทั้งสอง
คาบของคลื่นนิ่งจะเทากับคาบของคลื่นยอยทั้งสอง
ตัวอยางที่ 20 ลวดเสนหนึ่งยาว 40 cm ปลายทั้งสองถูกขึงตึง เมื่อดีดลวดตรงกลางทําใหเสนลวดสั่นขึ้นลงดวย
ความถี่ 20 Hz จงหาอัตราเร็วคลื่นในลวดเสนนี้
ตัวอยางที่ 21 เชือกเสนหนึ่งยาว 3 m ปลายขางหนึ่งยึดติดกับกําแพง จับปลายอีกขางหนึ่งสะบัดขึ้นลงอยาง
สม่ําเสมอ ทําใหเกิดคลื่นมีความยาวคลื่น 0.5 m จงหาวาระหวางปลายของเสนเชือกทั้งสองมีตําแหนงบัพ
และปฏิบัพกี่ตําแหนง
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 36
การสั่นพอง (Resonance)
1. การสั่นพองเสนลวด
พิจารณาเสนลวดหรือเสนเชือกที่ปลายทั้งสองตรึงแนน เมื่อดีดเสนลวดหรือเชือกใหสั่น จะเกิดคลื่นในเสน
ลวด เคลื่อนที่ไปกระทบจุดตรึงแลวสะทอนกลับไปกลับมาเปนคลื่นนิ่ง โดยมีจุดตรึงเปนตําแหนงบัพเสมอ ซึ่ง
เรียกวา เกิดการสั่นพองของเสนลวด
ความถี่ของคลื่นนิ่งที่ทําใหเกิดการสั่นพองของเสนลวดมีไดหลายคาดังนี้
1. ความถี่มูลฐาน (Fundamental) คือ ความถี่ต่ําสุดของคลื่นนิ่ง ซึ่งมีความยาวคลื่นมากที่สุดแลวทําให
เกิดการสั่นพองของเสนลวด
2. โอเวอรโทน (Overtone) คือ ความถี่ของคลื่นนิ่งที่สูงถัดจากความถี่มูลฐาน แลวทําใหเกิดการสั่นพอง
ของเสนลวดมีคาเปนขั้นๆ
3. ฮารมอนิก (Hamonic) คือ ตัวเลขที่บอกวาความถี่นั้นเปนกี่เทาของความถี่มูลฐาน
พิจารณาเสนเชือกยาว L ปลายทั้งสองขางถูกขึงตรึงอยูกับที่ เมื่อทําใหเสนเชือกสั่นจะเกิดคลื่นเคลื่อนไป
กระทบกับจุดตรึงแลวสะทอนกลับไปกลับมาทําใหเกิดคลื่นนิ่ง โดยที่จุดตรึงทั้งสองขาง จะปนจุดบัพ
เสมอซึ่งสามารถหาความยาวคลื่นและความถี่ที่ทําใหเกิดภาพนิ่ง และเกิดการสั่นพองของเสนเชือกได ดัง
รูปที่ 2
(1) การหาความยาวคลื่นของคลื่นนิ่งขณะเกิดการสั่นพองของคลื่นในเสนเชือก
จากรูป (1)
2

L
L21  ……….(1)
จากรูป (2) L
L 2 หรือ
2
2L
……….(2)
จากรูป (3)
2
3
L
3
2
3
L
 ……….(1)
จาก (1) (2) และ (3) สรุปไดวา ขณะเกิดการสั่นพองของคลื่นในเสนเชือก ความยาวของคลื่นในเสนเชือก มี
ความสัมพันธกับความยาวของเสนเชือกดัง สมการ
n
L
n
2
 เมื่อ n=1,2.3,…….
(3)
(2)
(1)
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 37
(2) การหาความถี่ของคลื่นนิ่งขณะเกิดการสั่นพองของคลื่นในเสนเชือก
จาก

v
f 
จะไดวา
1
1

v
f  หรือ
L
v
f
2
1 
เรียก f1 วา ความถี่มูลฐาน (fundamental frequency) หรือ Harmonic ที่ 1
และ
2
2

v
f  หรือ
2
22
L
v
f 
L
v
f
2
2
2  หรือ 12 2 ff 
เรียก f2 วา ความถี่โอเวอรโทนที่ 1 (first overtone) หรือ Harmonic ที่ 2
และ
3
3

v
f  หรือ
3
23
L
v
f 
L
v
f
2
3
3  หรือ 13 3 ff 
เรียก f3 วา ความถี่โอเวอรโทนที่ 2 (second overtone) หรือ Harmonic ที่ 3
ดังนั้น อาจสรุปไดวา ความถี่ของคลื่นในเสนเชือกที่ทําใหเกิดการสั่นพองมีคา
L
nv
fn
2
 เมื่อ n=1,2.3,…….
ขอสรุป ความถี่ของคลื่นนิ่งในเสนเชือกที่ทําใหเกิดการสั่นพองของคลื่นในเสนเชือกมีไดทุกฮารมอนิก
1nffn 
ตัวอยางที่ 22 ในการทดลองคลื่นนิ่งบนเสนเชือก ถาความถี่ของคลื่นนิ่งเปน 500 Hz และอัตราเร็วของคลื่นใน
เสนเชือกเทากับ 400 เมตร/วินาที ตําแหนงบัพสองตําแหนงที่อยูถัดกันจะหางกันเทาไร
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 38
ตัวอยางที่ 23 เชือกเบาเสนหนึ่งยาว 1.25 เมตร ถูกขึงดวยปลายทั้งสองขาง เมื่อทําใหเชือกสั่น วัดอัตราเร็วได
160 เมตร/วินาที ถาคลื่นในเสนเชือกเกิดการสั่นพองไดตองใหความถี่ไปเทาไร
ตัวอยางที่ 24 เชือกเสนหนึ่งยาว 90 cm หนัก 56.25 g ถูกทําใหสั่นดวยความถี่เทาไร จึงจะเกิดการสั่นพองใน
ขั้นฮารโมนิกที่ 4 ขณะนั้นเชือกมีความตึง 100 N
แบบฝกหัด 1.5 เรื่อง คลื่นนิ่งและการสั่นพอง
1. แหลงกําเนิดคลื่นน้ําในถาดคลื่น อยูหางจากผิวสะทอนระนาบตรงไป 20 cm ใหคลื่นมีความยาวคลื่น 4 cm
ตกกระทบผิวสะทอนในแนวตั้งฉาก จงหาวาระหวางแหลงกําเนิดและผิวสะทอนมีตําแหนงบัพและปฏิบัพกี่
ตําแหนง
2. คลื่นตอเนื่องในลวดสปริง มีความยาวคลื่น 8 cm เคลื่อนที่ไปยังปลายขางหนึ่งซึ่งยึดแนนไว ถาลวดสปริงยาว
20 cm จะเกิดคลื่นนิ่งมีบัพกี่บัพ และมีปฏิบัพกี่ปฏิบัพ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล
ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 39
3. คลื่นนิ่งมีระยะหางของบัพที่ติดกัน 10 cm ถาอัตราเร็วของคลื่น 160 cm/s จงหาความถี่ของแหลงกําเนิด
4. เสนลวดยาว 1.20 เมตร ปลายทั้งสองถูกขึงตึง เมื่อลวดสั่นดวยความถี่ 320 Hz จะเกิดการสั่นพองในโอเวอร
โทนที่ 2 จงหาอัตราเร็วของคลื่นในเสนเชือกนี้
5. เชือกเบาเสนหนึ่งยาว 2.5 เมตร ถูกขึงดวยปลายทั้งสองขาง เมื่อทําใหเชือกสั่น วัดอัตราเร็วได
160 เมตร/วินาที ถาคลื่นในเสนเชือกเกิดการสั่นพองไดตองใหความถี่ไปเทาไร

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลApinya Phuadsing
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 

What's hot (20)

การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่น
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกล
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 

Similar to คลื่นกล

ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นSom Kechacupt
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่นrumpin
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1sutham
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1sutham
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอwattumplavittayacom
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกลKruanek007
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกลKruanek007
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกลthanakit553
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 

Similar to คลื่นกล (20)

ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่น
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
WAVEs
WAVEsWAVEs
WAVEs
 
Wave
WaveWave
Wave
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
Ch9 wave exercises
Ch9 wave exercisesCh9 wave exercises
Ch9 wave exercises
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
 
P11
P11P11
P11
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 

คลื่นกล

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 1 หนวยที่ 9 คลื่นกล คลื่นเปนปรากฏการณที่แสดงการถายทอดพลังงานจากแหลงกําเนิดออกยังบริเวณโดยรอบ 1. การจําแนกคลื่น สามารถจําแนกไดหลายวิธี ดังนี้ 1.1 จําแนกตามความจําเปนในการใชตัวกลางในการแผ คลื่นกล (Mechanical Wave) เปนคลื่นที่ตองอาศัยตัวกลางในการแผ เชน คลื่นผิวน้ํา คลื่นใน เสนเชือก คลื่นเสียง เปนตน คลื่นแมเหล็กไฟฟา ( Electromagnetic Wave) ไมอาศัยตัวกลางในการแผ เกิดจากการ เหนี่ยวนํา ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของสนามแมเหล็กและสนามไฟฟา ในทิศตั้งฉากซึ่งกันและ กัน และตั้งฉากกับทิศทางการแผของคลื่น เชน คลื่นวิทยุ เรดาห ไมโครเวฟ แสง รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ เปนตน 1.2 จําแนกตามลักษณะของการสั่นของแหลงกําเนิด หรือตามลักษณะการแผ คลื่นตามขวาง (Transverse Wave) เปนคลื่นที่มีทิศทางการสั่นของตัวกลาง ตั้งฉากกับทิศ ทางการแผ (ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น) เชน คลื่นในเสนเชือก คลื่นน้ํา คลื่นแมเหล็กไฟฟา คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave) เปนคลื่นที่มีทิศทางการสั่นของตัวกลางอยูในแนวขนาน กับการเคลื่อนที่ของคลื่น เชน คลื่นเสียง คลื่นสปริง (คลื่นตามยาวทุกชนิดเปนคลื่นกลทั้งสิ้น) 1.3 จําแนกตามความตอเนื่องของแหลงกําเนิด คลื่นดล (Pulse Wave) เปนคลื่นที่เกิดจากแหลงกําเนิดสั่นหรือรบกวนตัวกลางเปนระยะเวลา สั้น ๆ ทําใหเกิดคลื่นแผออกไปจํานวน 1 หรือ 2 คลื่น เชน การเอามือจุมน้ําเพียง 1 หรือ 2 ครั้ง คลื่นตอเนื่อง ( Continous Wave) เปนคลื่นที่เกิดจากแหลงกําเนิดคลื่นสั่น หรือรบกวน ตัวกลาง อยางตอเนื่อง เชน การเกิดคลื่นผิวน้ําเนื่องจากแหลงกําเนิดติดกับมอเตอร
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 2 2. สวนประกอบของคลื่น 1. สันคลื่น (Crest) เปนตําแหนงสูงสุดของคลื่น หรือเปนตําแหนงที่มีการกระจัดสูงสุดในทางบวก 2. ทองคลื่น (Trough) เปนตําแหนงต่ําสุดของคลื่น หรือเปนตําแหนงที่มีการกระจัดสูงสุดในทางลบ 3. แอมพลิจูด (Amplitude) เปนระยะการกระจัดมากสุด ทั้งคาบวกและคาลบ 4. ความยาวคลื่น (wavelength) เปนความยาวของคลื่นหนึ่งลูกมีคาเทากับระยะระหวางสันคลื่นหรือทอง คลื่น ที่อยูถัดกัน ความยาวคลื่นแทนดวยสัญลักษณ มีหนวยเปนเมตร (m) 5. ความถี่ (frequency) หมายถึง จํานวนลูกคลื่นที่เคลื่อนที่ผานตําแหนงใด ๆ ในหนึ่งหนวยเวลา แทนดวย สัญลักษณ f มีหนวยเปนรอบตอวินาที (s-1) หรือ เฮิรตซ (Hz) 6. คาบ (period) หมายถึง ชวงเวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ผานตําแหนงใด ๆ ครบหนึ่งลูกคลื่น แทนดวย สัญลักษณ T มีหนวยเปนวินาทีตอรอบ (s/รอบ ) 7. อัตราเร็วคลื่น (wave speed) หมายถึงระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ไดใน 1 หนวยเวลา ใชสัญลักษณ v มีหนวยเปน เมตร/วินาที 8. หนาคลื่น (wave front) คือ แนวสมดุลที่เชื่อมระหวางตําแหนงเดียวกันบนคลื่นหลาย ๆ ขบวน โดยหนาคลื่นจะตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น 9. เฟส (phase) คือ การบอกตําแหนงบนคลื่น โดยเปรียบเทียบการเคลื่อนที่หรือการสั่นของคลื่น 1 รอบ กับการเคลื่อนที่เปนวงกลม ใชสัญลักษณ( ) มีหนวยเปน องศา หรือ เรเดียน ซึ่งมุม 1 เรเดียน เทียบได เทากับ 57.3องศา มุม 360 องศา เทียบไดเทากับ 2 เรเดียน สันคลืน สันคลืน ท้องคลืน ท้องคลืน
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 3 เดี๋ยวเพื่อนๆ ลองตอบคําถาม เพื่อทดสอบความเขาใจนะครับ 1.1 ตําแหนงใดบางที่เปนตําแหนงสันคลื่น………………………………………………………. 1.2 ตําแหนงใดบางที่เปนตําแหนงทองคลื่น………………………………………………………... 1.3 คลื่นนี้มีแอมพลิจูด เทากับ………………………………..เซนติเมตร 1.4 ในรูปคลื่นนี้มีคลื่นทั้งหมดกี่ความยาวคลื่น……………………………….. 1.5 1 ความยาวคลื่น เทากับ……………………………………เมตร 1.6 ถาคลื่นที่ตําแหนง A ไปถึงตําแหนง I ภายในเวลา 5 วินาที จงหา 1.6.1 คาบ……………………..วินาที 1.6.2 ความถี่คลื่น……………….เฮิรตซ 1.6.3 อัตราเร็วคลื่น……………….เมตรตอวินาที 3. ความสัมพันธระหวางความถี่และคาบของคลื่น เมื่อพิจารณาจากความหมายของคาบและความถี่ของคลื่น จะไดความสัมพันธดังนี้ T f 1  หรือ f T 1  ระยะทาง (cm) การกระจัด (cm) 20 0 5 10 15 20 25 A B C D E F G H I J ทิศการเคลือนที 
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 4 4. อัตราเร็วคลื่น (wave speed) หมายถึงระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ไดใน 1 หนวยเวลา ใชสัญลักษณ v มีหนวยเปน เมตร/วินาที จาก t s v  ดังนั้น T v   หรือ fv  อัตราเร็วของคลื่นบนเสนเชือก  T v  ตัวอยางที่ 1 เชือกเสนหนึ่งสั่นดวยความถี่คาหนึ่ง ทําใหเกิดคลื่นตอเนื่องเคลื่อนที่ไปทางขวา ดังรูป (1) เปน ภาพถายการสั่นของเสนเชือกในชวงหนึ่งและในขณะที่คลื่นเคลื่อนที่ไป อนุภาคของเสนเชือกมีการเคลื่อนที่ขึ้น-ลง ซึ่งเมื่อเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางการกระจัดกับเวลาจะไดดังรูปที่ 2 จงหาอัตราเร็วของคลื่นบนเสน เชือก โดย T = ความตึงของเส้นเชือก (นิวตัน)  มวลต่อหนึงหน่วยความยาว (kg/m) V= อัตราเร็วของคลืนในเส้นเชือก (m/s) X(m) t(s) 0.4 0.8 1.2 1.6 1 3 5 7
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 5 ตัวอยางที่ 2 เชือกที่ยาวมาก และสมาเสมอเสนหนึ่งถูกขึงตึง ถาเราสะบัดปลายเชือกอีกขางหนึ่ง ขึ้นลงอยาง สม่ําเสมอเปนเวลา 0.5 วินาที รูปรางของเชือกจะเปลี่ยนแปลงดังรูป จงหา ก) ความยาวคลื่น ข) อัตราเร็วคลื่น ค) ความถี่ของคลื่น ง) ความถี่ที่สะบัดปลายเชือก ตัวอยางที่ 3 แหลงกําเนิดคลื่นผิวน้ําสั่นดวยความถี่ 20 รอบ/วินาที และพบวาสันคลื่น 5 สันติดกันหางกัน 20 cm จงหาอัตราเร็วของคลื่นผิวน้ํา ตัวอยางที่ 4 ปงปอนดโยนกอนหินลงน้ํา ทําใหเกิดคลื่นที่ผิวน้ํา 3 ลูกคลื่นวิ่งติดตามกันมา ถาตําแหนงที่กอนหิน กระทบผิวน้ําหางออกไป 10 m พบวาคลื่นลูกแรกวิ่งมาถึงฝงใชเวลา 5 วินาที คลื่นลูกถัดไปใชเวลา 5 วินาที คลื่น ลูกถัดไปมาถึงเวลา 5.5 และ 6.0 วินาทีตามลําดับ จงหาความยาวคลื่นผิวน้ําที่เกิด ตําแหน่ง (cm)0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 การขจัด
  • 6. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 6 แบบฝกหัดที่ 1.2 เรื่อง อัตราเร็วคลื่น 1. คลื่นชนิดหนึ่งเกิดจากการสั่น 3000 รอบตอนาที คลื่นนี้มีความถี่และคาบเทาไร 2. คลื่นน้ําคลื่นหนึ่ง สามารถเคลื่อนที่ไดระยะทาง 40 เมตร ในเวลา 5 วินาที ก) คลื่นนี้จะมีความเร็วคลื่นเทาใด ข) จากขอที่ผานมา หากคลื่นนี้มีความยาวคลื่น 2 เมตร จะมีความถี่เทาใด ค) จากขอที่ผานมา จงหาเวลาที่คลื่นใชในการเคลื่อนที่ได 1 ลูกคลื่น พอดี 3. แหลงกําเนิดคลื่นปลอยคลื่นมีความยาวคลื่น 0.05 เมตร วัดอัตราเร็วได 40 เมตร/วินาทีเปนเวลา 0.8 วินาที ไดคลื่นทั้งหมดกี่ลูกคลื่น
  • 7. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 7 4. แหลงกําเนิดคลื่นใหคลื่นความถี่ 400 Hz ความยาวคลื่น 12.5 cm ถาคลื่นชุดนี้ เคลื่อนที่ในระยะทาง 300 m จะใชเวลาเทาไร 5. เมื่อสังเกตคลื่นเคลื่อนที่ไปบนผิวน้ํากระเพื่อมขึ้นลง 600 รอบ ใน 1 นาที และระยะระหวางสันคลื่นที่ถัดกัน วัดได 20 เซนติเมตร จงหาวาเมื่อสังเกตคลื่นลูกหนึ่งเคลื่อนที่ไปใน 1 นาทีจะไดระยะทางกี่เมตร 6. แหลงกําเนิดคลื่นสั่นอยางสม่ําเสมอดวยอัตรา 30 ครั้ง ใน 1 นาที ทําใหเกิดคลื่นน้ําแผออกไปอยาง ตอเนื่อง เมื่อพิจารณาคลื่นที่เกิดขึ้นพบวา คลื่นแตละลูกเคลื่อนที่จากเสาตนหนึ่งไปยังเสาอีกตนหนึ่งซึ่ง ปกอยูหางกัน 20 เมตร ตองใชเวลา 2 วินาที ความยาวคลื่นน้ํามีคาเทาใด 7. นอยยืนอยูที่ทาน้ํา สังเกตเห็นคลื่นผิวน้ําที่เกิดจากเรือวิ่งกระทบฝง 20 ลูกคลื่นในเวลา 10 วินาที และทราบวาอัตราเร็วของคลื่นผิวน้ํา 10 m/s อยากทราบวาสันคลื่นที่อยูติดกันหางกันเทาไร
  • 8. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 8 5. การบอกตําแหนงการเคลื่อนที่แบบคลื่น จากรูป สรุปไดวา ณ ตําแหนงสันคลื่นจะมีเฟส 90o เสมอ สวนทองคลื่นมีเฟส 270o สวนตําแหนงที่กําลัง เคลื่อนที่ขึ้นจากแนวสมดุลจะมีเฟส 0o หรือ 360o สวนตําแหนงที่กําลังเคลื่อนที่ลงจากแนวสมดุลจะมีเฟส 180o 5.1 เฟสตรงกัน (Inphase) หมายถึง จุดสองจุด บนคลื่นที่มีการกระจัดเทากัน และลักษณะการสั่นไปทางเดียวกัน ซึ่งอาจมี ลักษณะดังนี้ 1) จุดทั้งสองมีระยะหาง  , 2 , 3 , 4 ,………,n 2) จุดทั้งสองมีเฟสตางกัน 2 , 4 , 6 , 8 ,………, n 3) จุดทั้งสองมีเวลาตางกัน T, 2T, 3T, 4T,…………..,nT 5.2 เฟสตรงขาม (Out of Phase) หมายถึง จุดสองจุด บนคลื่นที่มีการกระจัดเทากัน แตมีตําแหนงและทิศทางการสั่นตรงขามกัน ซึ่ง อาจมีลักษณะดังนี้ 1) จุดทั้งสองมีระยะหาง 2  , 2 3 , 2 5 , ……..…,        2 1 n 2) จุดทั้งสองมีเฟสตางกัน  , 3 , 5 , ………..…., 12 n 3) จุดทั้งสองมีเวลาตางกัน 2 T , 2 3T , 2 5T , ………, Tn        2 1 A C E 0, 2 2   2 3 B B D F
  • 9. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 9 5.3 ความตางเฟส หมายถึง จุด 2 จุด บนคลื่นขบวนเดียวกัน หรือบนคลื่นหลายขบวนที่มีเฟสตาง ๆ กัน ก) เมื่อทราบระยะหาง ( X ) กําหนดให คลื่นขบวนหนึ่งมีความยาวคลื่น  จุด 2 จุดบนคลื่น หางกัน X มีเฟส ตางกัน  จากนิยาม จุด 2 จุด บนคลื่นหางกัน  จะมีเฟสตางกัน 2 เรเดียน จุด 2 จุด บนคลื่นหางกัน X จะมีเฟสตางกัน   X2 เรเดียน ดังนั้น    X  2 ข) เมื่อทราบระยะหาง ( t ) กําหนดให คลื่นขบวนหนึ่งมีคาบ T จุด 2 จุดบนคลื่น ใชเวลาตางกัน t มีเฟสตางกัน  จากนิยาม จุด 2 จุด บนคลื่นใชเวลาตางกัน T จะมีเฟสตางกัน 2 เรเดียน จุด 2 จุด บนคลื่นใชเวลาตางกัน t จะมีเฟสตางกัน T t2 เรเดียน ดังนั้น tf T t       2 2 ตัวอยางที่ 5 จากรูปคลื่นมีอัตราเร็ว 2 m/s จุด 2 จุด บนคลื่นมีเฟสตางกัน 2 3 rad จะอยูหางกันเทาไร เวลา(s) 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 การกระจัด
  • 10. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 10 ตัวอยางที่ 6 คลื่นผิวน้ําตอเนื่องกระจายออกจากแหลงกําเนิดคลื่น ซึ่งมีความถี่ 20 Hz มีอัตราเร็ว 40 cm/s ณ ตําแหนงที่อยูหางจากแหลงกําเนิดเปนระยะ 20 และ 21 cm จะมีเฟสตางกันกี่องศา หลักการซอนทับ (Principle of superposition) เมื่อคลื่น 2 คลื่น เคลื่อนที่มาซอนทับกันในตัวกลางหนึ่งๆ คลื่นรวมจะมีคาตามหลักการซอนทับ (principle of superposittion) กลาวคือ คลื่นรวมจะมีการกระจัดของตัวกลางที่แตละตําแหนง ณ เวลาหนึ่งๆ เทากับผลบวกของการ กระจัดของตัวกลางที่เกิดจากแตละคลื่นที่ตําแหนงและเวลานั้นๆ ถาคลื่น 2 คลื่น เคลื่อนที่ในทิศทางตรงขามกัน เมื่อซอนทับแลว คลื่นแตละขบวนก็จะเคลื่อนที่ผานกัน ไป โดยยังคงรูปรางและทิศทางการเคลื่อนที่ของแตละคลื่นไว ในกรณีของคลื่นดล ถาคลื่น 2 คลื่น มีการกระจัดของตัวกลาง ณ ตําแหนงที่รวมกันอยูในทิศทาง เดียวกัน เรียกผลของการซอนทับกันนี้วา การแทรกสอดแบบเสริม (constructive interference) แตถา ณ ตําแหนงที่มารวมกัน มีการกระจัดของตัวกลาง ณ ตําแหนงที่มารวมกันอยูในทิศทางที่ตรงขามกัน เรียก การแทรกสอดนี้วา การแทรกสอดแบบหักลาง (destructive interference)
  • 11. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 11 ตัวอยางที่ 7 มีคลื่นดล 2 คลื่น เคลื่อนที่ผานตัวกลางเดียวกันแตในทิศทางตรงขามกัน โดยอัตราเร็วของคลื่นมีคา เทากับ 1.0 เมตรตอวินาทีและมีรูปรางดังแสดงในรูปดานลาง โดยใชหลักการซอนทับ วาดรูปรางของคลื่นรวม เมื่อเวลาผานไป 2 วินาที 3 วินาที และ 4 วินาที จงบอกวิธีคิด
  • 12. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 12 คําถามตรวจสอบความเขาใจ 9.1 1. จากรูปจงเติมใหถูกตอง ตําแหนง เฟส( เรเดียน,องศา) เฟสตรงกัน เฟสตรงขาม A B C D E F G H I 2.รูปขางลางนี้แสดงรูปรางคลื่นดลในเสนเชือกที่กําลังเคลื่อนที่ไปทางซาย อนุภาคของเชือกตรงจุด A และจุด B กําลังจะเคลื่อนที่ไปในทิศทางใด (ซาย ขวา ลง หรือขึ้น) 3.คลื่นกลตางจากคลื่นแมเหล็กไฟฟาอยางไร B D J L A E I M Q F H N P C K G O
  • 13. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 13 คําถามตรวจสอบความเขาใจ 9.2 1.ดานลางแสดงรูปรางคลื่นดลในเสนเชือกที่กําลังเคลื่อนที่ไปทางขวาดวยอัตราเร็ว 100 เซนติเมตร ตอวินาที โดยในรูป แสดงเฉพาะรูปรางคลื่นที่เวลา t = 0.01 วินาที เทานั้น จงหา ก. จงวาดรูปรางคลื่นที่เวลา t = 0.00 s, t = 0.02 s, t = 0.03 s และ t = 0.04 s
  • 14. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 14 2. พิจารณาคลื่นรูปไซนดานลางนี้ โดยเปนคลื่นที่เคลื่อนที่ไปทางขวาดวยอัตราเร็ว 25 เซนติเมตรตอวินาที จง วาดรูปคลื่นไซนนี้ที่เวลาอื่น ๆ ตามระบุในรูป 3. พิจารณาคลื่นรูปไซนดานลาง จงหาวา จุด B C D E และ F หางจากจุด A เปนระยะในแนวนอน เทากับ กี่เทาของความยาวคลื่นนี้ และมีคาเฟสตางจากจุด A เทาใด
  • 15. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 15 4. สันคลื่นกับทองคลื่นที่อยูถัดกันมีเฟสตางกันกี่องศา 5.พิจารณาคลื่นรูปไซนดานลางนี้ จงวาดรูปของคลื่นไซนอีก 2 คลื่น โดยคลื่นแรกมีความยาวคลื่นเทากันกับคลื่น ดานบนสุดแตมีแอมพลิจูดเปนครึ่งหนึ่ง และคลื่นที่สองมีแอมพลิจูดเทากันกับคลื่น บนสุดแตมีความยาวคลื่นเปน ครึ่งหนึ่ง คําถามตรวจสอบความเขาใจ 9.3 1. พิจารณาหนาคลื่นระนาบ ณ เวลาเริ่มตน t = 0 วินาที ที่กําาลังเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 10 เซนติเมตรตอ วินาที ดังแสดงในรูปดาน ขวา ความยาวคลื่นของคลื่นนี้มีคาเทาใด แนวของสันคลื่นกับแนวของทองคลื่นอยูที่ คา y เทาใดบาง
  • 16. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 16 2. พิจารณาคลื่นดล 2 คลื่นที่เคลื่อนที่ในทิศทางตรงกันขาม โดยทั้งคูมีอัตราเร็วเทากันเทากับ1.0 เมตรตอวินาที โดยมีการกระจัดของตัวกลางที่ตําแหนงตาง ๆ ที่เวลาเริ่มตนเปนดังรูป จงแสดงการกระจัดของตัวกลางได หลังจากเวลาผานไปแลว 3.0 วินาที จากตอนเริ่มตน 3. คลื่นดล 2 คลื่น มีรูปรางตางกัน เคลื่อนที่เขาหากันดวยอัตราเร็ว 10 เมตรตอวินาที ดังรูป จงวาดรูปรางคลื่น รวมที่เวลาถัดมา ตามที่ระบุในรูป
  • 17. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 17 6.สมบัติของคลื่น สมบัติของคลื่นมี 4 ประการ ดังนี้ การสะทอนกลับ( Reflection ) การหักเห (Refraction) การเลี้ยวเบน (Diffraction ) การแทรกสอดของคลื่น ( Interference ) รูปที่ 1 แสดงสมบัติของคลื่น 1. การสะทอน (Reflection) การสะทอนของคลื่นหมายถึง การเปลี่ยนทิศทางการเดินทางของคลื่นโดยทันทีทันใดเมื่อคลื่นนั้นเดินทาง ตก กระทบที่ผิวของตัวกลาง นั่นคือ คลื่นกระดอนออกจากผิวสะทอนของตัวกลาง ในลักษณะเดียวกับแสงสะทอน จากกระจกเงา ในหัวขอนี้เราจะศึกษาการสะทอนของคลื่นในเสนเชือกและคลื่นผิวน้ํา 1.1 การสะทอนของคลื่นในเสนเชือก  เมื่อจุดสะทอนเปนจุดตรึงแนน  จุดตรึงแนน คือ จุดที่ไมสามารถเคลื่อนที่ได การกระจัดมีคาเปนศูนยเสมอ  คลื่นสะทอนมีลักษณะตรงขามกับคลื่นตกกระทบ คือเขาเปนสันคลื่น ออกเปนทอง คลื่น หรือเขาทองคลื่นออกเปนสันคลื่น ดังนั้น เฟสเปลี่ยน 180o (เฟสตรงขามกัน)  เมื่อจุดสะทอนอิสระ  จุดสะทอนอิสระ คือ จุดที่มีการเคลื่อนไหวอยางอิสระตามทิศทางการสั่น  คลื่นสะทอนมีลักษณะเหมือนกับคลื่นตกกระทบ คือ เขาเปนสันคลื่นออกเปน สัน คลื่น หรือเขาเปนทองคลื่นออกเปนทองคลื่น ดังนั้นเฟสไมเปลี่ยน (เฟสตรงกัน)
  • 18. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 18 รูปที่ 2 การสะทอนที่จุดตรึงแนน รูปที่ 3 การสะทอนที่อิสระ คําถาม… นักเรียนลองเขียนคลื่นสะทอนที่เกิดขึ้นในกรณีตอไปนี้ ใหนักเรียนเขียนการสะทอนของคลื่นในเสนเชือกมวลตางกัน
  • 19. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 19 1.2 การสะทอนของคลื่นผิวน้ํา จากการทดลองการสะทอนของคลื่นผิวน้ําเสนตรง พบวาในการสะทอนแตละครั้ง มุมที่หนาคลื่นตก กระทบทํากับผิวสะทอนจะเทากับมุมที่หนาคลื่นสะทอนทํากับผิวสะทอนเสมอดังรูปที่ 4 2. รูปที่ 4 แสดงมุมที่หนาคลื่นตกกระทบ และมุมที่หนาคลื่นสะทอนกระทํากับแผนสะทอนตรง สามารถเขียนทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบและคลื่นสะทอนไดโดยมีทิศตั้งฉากกับหนาคลื่นตกกระทบและ หนาคลื่นสะทอนตามลําดับ และที่ตําแหนงคลื่นตกกระทบและคลื่นสะทอน ลากเสนตั้งฉากกับผิวสะทอน ซึ่ง เรียกวา “เสนแนวฉาก” (normal line) ทําใหไดมุมตกกระทบและมุมสะทอน ดังรูปที่ 5 รูปที่ 5 แสดงการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบและคลื่นสะทอน ถาเขียนทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบและทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นสะทอนขณะเกิดการสะทอน จะได ลักษณะดังรูปที่ 6 รูปที่ 6 แสดงทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบและคลื่นสะทอน เมื่อทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบ(รังสีตกกระทบ) คือแนวที่คลื่นวิ่งเขาชนตัวสะทอนกอนสะทอน ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นสะทอน(รังสีสะทอน) คือ แนวที่คลื่นวิ่งออกจากตัวสะทอนหลังสะทอน เสนแนวฉาก คือ เสนที่ลากตั้งฉากกับตัวสะทอน ณ ตําแหนงที่คลื่นตกกระทบ มุมตกกระทบ คือ 1 อาจวัดไดจากมุมที่หนาคลื่นตกกระทบกับแนวตัวสะทอน หรือมุมที่รังสีตก กระทบทํากับเสนแนวฉาก มุมสะทอน คือมุม 2 อาจวัดไดจากมุมที่หนาคลื่นสะทอนทํากับแนวตัวสะทอน หรือมุมที่รังสี สะทอนกับกับเสนแนวฉาก
  • 20. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 20 กฎการสะทอนอาจสรุปไดวา… 1. มุมตกกระทบเทากับมุมสะทอน(1=2) 2. ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบ(รังสีตกกระทบ) เสนแนวฉาก หรือเสนปกติ และทิศการ เคลื่อนที่ของคลื่นสะทอน(รังสีสะทอน) อยูในระนาบเดียวกัน คุณสมบัติการสะทอนของคลื่น เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปชนสิ่งกีดขวาง หรือเคลื่อนที่ไปถึงปลายสุดของตัวกลางจะทําใหเกิดคลื่นสะทอน ขึ้นมา คลื่นสะทอนที่เกิดขึ้นมานั้น จะตองมีคุณสมบัติดังนี้… 1. ความถี่ของคลื่นสะทอนมีคาเทากับความถี่ของคลื่นตกกระทบ 2. ความเร็วและความยาวคลื่นของคลื่นสะทอนมีคาเทากับความเร็วและความยาวคลื่นของคลื่นตก กระทบ 3. ถาการสะทอนไมสูญเสียพลังงาน จะไดแอมพลิจูดของคลื่นสะทอนมีคาเทากับแอมพลิจูดของ คลื่นตกกระทบ ตัวอยางที่ 8 แหลงกําเนิดคลื่นน้ําความถี่ 10 HZ ความยาวคลื่น 1 cm อยูหางจากผิวสะทอน 15 cm ก) นับจากเกิดคลื่นนานเทาไร คลื่นจึงจะเคลื่อนที่กลับมายังแหลงกําเนิด ข) คลื่นที่สะทอนมาถึงแหลงกําเนิด แหลงกําเนิดไดสั่นกี่รอบ
  • 21. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 21 2.การหักเหของคลื่น (Refraction of Wave) เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผานตัวกลางตางชนิดกัน จะทําใหความเร็วของคลื่นและความยาวของคลื่น เปลี่ยนแปลงแตความถี่คงเดิม การหักเห (refraction) เปนปรากฏการณที่คลื่นเคลื่อนที่ผานรอยตอระหวางตัวกลางที่มีคุณสมบัติ ตางกันแลวทําใหอัตราเร็วและทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเปลี่ยนแปลงไป ดังรูปที่ 7 รูปที่ 7 แสดงมุมตกกระทบ(1) และมุมหักเห(2) เมื่อคลื่นเกิดการหักเห ความยาวคลื่น และอัตราเร็วของคลื่นตกกระทบและคลื่นหักเหเปลี่ยนไป ดังสมการ 2 1 2 1 2 1 sin sin v v      เมื่อ 1 มุมตกกระทบ เปนหนาคลื่นของคลื่นตกกระทบทํามุมกับเสนรอยตอ หรือทิศทางของการตกกระทบทํามุมกับเสนแนวฉาก 2 มุมหักเห เปนหนาคลื่นของคลื่นหักเหทํามุมกับเสนรอยตอ หรือทิศทางของการหักเหทํามุมกับเสนแนวฉาก 1 เปนความยาวคลื่นในบริเวณกอนตกกระทบ 2 เปนความยาวคลื่นในบริเวณหลังหักเห 1v เปนความเร็วคลื่นในบริเวณกอนตกกระทบ 2v เปนความเร็วคลื่นในบริเวณหลังหักเห
  • 22. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 22 จากสมการ สรุปเปนกฎการหักเหไดวา ทิศทางคลื่นตกกระทบเสนแนวฉาก และทิศทางคลื่นหักเหอยูในระนาบเดียวกัน กฎการหักเหซึ่งเรียกอีกอยางหนึ่งวา “กฎของสเนล” ซึ่งอัตราสวนของคา sine ของมุมตกกระทบในตัวกลางที่ 1 (1) ตอคา sine ของมุมหักเหในตัวกลางที่ 2 (2) จะมีคาคงที่เสมอ เรียกอัตราสวนนี้วา… “ดัชนีหักเหของตัวกลางที่ 2 เทียบตัวอยางที่ 1 ใชสัญลักษณแทนดวย “ n” 2 1 sin sin   n ดังนั้นเราสามารถสรุปเปนสมการรวมไดวา… 2 1 2 1 2 1 21 sin sin      v v n หมายเหตุ คาดัชนีหักเห (n) จะตองกําหนดวาเปรียบเทียบกับตัวกลางใด ดังนั้น การเขียน คาดัชนี (n) จึงตองมีอักษรกํากับไวเพื่อบงบอกคาดัชนีหักเห เชน AnB หมายถึง ดัชนีหักเหของตัวกลาง B เทียบกับตัวกลาง A หรือคลื่นเคลื่อนที่จาก ตัวกลาง A ไปสูตัวกลาง B แลวเกิดการหักเหในตัวกลาง B 1n2 หมายถึง ดัชนีหักเหของตัวกลาง 2 เทียบตัวกลาง 1 ตัวกลางที่มีอัตราเร็วมากมุม  จะมีคามาก และตัวกลางที่มีอัตราเร็วนอยมุม  จะมีคานอย สรุปเพิ่มเติม  คลื่นเคลื่อนที่จากน้ําตื้น(V นอย,  นอย) สูน้ําลึก (V มาก,  มาก) ทิศทางคลื่นหักเหจะเบนออกจาก เสนแนวฉาก  คลื่นเคลื่อนที่จากน้ําลึก (V มาก,  มาก) สูน้ําตื้น(V นอย,  นอย) ทิศทางคลื่นหักเหจะเบนเขาหา เสนแนวฉาก
  • 23. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 23 มุมวิกฤตและการสะทอนกลับหมด เมื่อคลื่นผิวน้ําเคลื่อนที่จากบริเวณน้ําตื้นเขาสูบริเวณน้ําลึก จะทําใหเกิดการหักเหโดยทิศทางคลื่นหักเห จะเบนออกจากเสนแนวฉาก ถามุกหักเหของคลื่นเทากับ 90 องศาพอดี มุมตกกระทบที่ทําใหเกิดมุมหักเหมีคา เทากับ 90 องศานี้เราเรียกวา “มุมวิกฤต” ( Critical Angle ; c ) และถามุมตกกระทบโตมากกวามุมวิกฤต จะเกิดการสะทอนขึ้นที่รอยตอของตัวกลางทั้งสอง เรียกปรากฏการณนี้วา “การสะทอนกลับหมด ( Total Reflection) ดังรูปที่ 8 5. รูปที่ 8 แสดงการเกิดมุมวิกฤตและการสะทอนกลับหมดของคลื่นผิวน้ํา ขอสรุป มุมวิกฤตและการสะทอนกลับหมด เกิดขึ้นไดเมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มี อัตราเร็วคลื่นนอยไปยังตัวกลางที่มีอัตราเร็วคลื่นมาก
  • 24. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 24 ใหนักเรียนศึกษากรณีตัวอยางตอไปนี้ ตัวอยางที่ 9คลื่นน้ําในถาดคลื่นพบวาบริเวณน้ําลึกระยะหางระหวางหนาคลื่นติดกันเทากับ 2 cm และ บริเวณน้ําตื้นระยะหางระหวางหนาคลื่นที่ติดกันเทากับ 1.5 cm ถามุมระหวางหนาคลื่นในน้ําตื้นทํามุม 30 องศากับ รอยตอของน้ําลึกและน้ําตื้น อยากทราบวามุมระหวางหนาคลื่นในน้ําลึกกับรอยตอของน้ําลึกและน้ําตื้นเปนเทาใด ตัวอยางที่ 10 แหลงกําเนิดคลื่นน้ําสั่นดวยความถี่ 8 Hz วัดอัตราเร็วของคลื่นน้ําได 4 เมตร/วินาที เมื่อคลื่นน้ําเคลื่อนที่เขา ไปในบริเวณตื้นกวาเดิม โดยหนาคลื่นตกกระทบทํามุม 1 กับรอยตอระหวางตัวกลาง พบวาหนาคลื่นหักเหทํามุม 2 กับ รอยตอระหวางตัวกลาง และระยะหางของหนาคลื่นหักเหที่ถัดกัน 5 แนว หางกัน 1.6 เมตร จงหาอัตราสวน sin1 ตอ sin2 ตัวอยางที่ 11 คลื่นน้ําในถาดคลื่น เคลื่อนที่จากบริเวณน้ําตื้นไปสูบริเวณน้ําลึก โดยมีมุมตกกระทบ 30 องศา และมุมหักเห 45 องศา ถาเปลี่ยนมุมตกกระทบเปน 45 องศา มุมหักเหจะมีขนาดเทาใด ตัวอยางที่ 12 คลื่นน้ําเคลื่อนที่ผานบริเวณที่มีความลึกตางกัน เกิดปรากฏการณดังรูป ในบริเวณ (ก) หนาคลื่น อยูหางกัน 4 เซนติเมตร ในบริเวณ (ข) คลื่นมีความเร็ว 6 2 cm/s ถาตนกําเนิดมาจากบริเวณ (ก) ความถี่ของ ตนกําเนิดคลื่นมีคาเทาใด (ก) 53 45 (ข)
  • 25. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 25 ตัวอยางที่ 13 ถาอัตราเร็วของคลื่นในบริเวณน้ําลึกเปน 2 เทา ของอัตราเร็วในบริเวณน้ําตื้น จงหามุมตก กระทบที่ทําใหเกิดการสะทอนกลับหมด ตัวอยางที่ 14 คลื่นน้ําหนาตรงเคลื่อนที่จากบริเวณ A ไปยังบริเวณ B ปรากฏวาคาความยาวคลื่นบริเวณ B มี คา 0.5 เทาของความยาวคลื่นบริเวณ A ถาหนาคลื่นบริเวณ A ทํามุมกับบริเวณรอยตอ A เทากับ 45 องศา จงหา 1. คาดัชนีหักเหของคลื่นบริเวณ B เทียบกับบริเวณ A 2. มุมหักเหในตัวกลาง B มีคาเทาใด 3. การแทรกสอดของคลื่น (Interferance of Wave) เมื่อมีคลื่นตั้งแต 2 คลื่น เคลื่อนที่มาพบกันจะเกิดการรวมกันแบบเสริมและแบบหักลาง ซึ่งสังเกตไดจากการ เกิดแนวสวางและแนวมืดของถาดคลื่น เราเรียกสมบัติการรวมกันของคลื่นนี้วา “การแทรกสอด” (inter ference) และเรียกแนวสวางและแนวมืดที่เกิดวา “ลวดลายการแทรกสอดหรือริ้วของการแทรกสอด” (interference pattern) ดังรูปที่ 9 ซึ่งเปนการแทรกสอดของคลื่นวงกลมตอเนื่องสองขบวนที่เหมือนกันทุก ประการ รูปที่ 1 แสดงลวดลายการแทรกสอด จากรูปที่ 1 เมื่อคลื่นจากแหลงกําเนิดทั้งสองเคลื่อนที่มาพบกันจะเกิดการซอนทับ (superposition) ซึ่งมี 2 ลักษณะ
  • 26. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 26 1. การแทรกสอดแบบเสริม( constructive interference) เกิดขึ้นเมื่อสวนที่เปนสันคลื่นพบสวนที่เปนสันคลื่น หรือสวนที่เปนทองคลื่นพบสวนที่เปนทองคลื่น แอมพลิจูดของคลื่นทั้งสองจะเสริมกัน ทําใหผิวน้ํา ณ ตําแหนงนั้นมีระดับสูงขึ้นมากที่สุดและลดต่ํามากที่สุด ตามลําดับ เราเรียกตําแหนงนี้วา “ปฏิบัพ” (antinode) 2. การแทรกสอดแบบหักลาง (destructive interference) เกิดขึ้นเมื่อสวนที่เปนสันคลื่นพบกับสวนที่เปนทองคลื่น แอมพลิจูดของคลื่นทั้งสองจะหักลางกัน ทําใหผิวน้ํา ณ ตําแหนงนั้นไมกระเพื่อม เราเรียกตําแหนงนี้วา “บัพ” (node) แหลงกําเนิดคลื่นอาพันธ (Coherent Sources) คือ แหลงกําเนิดคลื่นที่มีความถี่เทากัน ความยาวคลื่นเทากัน อัตราเร็วเทากัน แอมพลิจูดเทากัน มีเฟสตรงกันหรือตางกันคงที่ จากการศึกษาเมื่อใหคลื่นตอเนื่องสองขบวนเคลื่อนที่มาพบกันตลอดเวลา จะเกิดบัพและปฏิบัพอยางตอเนื่อง และพบวาเมื่อลากเสนเชื่อมตอปฏิบัพที่อยูถัดกันไปจะไดแนวเสนที่เรียกวา เสนปฎิบัพ (antinode line) สวน เสนที่เชื่อมตอบัพที่อยูถัดกันไป จะไดแนวเสนที่เรียกวา เสนบัพ (node line) ทําใหเห็นลวดลายการแทรกสอด ดังรูปที่ 2 รูปที่ 2 แสดงการแทรกสอดของคลื่นน้ํา จากรูปขางบน แสดงการรวมกันแบบเสริมและแบบหักลางของคลื่นวงกลมตอเนื่อง 2 แหลงกําเนิด เปนจุดที่ทองคลื่นพบกับทองคลื่น (ปฎิบัพ) เปนจุดที่สันคลื่นพบกับสันคลื่น (ปฏิบัพ) เปนจุดที่สันคลื่นพบกับทองคลื่น (บัพ) A เปนเสนปฎิบัพ N เปนเสนบัพ
  • 27. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 27 จากภาพที่ 2 เราจะเห็นวาถาเราใหตําแหนง P เปนตําแหนงปฏิบัพใดๆ บนเสนปฏิบัพ เราจะไดความสัมพันธวา PS-PS 21 = n เมื่อ n = 1,2,3,… และถาใหตําแหนง Q เปนตําแหนงบัพใด ๆ บนเสนบัพ เราจะไดความสัมพันธวา QS-QS 21 = (n – 2 1 )  เมื่อ n = 1,2,3,… หมายเหตุ ณ ตําแหนงแทรกสอดไกลที่สุด ที่เปนไปไดจะอยูในแนวเดียวกับ S1 ,S2 ดังนั้น Path diff มากสุด เทากับ d (ระยะหางระหวาง S1 ,S2) ถา P เปนจุดปฏิบัพ บนเสน An และ P อยูไกลมาก จะประมาณไดวา  nd sin ; n = 1,2,3……….. ในทํานองเดียวกัน ถา P เปนจุดบัพบนเสน Nn จะไดวา         2 1 sin nd ; n = 1,2,3……….. สรุปสูตรการแทรกสอด เมื่อเฟสตรงกัน เสริมกัน(ปฏิบัพ) PS-PS 21 = n  nd sin ; n = 1,2,3……….. หักลางกัน (บัพ) QS-QS 21 = (n – 2 1 )          2 1 sin nd ; n = 1,2,3……….. เมื่อเฟสตรงขามกัน เสริมกัน(ปฏิบัพ) PS-PS 21 = (n – 2 1 )          2 1 sin nd ; n = 1,2,3……….. หักลางกัน (บัพ) QS-QS 21 = n  nd sin ; n = 1,2,3………..
  • 28. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 28 ตัวอยางที่ 15 แหลงกําเนิดอาพันธสองแหลงหางกัน 10 cm ใหคลื่นมีความยาวคลื่นเทากัน 2.5 cm เฟสตรงกัน จงหาวาตําแหนงตอไปนี้อยูบนแนวบัพหรือปฏิบัพที่เทาไร ก. จุด A อยูหางจากแหลงกําเนิดทั้ง 2 เปนระยะ 12 และ 17 cm ข. จุด B อยูหางจากแหลงกําเนิดทั้ง 2 เปนระยะ 14.5 และ 15.75 cm ค. จุด C อยูหางจากแหลงกําเนิดทั้ง 2 เปนระยะ 16 และ 24 cm ตัวอยางที่ 16 แหลงกําเนิดอาพันธ 2 แหลงตรงกัน หางกัน 12 cm มีความถี่เทากับ 10 Hz และเคลื่อนที่ดวย อัตราเร็ว 40 cm/s เทากัน จงหา ก) จุด x อยูหางจาก แหลงกําเนิดทั้งสองเปนระยะ 19 และ 25 cm ตามลําดับ จุด x จะอยูบนแนวเสริม หรือหักลางกันที่เทาไร ข) จํานวนบัพและปฏิบัพที่เกิดขึ้นทั้งหมด ค) จํานวนบัพและปฏิบัพที่เกิดขึ้นระหวางแหลงกําเนิดคลื่นทั้งสอง
  • 29. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 29 แบบฝกหัด 1.3 เรื่อง การแทรกสอดของคลื่น 1. S1 และ S2 เปนแหลงกําเนิดอาพันธใหเฟสตรงขามกัน หางกัน 10 cm ใหคลื่นมีความยาวคลื่น 4 cm จงหาแนวปฏิบัพและบัพที่เกิดขึ้นระหวาง S1 และ S2 2. S1 และ S2 เปนแหลงกําเนิดอาพันธ หางกัน 10 cm ใหคลื่นเฟสตรงกันและมีระยะหางระหวางหนาคลื่น 2 cm ก) บนแนวเสนตรง S1 , S2 มีแนวปฏิบัพและบัพกี่แนว (11,10) ข) ระหวาง S1 ,S2 มีแนวปฏิบัพและบัพกี่แนว (9,10) 3. แหลงกําเนิดอาพันธ 2 แหลง ใหเฟสตรงกัน หางกัน 6 cm ปรากฏวาแนวเสริมกันครั้งแรกเบนออกจาก แนวกลาง 30o จงหาความยาวคลื่นจากแหลงกําเนิดทั้งสอง
  • 30. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 30 4. การเลี้ยวเบนของคลื่น (Diffraction of Wave) เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผานสิ่งกีดขวาง คลื่นสวนที่กระทบสิ่งกีดขวางจะสะทอนกลับมา คลื่นบางสวนที่ผาน ไปไดจะสามารถแผจากขอบของสิ่งกีดขวางเขาไปทางดานหลังของสิ่งกีดขวางนั้น คลายกับคลื่นเคลื่อนที่ออมผาน สิ่งกีดขวางนั้นไดเรียกปรากฏการณนี้วา… ” การเลี้ยวเบน ” (diffraction) ในการเลี้ยวเบนของคลื่นยังคงมีความยาวคลื่น ความถี่ และ อัตราเร็วเทาเดิม รูปที่ 1 การเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ําผานสิ่งกีดขวาง หลักการเลี้ยวเบนของคลื่น (หลักของฮอยเกนส ; Huygens) หลักการเลี้ยวเบนของคลื่น มีใจความวา ทุก ๆ จุดบนหนาคลื่น ถือไดวาเปนตนกําเนิดใหม ซึ่งให กําเนิดคลื่นวงกลมที่มีเฟสเดียวกัน เคลื่อนที่ไปในทิศเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นนั้น
  • 31. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 31 1. การเลี้ยวเบนของคลื่นน้ําผานชองเดี่ยว ถา P เปนจุดใด ๆ บนแนวบัพที่ n (Nn) nAPBP  หรือ npathdiff  ถา P เปนจุดใด ๆ บนแนวบัพที่ n และอยูไกลจากชองเปดเดี่ยว พบวา  nd sin เมื่อ n=1,2,3…… เงื่อนไขการเลี้ยวเบนและการแทรกสอด มีดังนี้  กรณี d <  ; แนวไกลสุด n<1 แสดงวาไมมีแนวบัพ  กรณี d = ; แนวไกลสุด n=1 แสดงวาแนวบัพที่ 1 ทับแนวสิ่งกีดขวางพอดี เราจะมอง ไมเห็นแนวบัพ  กรณี d > ; แนวไกลสุด n>1 แสดงวาจะเกิดแนวบัพและมองเห็นแนวบัพไดมากกวา 1 แนว ถา P เปนจุดที่มีการแทรกสอดแบบเสริมกัน (ปฏิบัพ) เราสามารถหาเงื่อนไขของการแทรกสอดไดวา        2 1 nAPBP หรือ        2 1 npathdiff และ         2 1 sin nd เมื่อ n = 1,2,3…… 2. การเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ําผานชองเปดคู สูตรการคํานวณแนวปฏิบัพและแนวบัพจากชองเปดคู  แนวปฏิบัพ npathdiff  และ  nd sin ; เมื่อ n = 1,2,3……  แนวบัพ        2 1 npathdiff และ         2 1 sin nd ; เมื่อ n = 1,2,3……
  • 32. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 32 สรุปสูตรการเลี้ยวเบนของคลื่น การเลี้ยวเบนของคลื่นน้ําผานชองเดี่ยว เสริมกัน(ปฏิบัพ)        2 1 nAPBP         2 1 sin nd ; n = 1,2,3……….. หักลางกัน (บัพ) nAPBP   nd sin ; n = 1,2,3……….. การเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ําผานชองเปดคู เสริมกัน(ปฏิบัพ) npathdiff   nd sin ; n = 1,2,3……….. หักลางกัน (บัพ)        2 1 npathdiff         2 1 sin nd ; n = 1,2,3……….. ตัวอยางที่ 17 คลื่นน้ําหนาตรงมีความยาวคลื่น 2.5 cm ผานอยางตั้งฉากกับชองเปดเดี่ยวซึ่งกวาง 8 cm จงหา ก) แนวบัพที่เกิดขึ้นทั้งหมด ข) แนวบัพที่ 2 เบนจากแนวกลางเทาไร ค) แนวปฏิบัพแรกเบนจากแนวกลางเทาไร
  • 33. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 33 ตัวอยางที่ 18 ชองแคบคูอยูหางกัน 8 เซนติเมตร ในถาดคลื่น ถาทําใหเกิดคลื่นหนาตรงผานชองแคบคูนั้นใน แนวตั้งฉาก ทําใหเกิดการแทรกสอดขึ้น ถาจุด A อยูบนแนวปฏิบัพที่ 2 ซึ่งอยูหางจากชองแคบทั้งสองเปนระยะ 10 เซนติเมตร และ 14 เซนติเมตร ตามลําดับ จงหา ก. ความยาวคลื่นน้ํา ข . แนวบัพหรือปฏิบัพที่เกิดขึ้นทั้งหมด ตัวอยางที่ 19 ชองแคบเดี่ยวจะตองกวางเทาไรจึงจะทําใหคลื่นที่มีความยาวคลื่น 3 cm ผานแลวเกิดแนวบัพ ทั้งหมด 6 แนว แบบฝกหัด 1.4 เรื่อง การเลี้ยวเบนของคลื่น 1. ชองเปดเดี่ยวกวาง 6 เซนติเมตร ใหคลื่นหนาตรงมีความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร จงหาแนวบัพที่เกิดขึ้น ทั้งหมด
  • 34. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 34 2. ชองเดี่ยวกวาง 4 cm จะตองใหคลื่นมีความยาวคลื่นเทาไร ผานในแนวตั้งฉากกับชองเดี่ยวนี้จึงจะทําให เกิด แนวบัพรอบชองเดี่ยว 4 แนว 3. ชองเปด 2 ชอง หางกัน 3.25เทาของความยาวคลื่นน้ําหนาตรงที่ผานเขากระทบในแนวตั้งฉากทําให คลื่นน้ําที่ผานชองเปดทั้งสองเกิดการเลี้ยวเบนแลวแทรกสอดกัน จงหาแนวบัพและปฏิบัพที่เกิดขึ้น ทั้งหมด คลื่นนิ่ง (Standing Wave) เปนปรากฏการณที่เกิดจากคลื่น 2 ขบวน ที่มีแอมพลิจูดเทากัน มีความยาวคลื่นเทากัน มีอัตราเร็วเทากัน คลื่นที่ สวนทางกันในแนวเสนตรงเดียวกัน จะเกิดการรวมกัน ซึ่งจะพบวา  ตําแหนงที่คลื่นแทรกสอดแบบหักลาง เรียกวา บัพ (Node)  ตําแหนงที่คลื่นมีการแทรกสอดแบบเสริม เรียกวา ปฏิบัพ (Antinode) รูปที่ 1 แสดงจุด Node และ Antinode
  • 35. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 35 ลักษณะของคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้น จุดบัพที่อยูติดกันจะหางกัน เทากับ 2  เสมอ จุดปฏิบัพที่อยูติดกันจะหางกัน เทากับ 2  เสมอ จุดบัพและปฏิบัพที่ติดกันจะหางกัน เทากับ 4  เสมอ แอมพลิจูดสูงสุดของจุดปฏิบัพจะเปน 2 เทาของคลื่นยอยทั้งสอง คาบของคลื่นนิ่งจะเทากับคาบของคลื่นยอยทั้งสอง ตัวอยางที่ 20 ลวดเสนหนึ่งยาว 40 cm ปลายทั้งสองถูกขึงตึง เมื่อดีดลวดตรงกลางทําใหเสนลวดสั่นขึ้นลงดวย ความถี่ 20 Hz จงหาอัตราเร็วคลื่นในลวดเสนนี้ ตัวอยางที่ 21 เชือกเสนหนึ่งยาว 3 m ปลายขางหนึ่งยึดติดกับกําแพง จับปลายอีกขางหนึ่งสะบัดขึ้นลงอยาง สม่ําเสมอ ทําใหเกิดคลื่นมีความยาวคลื่น 0.5 m จงหาวาระหวางปลายของเสนเชือกทั้งสองมีตําแหนงบัพ และปฏิบัพกี่ตําแหนง
  • 36. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 36 การสั่นพอง (Resonance) 1. การสั่นพองเสนลวด พิจารณาเสนลวดหรือเสนเชือกที่ปลายทั้งสองตรึงแนน เมื่อดีดเสนลวดหรือเชือกใหสั่น จะเกิดคลื่นในเสน ลวด เคลื่อนที่ไปกระทบจุดตรึงแลวสะทอนกลับไปกลับมาเปนคลื่นนิ่ง โดยมีจุดตรึงเปนตําแหนงบัพเสมอ ซึ่ง เรียกวา เกิดการสั่นพองของเสนลวด ความถี่ของคลื่นนิ่งที่ทําใหเกิดการสั่นพองของเสนลวดมีไดหลายคาดังนี้ 1. ความถี่มูลฐาน (Fundamental) คือ ความถี่ต่ําสุดของคลื่นนิ่ง ซึ่งมีความยาวคลื่นมากที่สุดแลวทําให เกิดการสั่นพองของเสนลวด 2. โอเวอรโทน (Overtone) คือ ความถี่ของคลื่นนิ่งที่สูงถัดจากความถี่มูลฐาน แลวทําใหเกิดการสั่นพอง ของเสนลวดมีคาเปนขั้นๆ 3. ฮารมอนิก (Hamonic) คือ ตัวเลขที่บอกวาความถี่นั้นเปนกี่เทาของความถี่มูลฐาน พิจารณาเสนเชือกยาว L ปลายทั้งสองขางถูกขึงตรึงอยูกับที่ เมื่อทําใหเสนเชือกสั่นจะเกิดคลื่นเคลื่อนไป กระทบกับจุดตรึงแลวสะทอนกลับไปกลับมาทําใหเกิดคลื่นนิ่ง โดยที่จุดตรึงทั้งสองขาง จะปนจุดบัพ เสมอซึ่งสามารถหาความยาวคลื่นและความถี่ที่ทําใหเกิดภาพนิ่ง และเกิดการสั่นพองของเสนเชือกได ดัง รูปที่ 2 (1) การหาความยาวคลื่นของคลื่นนิ่งขณะเกิดการสั่นพองของคลื่นในเสนเชือก จากรูป (1) 2  L L21  ……….(1) จากรูป (2) L L 2 หรือ 2 2L ……….(2) จากรูป (3) 2 3 L 3 2 3 L  ……….(1) จาก (1) (2) และ (3) สรุปไดวา ขณะเกิดการสั่นพองของคลื่นในเสนเชือก ความยาวของคลื่นในเสนเชือก มี ความสัมพันธกับความยาวของเสนเชือกดัง สมการ n L n 2  เมื่อ n=1,2.3,……. (3) (2) (1)
  • 37. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 37 (2) การหาความถี่ของคลื่นนิ่งขณะเกิดการสั่นพองของคลื่นในเสนเชือก จาก  v f  จะไดวา 1 1  v f  หรือ L v f 2 1  เรียก f1 วา ความถี่มูลฐาน (fundamental frequency) หรือ Harmonic ที่ 1 และ 2 2  v f  หรือ 2 22 L v f  L v f 2 2 2  หรือ 12 2 ff  เรียก f2 วา ความถี่โอเวอรโทนที่ 1 (first overtone) หรือ Harmonic ที่ 2 และ 3 3  v f  หรือ 3 23 L v f  L v f 2 3 3  หรือ 13 3 ff  เรียก f3 วา ความถี่โอเวอรโทนที่ 2 (second overtone) หรือ Harmonic ที่ 3 ดังนั้น อาจสรุปไดวา ความถี่ของคลื่นในเสนเชือกที่ทําใหเกิดการสั่นพองมีคา L nv fn 2  เมื่อ n=1,2.3,……. ขอสรุป ความถี่ของคลื่นนิ่งในเสนเชือกที่ทําใหเกิดการสั่นพองของคลื่นในเสนเชือกมีไดทุกฮารมอนิก 1nffn  ตัวอยางที่ 22 ในการทดลองคลื่นนิ่งบนเสนเชือก ถาความถี่ของคลื่นนิ่งเปน 500 Hz และอัตราเร็วของคลื่นใน เสนเชือกเทากับ 400 เมตร/วินาที ตําแหนงบัพสองตําแหนงที่อยูถัดกันจะหางกันเทาไร
  • 38. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 38 ตัวอยางที่ 23 เชือกเบาเสนหนึ่งยาว 1.25 เมตร ถูกขึงดวยปลายทั้งสองขาง เมื่อทําใหเชือกสั่น วัดอัตราเร็วได 160 เมตร/วินาที ถาคลื่นในเสนเชือกเกิดการสั่นพองไดตองใหความถี่ไปเทาไร ตัวอยางที่ 24 เชือกเสนหนึ่งยาว 90 cm หนัก 56.25 g ถูกทําใหสั่นดวยความถี่เทาไร จึงจะเกิดการสั่นพองใน ขั้นฮารโมนิกที่ 4 ขณะนั้นเชือกมีความตึง 100 N แบบฝกหัด 1.5 เรื่อง คลื่นนิ่งและการสั่นพอง 1. แหลงกําเนิดคลื่นน้ําในถาดคลื่น อยูหางจากผิวสะทอนระนาบตรงไป 20 cm ใหคลื่นมีความยาวคลื่น 4 cm ตกกระทบผิวสะทอนในแนวตั้งฉาก จงหาวาระหวางแหลงกําเนิดและผิวสะทอนมีตําแหนงบัพและปฏิบัพกี่ ตําแหนง 2. คลื่นตอเนื่องในลวดสปริง มีความยาวคลื่น 8 cm เคลื่อนที่ไปยังปลายขางหนึ่งซึ่งยึดแนนไว ถาลวดสปริงยาว 20 cm จะเกิดคลื่นนิ่งมีบัพกี่บัพ และมีปฏิบัพกี่ปฏิบัพ
  • 39. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์เพิมเติม 3 เรือง คลืนกล ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ หนา 39 3. คลื่นนิ่งมีระยะหางของบัพที่ติดกัน 10 cm ถาอัตราเร็วของคลื่น 160 cm/s จงหาความถี่ของแหลงกําเนิด 4. เสนลวดยาว 1.20 เมตร ปลายทั้งสองถูกขึงตึง เมื่อลวดสั่นดวยความถี่ 320 Hz จะเกิดการสั่นพองในโอเวอร โทนที่ 2 จงหาอัตราเร็วของคลื่นในเสนเชือกนี้ 5. เชือกเบาเสนหนึ่งยาว 2.5 เมตร ถูกขึงดวยปลายทั้งสองขาง เมื่อทําใหเชือกสั่น วัดอัตราเร็วได 160 เมตร/วินาที ถาคลื่นในเสนเชือกเกิดการสั่นพองไดตองใหความถี่ไปเทาไร