SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
นวัตกรรมและเทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
อาจารย์ ณัฐฐิศศิ จึงสงวนพรสุข
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
ทาตามหลักสูตรตามที่มหาลัยได้กากับไว้ ส่วน
ใหญ่จะมีการเพิ่มกิจกรรมต่างๆเข้ามาเพื่อเพิ่ม
ความสนใจและความสนุกสนานมากขึ้น
อาจารย์มีขั้นตอนวิธีการจัดการเรียนการสอนอย่างไร
ตัวอย่างกิจกรรม
ตั้งชื่อน่ารักๆให้นักเรียน
ตัวอย่างกิจกรรม
กอซซิเบลล่า
ตัวอย่างกิจกรรม
ออสก้าร์คิ้วท์
ตัวอย่างกิจกรรม
แคทเทอรีน
ตัวอย่างกิจกรรม
บทบาทในการเรียน
การสอนของอาจารย์
ดาเนินการและกระตุ้น
การเรียนการสอน โดยการถามคาถามและ
พูดให้นักเรียนรู้สึกสนุกไปกับการเรียน
บทบาทของนักเรียนในชั้นเรียน
เป็ นผู้ร่วมกิจกรรมในการเรียนการสอน เรียนรู้
ตามเนื้อหาที่สอนและเรียนรู้ด้วยตนเองนอก
ห้องเรียน
มีสื่ออุปกรณ์หรือการใช้ ICT
อย่างไรบ้าง
มีการใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรม PPT ในการ
จัดเตรียมเนื้อหาการเรียนการสอนและ
PROJECTOR ในการฉาย PPT เป็ นสื่อในการ
เรียนการสอนเพื่อความสะดวกรวดเร็ว
สัมภาษณ์อาจารย์ว่าอาจารย์ออกแบบการเรียน
การสอนอย่างไร
(ทาไมจึงต้องมีการเรียนการสอนแบบนี้)
มีการใช้สื่อ ICT ในการเรียนการสอนเพราะสะดวก
รวดเร็ว ทาให้นักเรียนเข้าใจง่ายและง่ายต่อการ
เตรียมการเรียนการสอน ส่วนกิจกรรมบางกิจกรรมที่
สามารถช่วยกระตุ้นให้นักเรียนตอบคาถาม โดยตั้งชื่อ
น่ารักๆให้นักเรียนเพื่อเวลาเรียกนักเรียนจะได้รู้สึก
ชอบรู้สึกน่ารักทาให้ตื่นตัวมากกว่าการเรียกปกติ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่
Robert
Gagneโรเบิร์ต กาเย่ (Robert Gagne) เป็ นนักปรัชญาและ
จิตวิทยาการศึกษาชาวอเมริกา (1916-2002) ได้
เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับการสอน คือ ทฤษฎีเงื่อนไข
การเรียนรู้ (Condition of Learning) โดยทฤษฎีการ
เรียนรู้ของกาเย่จัดอยู่ในกลุ่มผสมผสาน (Gagne’s
eclecticism)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่อธิบายว่าการเรียนรู้มี
องค์ประกอบ 3 ส่วน
หลักการและแนวคิด
วัตถุประสงค์
กระบวนการเรียน
การสอน
องค์ประกอบของการเรียนรู้
กระบวนการเรียน
การสอน
กาเย่ได้นาเอาแนวความคิดมาใช้ในการเรียน
การสอนโดยยึดหลักการนาเสนอเนื้อหา และ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์
หลักการสอน 9 ประการ
กระบวนการเรียนการสอน
กระบวนการเรียนการสอน
1.เร่งเร้าความสนใจ (Gain Attention)
กระตุ้นหรือเร้าให้ผู้เรียนเกิดความสนใจกับบทเรียนและเนื้อหา
ที่จะเรียนการเร้าความสนใจผู้เรียนนี้อาจทาได้โดย การจัด
สภาพแวดล้อมให้ดึงดูดความสนใจ เช่น การใช้
ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว และ/หรือการใช้เสียงประกอบ
บทเรียนในส่วนบทนา
ผู้เรียนพบกับหน้าจอภาพเคลื่อนไหวที่
ประกอบด้วยภาพ เสียง และวีดีโอ
และสื่อมัลติมีเดียอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
1.เร่งเร้าความสนใจ
(GAIN ATTENTION)
กระบวนการเรียนการสอน
2 บอกวัตถุประสงค์(Specify Objective)
การที่ผู้เรียนได้ทราบถึงจุดประสงค์ของบทเรียนล่วงหน้าทาให้
ผู้เรียนสามารถมุ่งความสนใจไปที่เนื้อหาบทเรียนที่
เกี่ยวข้อง อีกทั้งยังสามารถศึกษาเนื้อหาที่ตนยังขาดความ
เข้าใจซึ่งจะช่วยทาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตรงตาม
จุดประสงค์ของบทเรียน
การกาหนดหลักสูตร รายวิชา
เค้าโครงรายวิชาหลัก
2 บอกวัตถุประสงค์
(SPECIFY OBJECTIVE)
กระบวนการเรียนการสอน
3 ทบทวนความรู้เดิม(Activate Prior Knowledge)
การทบทวนความรู้ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้เนื้อหาใหม่ได้รวดเร็ว
ยิ่งขึ้น รูปแบบการทบทวนความรู้เดิมในบทเรียนบนเว็บทาได้
หลายวิธี เช่น กิจกรรมการถาม-ตอบคาถาม หรือการ
แบ่งกลุ่มให้ผู้เรียนอภิปรายหรือสรุปเนื้อหาที่ได้เคยเรียน
มาแล้ว เป็ นต้น
บทเรียนแสดงภาพหรือวีดีโอบรรยาย
สรุปความรู้พื้นฐานที่สาคัญของเนื้อหา
และแนวคิด
3 ทบทวนความรู้เดิม
(ACTIVATE PRIOR KNOWLEDGE)
กระบวนการเรียนการสอน
4 นาเสนอเนื้อหาใหม่(Present New Information)
การนาเสนอด้วยข้อความ รูปภาพ เสียง หรือแม้กระทั่ง วีดิ
ทัศน์ อย่างไรก็ตามสิ่งสาคัญที่ผู้สอนควรให้ความสาคัญก็คือ
ผู้เรียน ผู้สอนควรพิจารณาลักษณะของผู้เรียนเป็ นสาคัญ
เพื่อให้การนาเสนอบทเรียนเหมาะสมกับผู้เรียนมากที่สุด
นาเสนอเรื่องราวใหม่
ผ่าน Power Point
4 นาเสนอเนื้อหาใหม่
(PRESENT NEW INFORMATION)
กระบวนการเรียนการสอน
5 ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้(Guide Learning)
การชี้แนะให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ที่ได้เรียนใหม่ผสมผสาน
กับความรู้เก่าที่เคยได้เรียนไปแล้ว
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่รวดเร็วและมีความแม่นยามาก
ยิ่งขึ้น
ในบทเรียนมีการออกแบบให้บทเรียนมี
ความสัมพันธ์กันของเนื้อหาความรู้ และมี
การเรียงลาดับเนื้อหาอย่างเป็ นระบบ
5 ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้
(GUIDE LEARNING)
กระบวนการเรียนการสอน
6 กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน(Elicit Response)
เปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน ซึ่งอาจทา
ได้โดยการจัดกิจกรรมการสนทนาออนไลน์
รูปแบบ Synchronous หรือการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นผ่าน
เว็บบอร์ดในรูปแบบ Asynchronous เป็ นต้น
ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสตอบสนองต่อบทเรียนด้วย
วิธีตอบคาถาม ทาแบบทดสอบ ร่วมทดลองใน
สถานการณ์จาลอง หรือให้มีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนให้
มาก ผู้เรียนได้มีโอกาสในการพิมพ์คาตอบหรือเติม
ข้อความสั้นๆ เพื่อเรียกความสนใจ
6 กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน(ELICIT
RESPONSE)
กระบวนการเรียนการสอน
7 ให้ข้อมูลย้อนกลับ(Provide Feedback)
การเรียนการสอนบนเว็บผู้สอนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้เรียน
ได้โดยตรงอย่างใกล้ชิดด้วยความสามารถของอินเทอร์เน็ตสา
มารให้ผู้เรียนและผู้สอนสามารถติดต่อกันได้ตลอดเวลา ทาให้
ผู้สอนสามารถติดตามก้าวหน้าและสามารถให้ผลย้อนกลับแก่
ผู้เรียนแต่ละคนได้ด้วยความสะดวก
บทเรียนมีการให้ข้อมูลย้อนกลับอย่างเหมาะสม
โดยมีการให้ทาแบบฝึกหัดและ เฉลยทันที มีการ
เสริมแรง
เพื่อให้ได้พฤติกรรมที่ต้องการจะให้เกิด
7 ให้ข้อมูลย้อนกลับ
(PROVIDE FEEDBACK)
กระบวนการเรียนการสอน
8 ทดสอบความรู้ใหม่(Assess Performance)
ทาให้ทั้งผู้เรียนและผู้สอนได้ทราบถึงระดับความรู้ความเข้าใจที่
ผู้เรียนมีต่อเนื้อหาในบทเรียนนั้นๆ เช่น การจัดทากิจกรรมการ
อภิปรายกลุ่มใหญ่หรือกลุ่มย่อยเป็ นต้น ซึ่งการทดสอบนี้
ผู้เรียนสามารถทาการทดสอบบนเว็บผ่านระบบเครือข่ายได้
บทเรียนนาเสนอ
แบบทดสอบหลังเรียน
8 ทดสอบความรู้ใหม่
(ASSESS PERFORMANCE)
กระบวนการเรียนการสอน
9 สรุปและนาไปใช้(Review and Transfer)
เป็ นส่วนสาคัญในขั้นตอนสุดท้ายที่บทเรียนจะต้องสรุปมโนคติของเนื้อหา
เฉพาะประเด็นสาคัญๆรวมทั้งข้อเสนอแนะต่างๆเพื่อเปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนได้มี
โอกาสทบทวนความรู้ของตนเองหลังจากศึกษาเนื้อหาผ่านมาแล้ว ใน
ขณะเดียวกันบทเรียนต้องชี้แนะเนื้อหาที่เกี่ยวข้องหรือให้ข้อมูลอ้างอิง
เพิ่มเติม เพื่อแนะแนวทางให้ผู้เรียนได้ศึกษาต่อในบทเรียนถัดไปหรือนาไป
ประยุกต์ใช้กับงานอื่นต่อไป
หลังจากทาแบบทดสอบแล้ว บทเรียนนาเสนอ
ข้อมูลและบทสรุปของเนื้อหาที่ได้เรียนให้แก่
ผู้เรียนเพื่อเป็ นการทบทวนความจา และ
นาไปใช้งานได้
9 สรุปและนาไปใช้
(REVIEW AND TRANSFER)
การบันทึกวิธีการจัดการเรียนการสอน
ลาดับกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 3
บทบาทครู อาจารย์ บทบาทนักเรียน การใช้สื่อ ICT
กระตุ้นนักศึกษาจาก
การเรียกชื่อ ที่ตั้งขึ้น
ตอบสนองการเรียกชื่อ
ของอาจารย์ ไมโครโฟน
กระตุ้นนักศึกษา ในการ
สอนเนื้อหา
มีปฏิสัมพันธ์ กับ
อาจารย์ ในการถาม
ตอบ
Power point
อธิบาย และสรุปเนื้อหา
โดยการ ใช้ Mind
mapping
เรียนรู้อย่างเข้าใจ และ
ตั้งใจ Power point
สมาชิก
นายธนวิชญ์ โคตรพันธ์ 573050483-7
นายนราธิป เสนารักษ์ 573050488-7
นายเอกดารงค์ ถวิลรักษ์ 573050517-6
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pattarawadee Dangkrajang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Maesinee Fuguro
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ศน. โมเมจ้า
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Ptato Ok
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมNut Kung
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningunyaparn
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt yuapawan
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Bay Phitsacha Kanjanawiwin
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Natida Boonyadetwong
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Proud N. Boonrak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนNongruk Srisukha
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางKunwater Tianmongkon
 

What's hot (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
 
การเรียนรู้
การเรียนรู้การเรียนรู้
การเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learning
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 

Similar to นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้

มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาJune Nitipan
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554Thanawut Rattanadon
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยFuangFah Tingmaha-in
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาpohn
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาsinarack
 
2ความหมายและความสำคัญ
2ความหมายและความสำคัญ2ความหมายและความสำคัญ
2ความหมายและความสำคัญMookda Phiansoongnern
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
สื่อการสอนประเภทกิจกรรม
สื่อการสอนประเภทกิจกรรมสื่อการสอนประเภทกิจกรรม
สื่อการสอนประเภทกิจกรรมKookkik Nano
 
โครงงานคอมพิวเตอร 3
โครงงานคอมพิวเตอร 3โครงงานคอมพิวเตอร 3
โครงงานคอมพิวเตอร 3Noonnu Ka-noon
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practicesthkitiya
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 

Similar to นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (20)

มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Peeraya
PeerayaPeeraya
Peeraya
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
สื่อการเรียนสอน
สื่อการเรียนสอนสื่อการเรียนสอน
สื่อการเรียนสอน
 
Id plan
Id planId plan
Id plan
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
2ความหมายและความสำคัญ
2ความหมายและความสำคัญ2ความหมายและความสำคัญ
2ความหมายและความสำคัญ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
สื่อการสอนประเภทกิจกรรม
สื่อการสอนประเภทกิจกรรมสื่อการสอนประเภทกิจกรรม
สื่อการสอนประเภทกิจกรรม
 
No3
No3No3
No3
 
โครงงานคอมพิวเตอร 3
โครงงานคอมพิวเตอร 3โครงงานคอมพิวเตอร 3
โครงงานคอมพิวเตอร 3
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 

นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้