SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 14
การหาคาสูงสุด ต่ําสุด สัมพัทธ
นิยาม ถา = ( ) และ ′
( 2) = 0 , ′
( 3) = 0
แลวเรียกคา , วา คาวิกฤต
และเรียก จุด , ( ) , , ( ) วา จุดวิกฤต
นิยาม ให = ( ) มี ′
( 2) = 0
แลวจุด ( , )เปนจุดวิกฤต
ถา ( ) < 0 แลวเรียกจุด ( , ) วา จุดสูงสุดสัมพัทธ
ถา ′′
( 3) > 0 แลวเรียกจุด 3, 3
วา จุดต่ําสุดสัมพัทธ
ถา ( 1) < ( 2) เรียกจุด 1, 1
วา จุดต่ําสุดสัมพัทธ
ถา ′′
( 1) < 0 แลวเรียกจุด 1, 1
วา จุดสูงสุดสัมพัทธ
21 จงหาคาวิกฤต จุดสูงสุดและจุดต่ําสุดของฟงกชั่น
= ( ) = 2 − 3 − 36 + 40
วิธีทํา จาก = 2 3
− 3 2
− 36 + 40
∴ = 6 − 6 − 36 และ = 12 − 6
ที่จุดวกกลับจะมี ′
( ) = 0 หรือ ′
= 0
∴ 6 − 6 − 36 = 0 ∴ − − 6 = 0
∴ ( − 3)( + 2) = 0 ∴ = −2 , 3
∴ คาวิกฤตคือ = −2 , 3 .
ถา = −2 ,
= 2(−2) − 3(−2) − 36(−2) + 40 = 84
ถา = 3 ,
= 2(3) − 3(3) − 36(3) + 40 = −41
∴ จุดวิกฤตคือ จุด (−2,84), (3, −41)
∴ ที่จุดวิกฤต (−2,84)
มี = 12(−2) − 6 = −30
∴ ที่จุดวิกฤต (−2,84) เปนจุดสูงสุดสัมพัทธ
เพราะมี < 0 .
∴ ที่จุดวิกฤต (3,−41) มี = 12(3) − 6 = 30
∴ ที่จุดวิกฤต (3,−41) เปนจุดต่ําสุดสัมพัทธ
เพราะมี > 0 .
21. จงหาคาวิกฤติ จุดสูงสุดและจุดต่ําสุดของฟงกชั่น
= ( ) = − 6 + 9 − 3
y'=0
y'=0
x4x3x2x1
ค่าวิกฤต ค่าวิกฤต
จุดวิกฤต
จุดวิกฤต
จุดตํ าสุดส ัมพ ั ทธ์
จุดสูงสุดส ั มพ ั ทธ์
จุดสูงสุดส ัมบูรณ์
จุดตํ าสุดส ัมบูรณ์
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 15
22 ถา = ( ) = + 3 − 9 + 7
จงหาคา ที่ทําใหเกิดฟงกชั่นลด
วิธีทํา จาก = 3
+ 3 2
− 9 + 7
∴ = ( + 3 − 9 + 7)
∴ = 3 + 6 − 9
( )จะเปนฟงกชั่นลดก็ตอเมื่อมี ( ) < 0 หรือ < 0
∴ < 0 แสดงวา 3 + 6 − 9 < 0
∴ + 2 − 3 < 0
∴ ( − 1)( + 3) < 0 ∴ −3 < < 1
( )จะเปนฟงกชั่นลดก็ตอเมื่อมี − 3 < < 1 .
23 ถา = ( ) = 2 − 9 − 60 + 1
จงหาคา ที่ทําใหเกิดฟงกชั่นเพิ่ม
วิธีทํา จาก = 2 3
− 9 2
− 60 + 1
∴ = (2 − 9 − 60 + 1)
∴ = 6 − 18 − 60
( )จะเปนฟงกชั่นเพิ่มก็ตอเมื่อมี ( ) > 0 หรือ > 0
∴ > 0 แสดงวา 6 − 18 − 60 > 0
∴ + 3 − 10 > 0
∴ ( + 5)( − 2) > 0 ∴ < −5 ⋁ > 2
( )จะเปนฟงกชั่นเพิ่มก็ตอเมื่อมี < −5 ⋁ > 2 .
22. ถา = ( ) = 2 + 5 − 4 + 2
จงหาคา ที่ทําใหเกิดฟงกชั่นลด
23. ถา = ( ) = 2 + 3 − 72 + 1
จงหาคา ที่ทําใหเกิดฟงกชั่นเพิ่ม
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 16
24 กําหนดให วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวเสนตรงดวยสมการ
= − 9 + 24 + 10
โดย ระยะทางมีหนวยเปน เมตร และ เวลามีหนวยเปน นาที จงหา
(1) จุดเริ่มตนอยูหางจากจุดเริ่มวัดกี่เมตร
(2) ขณะนาทีที่เทาไรวัตถุเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่
และวัตถุอยูหางจากจุดเริ่มตนเทาไร
(3) ขณะวัตถุเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่มีความเรงเทาไร
(4) ขณะที่วัตถุมีความเรง 18 เมตรตอ(นาที)
วัตถุจะมีความเร็วเทาไร
(5) ขณะอยูหางนาทีที่ 7 วัตถุจากจุดเริ่มตนกี่เมตร
(6) ภายใน 7 นาทีแรกนี้วัตถุเคลื่อนที่ไดทางทั้งหมดกี่เมตร
วีธีทํา จาก = 3
− 9 2
+ 24 + 10
(1) ถา = 0 แลว = 10
แสดงวา จุดเริ่มตนอยูหางจากจุดเริ่มวัด 10 เมตร .
(2) ขณะที่วัตถุเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ จะมี = 0
จาก = 3
− 9 2
+ 24 + 10
∵ = 3 − 18 + 24
= 0 ∴ 3 − 18 + 24 = 0
− 6 + 8 = 0 ∴ ( − 4)( − 2) = 0
∴ = 2 , 4
วัตถุเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ขณะนาทีที่2 และนาทีที่ 4 .
= 2 จะมี
= 2 − 9(2) + 24(2) + 10 = 30 เมตร
จะอยูหางจากจุดเริ่มตน = 30 − 10 = 20 เมตร .
= 4 จะมี
= 4 − 9(4) + 24(4) + 10 = 26 เมตร
จะอยูหางจากจุดเริ่มตน = 26 − 10 = 6 เมตร .
(3) ขณะวัตถุเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่มีความเรงดังนี้
∵ = 3 − 18 + 24
∴ = 6 − 18
= 2 จะมี
= 6(2) − 18 = −6 เมตร ตอ (นาที) .
= 4 จะมี
= 6(4) − 18 = 6 เมตร ตอ(นาที) .
(4) ขณะที่วัตถุมีความเรง 18 เมตร / (นาที)2
∵ = 6 − 18 ∴ 18 = 6 − 18 ∴ = 6
จาก = 3 − 18 + 24
ถา = 6 จะไดวา = 3(6)2
− 18(6) + 24
= 24 เมตร ตอ นาที .
(5) ขณะนาทีที่ 7 วัตถุอยูหางจากจุดเริ่มตนกี่เมตร
จาก = − 9 + 24 + 10
จุดเริ่มตน = 0, ∴ = 10
= 7 , = 7 − 9(7) + 24(7) + 10 = 80
ดังนั้นขณะนาทีที่ 7 วัตถุอยูหางจากจุดเริ่มตน
= 80 − 10 = 70 เมตร .
(6) ภายใน 7 นาทีแรกนี้วัตถุเคลื่อนที่ไดทางทั้งหมดกี่เมตร
จุดเริ่มตน = 0, = 10
จุดเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ครั้งแรกที่ นาทีที่ 2
= 2 , = 2 − 9(2) + 24(2) + 10 = 30
จุดเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ครั้งที่ 2 ที่นาทีที่ 4
= 4 , = 4 − 9(4) + 24(4) + 10 = 26
จุดสุดทาย = 7 ,
∴ = 7 − 9(7) + 24(7) + 10 = 80
ในเวลา 7 นาที วัตถุจะเคลื่อนไดทางทั้งหมดเทากับ
= (30 − 10) + (30 − 26) + (80 − 26) = 78 .
t=7,s=80
จุดวกกล ับคร ั งที 2
t=4,s=26,v=0
จุดวกกลับครั งที 1
t=2,s=30,v=0t=0,s=10
5426
426
2010
DC
C B
BA
จุดเริมต้น
จุดเริมวัด
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 17
24. ให วัตถุเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงดวยสมการ
= 2 − 21 + 60 + 4
โดย ระยะทางมีหนวยเปน เมตร และ เวลามีหนวยเปน นาที จงหา
(1) จุดเริ่มตนอยูหางจากจุดเริ่มวัดกี่เมตร
(2) ขณะนาทีที่เทาไรวัตถุเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่
และวัตถุอยูหางจากจุดเริ่มตนเทาไร
(3)ขณะวัตถุเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่มีความเรงเทาไร
(4)ขณะที่วัตถุมีความเรง 6 เมตรตอ(นาที) จะมีความเร็วเทาไร
(5) ขณะอยูหางนาทีที่ 6 วัตถุจากจุดเริ่มตนกี่เมตร
(6) ภายใน 6 นาทีแรกนี้วัตถุเคลื่อนที่ไดทางทั้งหมดกี่เมตร
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 18
25 กําหนดให วัตถุเคลื่อนที่ดวยสมการ
= 4 − 3 + 4 เมตร จงหา
(1) ความเร็วเฉลี่ยในชวงนาทีที่ 3 ถึง นาทีที่5
(2) ความเร็วขณะนาทีที่ 10
(3) ความเรงเฉลี่ยในชวงนาทีที่ 2 ถึงนาทีที่ 4
(4) ความเรงขณะนาทีที่ 3
(5) ภายในเวลา 2 นาที วัตถุจะเคลื่อนที่ไดทางเทาไร
วิธีทํา จาก = 4 3
− 3 + 4 เมตร
∵ = = ( 4 − 3 + 4 ) = 12 − 3
∵ = = ( 12 − 3 ) = 24
(1) ความเร็วเฉลี่ยในชวงนาทีที่ 3 ถึง นาทีที่5
จาก = 4 − 3 + 4
เมื่อ = 3 จะมี = 4(3) − 3(3) + 4 = 103
เมื่อ = 5 จะมี = 4(5) − 3(5) + 4 = 489
∴
∆
∆
= = = 193 เมตร/นาที .
(2) ความเร็วขณะนาทีที่ 10 ∵ = 12 − 3
เมื่อ = 10 , 10 = 12(10)2
− 3 = 1197 เมตร/นาที .
(3) ความเรงเฉลี่ยในชวงนาทีที่ 2 ถึงนาทีที่ 4
∵ = 12 − 3
เมื่อ = 2 จะมี = 12(2) − 3 = 45
เมื่อ = 4 จะมี = 12(4) − 3 = 189
∴
∆
∆
=
−
4 − 2
=
189 − 45
2
= 72 เมตร/(นาที) .
(4) ความเรงขณะนาทีที่ 3 จาก = 24
เมื่อ = 3 จะมี 3 = 24(3) = 72 เมตร/(นาที)2
.
(5) ภายในเวลา 2 นาที วัตถุจะเคลื่อนที่ไดทางเทาไร
จาก = 12 − 3 มีจุดวกกลับ ณ จุด = 0
ถา = 0 ∴ 12 − 3 = 0 ∴ = ±
1
2
จาก = 4 − 3 + 4
เมื่อ = 0 จะมี = 4(0) − 3(0) + 4 = 4
เมื่อ =
1
2
จะมี = 4(
1
2
) − 3(
1
2
) + 4 = 3
เมื่อ = 2 จะมี = 4(2) − 3(2) + 4 = 30
วัตถุจะเคลื่อนที่จาก = 0 ถึง =
1
2
ไดทาง |3 − 4| = 1
วัตถุจะเคลื่อนที่จาก =
1
2
ถึง = 2ไดทาง |30 − 3| = 27
วัตถุจะเคลื่อนที่จาก = 0 ถึง = 2
∴ ไดทาง = 1 + 27 = 28 เมตร .
25. ให วัตถุเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงดวยสมการ
= − 12 + 45 + 5 จงหา
(1) ความเร็วเฉลี่ยในชวงนาทีที่ 2 ถึง นาทีที่6
(2) ความเร็วขณะนาทีที่ 4
(3) ความเรงเฉลี่ยในชวงนาทีที่ 1 ถึงนาทีที่ 3
(4) ความเรงขณะนาทีที่ 4
(5) ภายในเวลา 6 นาที วัตถุจะเคลื่อนที่ไดทางเทาไร
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 19
26 พอคาน้ําตาลซื้อน้ําตาลมากิโลกรัมละ 10 บาท แลวขายไป
กิโลกรัมละ 16 บาท ใน 1 เดือนเขาจะขายได 500 กิโลกรัม
ถาเขาเพิ่มราคาขายอีกกิโลกรัมละ บาทเขาจะขายไดลดลง
เดือนละ 20 กิโลกรัม ในเวลา 1 เดือน
เขาควรตั้งราคาไวเทาไรจึงจะไดกําไรมากที่สุด ไดกําไรมากสุดกี่บาท
และจะไดกําไรมากกวาปกติเทาไร
วิธีทํา
ให เปนกําไร = (กําไร ใน 1 ก. ก. )(จํานวน ก. ก. ที่ขาย)
ปกติ จะไดกําไร = (16 − 10)(500) = 3000 บาท
ราคาใหม จะไดกําไร = (16 + − 10)(500 − 20 )
ดังนั้น = (6 + )(500 − 20 )
= 3000 + 380 − 20
∴ = 380 − 40 และ มีคามากสุดเมื่อ = 0
เมื่อ ′
= 0 ∴ 380 − 40 = 0 ∴ = 9.50
เขาควรตั้งราคาไวกิโลกรัมละ 16 + 9.50 = 25.50 บาท .
ไดกําไรมากสุด = (6 + 9.50)[500 − 20(9.5)]
∴ เขาจะไดกําไร มากสุด = 4805 บาท .
ไดกําไรมากกวาปกติ = 4805 − 3000 = 1805 บาท .
27 รานขายไอศกรีมแหงหนึ่ง ปกติมี 100 ที่นั่งมีกําไรสัปดาหละ
80 บาทตอที่นั่ง ถาจัดที่นั่งเกิน 100 ที่นั่งตองเสียคาใชจายเพิ่มขึ้น
ทําใหกําไรลดลง 40 สตางคคูณดวยจํานวนที่นั่งที่เกิน 100 ที่นั่ง
เจาของรานจะตองเพิ่มที่นั่งอีกกี่ที่นั่งจึงจะทํากําไรไดมากสุด
จะไดกําไรมากสุดเทาไรและ กําไรจะเพิ่มขึ้นจากปกติเทาไร
วิธีทํา ให เปนกําไร เปนจํานวนที่เพิ่มขึ้นจากเดิม 100 ที่นั่ง
∴ = (100 + )(80 − 0.4 ) = 8000 + 40 − 0.4
∴ = 40 − 0.8 กําไรมากสุดเมื่อ = 0
ถา = 0 ∴ 40 − 0.8 = 0 ได = 50 .
ปกติจะกําไร = (100)(80) = 8000 บาท ตอสัปดาห
จัดใหมจะกําไรมากสุดคือ
= (100 + 50)[80 − 0.4(50)]
จัดใหมจะกําไรมากสุดคือ = 9000 บาทตอสัปดาห .
กําไรเพิ่มขึ้น = 9000 − 8000
= 1000 บาทตอสัปดาห .
26. พอคาซื้อผลไมมากิโลกรัมละ 60 บาท แลวขายไปกิโลกรัมละ
90 บาท ใน 1 เดือนเขาจะขายได 800 กิโลกรัม
ถาเขาเพิ่มราคาขายอีกกิโลกรัมละ บาท จะขายของไดลดลง
เดือนละ 10 กิโลกรัม เขาควรตั้งราคาไวเทาไรจึงจะไดกําไรมากที่สุด
ไดกําไรมากสุดกี่บาทและจะไดกําไรมากกวาปกติเทาไร
27. บริษัทคาขาว ดาวเรือง ปกติจะขายขาวได 400 ตันตอเดือน
มีกําไร 5000 บาทตอตันแตถาขายเกิน 400 ตันตอเดือน
กําไรจะลดลง 10 คูณจํานวนตันที่เกิน 400 ตัน เพราะจะมี
คาใชจายที่เพิ่มขึ้นมาก เจาของบริษัทจะตองขายขาวกี่ตัน
ถึงจะมีกําไรมากสุดและกําไรเทาไร
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 20
28 บริษัทนําเที่ยว ทราบวาถาเก็บคาบริการคนละ 400 บาท
รถที่นั่ง 30 ที่จะเต็มพอดี แตถาเก็บเพิ่มชึ้นทุก 5 บาท
ที่นั่งจะวางเพิ่มขึ้น 1 ที่ ถาคาใชจายในการนําเที่ยว เทากับ
1500 บาท บวก 300 คูณจํานวนคน
จงหาวาเขาควรเก็บคาบริการคนละเทาไร จึงจะไดกําไรมากสุด
และจะไดกําไรมากที่สุดเทาไร
วิธีทํา สมมุติวาเขาเพิ่มเงินคาเดินทางคนละ 5 บาท
ที่นั่งจะขายได 30 − ที่นั่ง และ ให เปนกําไร
∴ = เงินที่ขายไดทั้งหมด − เงินทุนทั้งหมด
เงินที่ขายไดทั้งหมด = (จํานวนคน)(ราคาคาบริการใหมตอคน)
= (400 + 5 )(30 − )
เงินทุนทั้งหมด = 1500 + 300(จํานวนคนที่จะขายไดทั้งหมด)
= 1500 + 300(30 − )
∴ = (400 + 5 )(30 − ) − [1500 + 300(30 − )]
∴ = (12000 − 250 − 5 ) − [1500 + 9000 − 300 ]
∴ = (500 + 50 − 5 ) ∴ = 50 − 10
∴ มากสุดเมื่อ = 0 ∴ 50 − 10 = 0 ∴ = 5
เขาจะเก็บคาบริการคนละ 400 + 5(5) = 425 บาท .
กําไรมากสุด
= (425)(30 − 5) − [1500 + 300(30 − 5)]
กําไรมากสุด = (10625) − [9000]
= 1625 บาท .
28. บริษัทนําเที่ยวตางประเทศทราบวาถาเก็บคาบริการคนละ
2000 บาท จะขายตั๋วได 50 คน แตถาเก็บเพิ่มชึ้นทุก 400 บาท
ที่นั่งจะวางเพิ่มขึ้น 3 ที่ คาใชจายในการนําเที่ยว มีดังนี้
คาจางไกด 2 คนๆละ 2000 บาท
คารถโดยสาร 7500 บาท คาอาหารและที่พัก 800 บาทตอคน
คาเขาชมสถานที่ทองเที่ยว คนละ 100 บาทตอคน
จงหาวาเขาควรเก็บคาบริการคนละเทาไร จึงจะไดกําไรมากสุดเทาไร
(คาใชจายใหรวมถึงไกดดวย)
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 21
29 เราสามารถตัดมุมกระดาษสี่เหลี่ยมจตุรัสออกเปนรูปสี่เหลี่ยม
จตุรัสแลวพับเปนกลองที่ไมมีฝาปดที่มีปริมาตรมากที่สุดเทาไร
และกลองนี้มีความสูงเทาไร
วิธีทํา สมมุติให แผนกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ หนวย
และตัดที่มุมกระดาษเปนสี่เหลี่ยมจตุรัสดานละ หนวย
ให เปนปริมาตรของกลอง
∴ = ( − 2 )( − 2 )
∴ = ( − 4 + 4 ) = − 4 + 4
∴ = − 8 + 12
มากสุดเมื่อ = 0
∴ 0 = − 8 + 12
∴ ( − 6 )( − 2 ) = 0 ∴ =
2
,
6
∴ =
6
เนื่องจาก =
2
ตัดแลวสรางกลองไมได
จาก = 2
− 4 2
+ 4 3
∴ = 2
6
− 4
6
2
+ 4
6
3
=
2
27
3
.
กลองนี้มีความสูง =
6
.
29.1 เราสามารถตัดมุมกระดาษสี่เหลี่ยมจตุรัส ซึ่งยาวดานละ 60 นิ้ว
ออกเปนรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสแลวพับเปนกลองที่ไมมีฝาปดที่มีปริมาตร
มากที่สุดเทาไร และกลองนี้มีความสูงเทาไร
29.2 เราสามารถตัดมุมกระดาษสี่เหลี่ยมจตุรัส ซึ่งยาวดานละ 18 นิ้ว
ออกเปนรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสแลวพับเปนกลองที่ไมมีฝาปดที่มีปริมาตร
มากที่สุดเทาไร และกลองนี้มีความสูงเทาไร
29.3 เราสามารถตัดมุมกระดาษสี่เหลี่ยมจตุรัส ซึ่งยาวดานละ 24 นิ้ว
ออกเปนรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสแลวพับเปนกลองที่ไมมีฝาปดที่มีปริมาตร
มากที่สุดเทาไร และกลองนี้มีความสูงเทาไร
29. 4 เราสามารถตัดมุมกระดาษสี่เหลี่ยมจตุรัส ซึ่งยาวดานละ 42 นิ้ว
ออกเปนรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสแลวพับเปนกลองที่ไมมีฝาปดที่มีปริมาตร
มากที่สุดเทาไร และกลองนี้มีความสูงเทาไร
(a-2x)
(a-2x)
a
a
x
xx
x
x
x
x
x
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 22
30 ชาวนาตองการลอมรั้วเปนคอกรูปสี่เหลี่ยมผืนผา 2 คอก
ติดกัน โดยดานหนึ่งเปนแมน้ํา ไมตองทํารั้ว ถาเขามีไมที่ใชทํารั้ว
ยาว 600 เมตร เขาจะสามารถกั้นรั้วไดพื้นที่มากสุดเทาไร
วิธีทํา สมมุติให กั้นรั้วกวาง เมตร ยาว เมตร
ให เปนพื้นที่ของคอกทั้งหมด = ตารางเมตร
ไมทั้งหมดยาวรวมกัน = 600 เมตร
∴ + 3 = 600 ∴ = 600 − 3
∴ = = (600 − 3 ) = 600 − 3
∴ = 600 − 6
มีคามากสุดเมื่อ = 0 ∴ 600 − 6 = 0
= 0 ∴ 600 − 6 = 0 ∴ = 100
จาก = 600 − 3 , = 100 ∴ = 300
∴ มากสุด = (100)(300) = 30000 ตารางเมตร .
30. ชายคนหนึ่งตองการลอมรั้วเปนคอกรูปสี่เหลี่ยมผืนผา คอก
ติดกัน โดยดานหนึ่งเปนแมน้ํา(ไมตองทํารั้ว) ถาเขามีไมที่ใชทํารั้วยาว
เมตร เขาจะสามารถกั้นรั้วไดพื้นที่มากสุดเทาไร
แม่นํ า
xx
y
x
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 23
31 จงหาสวนสูง รัศมี และปริมาตร ของฐานรูปทรงกระบอก
ที่มีปริมาตรมากที่สุด ที่บรรจุอยูในกรวยกลมที่มีรัศมีของฐานยาว
6 นิ้ว สูง 12 นิ้ว
วิธีทํา ให เปนปริมาตรของทรงกระบอก
ℎ เปนความสูงของทรงกระบอก
เปนรัศมีของทรงกระบอก
จาก = 2
ℎ
จากรูป ∆ ≅ ∆ ∴ =
∴
6
12
=
6 −
ℎ
∴ ℎ = 12 − 2
∵ = ℎ = (12 − 2 )
= (12 − 2 )
∴ = (24 − 6 )
มากที่สุดเมื่อ = 0
∴ 0 = (24 − 6 ) ∴ = 4
∴ ℎ = 12 − 2 = 12 − 2(4) = 4
∴ = (16)(4) = 64 .
31. จงหาสวนสูง รัศมี และปริมาตรของฐานรูปทรงกระบอกที่มีปริมาตร
มากที่สุดที่บรรจุอยูในกรวยกลมที่มีรัศมีของฐานยาว นิ้ว สูง ℎ นิ้ว
r
h
12
H
G
F
6
E
D
C
BA
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 24
32 สามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีสูง 10 นิ้ว ฐานยาว 30 นิ้วจงหาวา
สี่เหลี่ยมผืนผาที่มีพื้นที่มากสุดที่สามารถบรรจุอยูในสามเหลี่ยมได
โดยมีดานหนึ่งของสี่เหลี่ยมตั้งอยูบนฐานของสามเหลี่ยม มีพื้นที่เทาไร
วิธีทํา ใหสี่เหลี่ยมสูง นิ้ว ยาว นิ้ว
และให เปนพื้นที่ของสี่เหลี่ยม ∴ =
จากรูปสามเหลี่ยม 2 รูปคลายกันคือ ∆ ≅ ∆
∴ = ∴
10
=
30
30 −
∴ =
1
3
(30 − )
จาก = =
1
3
(30 − ) = 10 −
1
3
2
∴ = 10 −
มีคามากสุดเมื่อ = 0
จะได 10 −
2
3
= 0 ∴ = 15
เมื่อ = 15 แลวหาคา =
1
3
(30 − 15) = 5
∴ มากสุด = = 15(5) = 75 ตารางนิ้ว .
32. สามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีสูง ℎ นิ้ว ฐานยาว นิ้ว จงหาวา
สี่เหลี่ยมผืนผาที่มีพื้นที่มากสุดที่สามารถบรรจุอยูในสามเหลี่ยมได
ดยมีดานหนึ่งของสี่เหลี่ยมตั้งอยูบนฐานของสามเหลี่ยม มีพื้นที่เทาไร
y
x 30
10
F
E
D
C
BA
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 25
33 จงหาพื้นที่ที่มากที่สุดของสี่เหลี่ยมผืนผาที่แนบใน
สามเหลี่ยมที่ดานทั้งสามอยูบนแกน แกน และ
เสนตรง 3 + 4 = 24
วิธีทํา ให เปนพื้นที่ของสี่เหลี่ยมที่แนบในสามเหลี่ยม
มีความยาวฐาน หนวย มีความสูง หนวย
∴ =
แต 4 + 3 = 24
∴ =
1
3
(24 − 4 )
∴ =
1
3
(24 − 4 )
∴ = 8 −
4
3
∴ = 8 −
8
3
ถา = 0 แลวหาคา = 3
∴ = 3 หาคาได =
1
3
(24 − 12) = 4
∴ มีคามากสุด = (3)(4) = 12 ตรน. .
33. จงหาพื้นที่ที่มากที่สุดของสี่เหลี่ยมผืนผาที่แนบในสามเหลี่ยม
ที่ดานทั้งสามอยูบนแกน แกน และเสนตรง + =
C
BA
D(x,y)
3y+4x=24
y
x
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 26
34 สี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีฐานอยูบนแกน และจุดยอด 2 จุด
อยูบนกราฟ = 4 2
− 3 จะมีพื้นที่มากสุดกี่ตารางหนวย
วิธีทํา ให เปนพื้นที่ของสี่เหลี่ยมที่ตองการ
มีความยาว 2 หนวย กวาง หนวย
ดังนั้น = 2
แต = 4 2
− 3
ดังนั้น = 2 (4 2
− 3)
∴ = 8 − 6
∴ = 24 − 6
พื้นที่จะมากสุดเมื่อ ′
= 0
∴ 24 − 6 = 0 ∴ = ±
1
2
ดังนั้น มากสุด = 6 − 8 3
= 6 − 8 = 2 .
34. สี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีฐานอยูบนแกน และจุดยอด 2 จุดอยูบน
กราฟ = 2
− จะมีพื้นที่มากสุดกี่ตารางหนวย
1
-1
-2
-3
-2 2
(x,-y)
-y
x
y=4x2-3
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 27
35 จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงรี
+ = 1
วิธีทํา ให เปนพื้นที่สี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลม
∴ = 4 โดยที่ ( , ) เปนจุดบนวงรี
จาก
2
2
+
2
2 = 1 ∴ = ( 2
− 2
)
1
2
∴ = 4 ( − )
∴ =
4
( − ) + ( − )
=
4 1
2
( − ) (−2 ) + ( − )
∴ =
4
− ( − ) + ( − )
ถา ′
= 0
∴
4
− ( − ) + ( − ) = 0
∴ −
( − )
+ ( − ) = 0
∴ ( − ) =
( − )
( − ) = ∴ =
√2
∴ = 4
√2
−
2
=
4
√2 √2
= 2 .
35 .1.จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงรี
25
+
9
= 1
35 .2.จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงรี
25
+
9
= 1
35 .3.จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงรี
4
+
9
= 1
35.4.จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงรี
100
+
25
= 1
x2
a2
+
y2
b2
=1 (x,y)
y
x
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 28
36 จงพิสูจนวา พื้นที่สี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลม
+ = มีพื้นที่มากสุดเทากับ 2
วิธีทํา ให = 4 โดยที่ ( , ) เปนบนวงกลม
∴ = 4 ( − )
∴ = 4 ( − )
∴ = 4 ( − ) + ( − )
∴ = 4
1
2
( − ) (−2 ) + ( − )
∴ = 4 −
( − )
+ ( − )
ถา ′
= 0 ∴ 4 −
2
( 2
− 2)
1
2
+ ( 2
− 2
)
1
2 = 0
∴ ( − ) =
( − )
( − ) = ∴ =
√2
∴ = 4 ( − )
= 4
√2
−
2
= 4
√2 2
มากสุด = 4
√2 √2
= 2 .
36.1. จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงกลม
+ = 25
36.2. จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงกลม
+ = 16
36.3. จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงกลม
+ = 5
36.4. จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงกลม
+ = 7
x2+y2=r2
(x,y)
y
x
r
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 29
37 จงหาปริมาตรของทรงกระบอกที่มีปริมาตรมากสุดที่
สามารถบรรจุลงในกรวยกลมได
วิธีทํา ให , เปนปริมาตรของทรงกระบอกและกรวยกลม
ให , ℎ เปนความสูงของทรงกระบอกและกรวยกลม
ให , เปนรัศมีของทรงกระบอกและกรวยกลม
จาก ∆ ≅ ∆
∴ = ∴
ℎ
=
−
∴ =
ℎ
( − )
จาก = 2
∴ = 2
ℎ
( − )
∴ = ℎ −
ℎ
∴ = 2 ℎ −
3 ℎ
∵ มากสุดเมื่อ = 0 ∴ 2 ℎ −
3 ℎ
= 0
∴
3 ℎ
= 2 ℎ ∴ =
2
3
จาก =
ℎ
( − )
∴ =
ℎ
−
2
3
=
ℎ
3
∴ ทรงกระบอกจะมีปริมาตรมากสุดที่สามารถบรรจุใน
กรวยกลมไดเมื่อ มีรัศมี =
2
3
ของรัศมีกรวยกลม .
มีความสูง =
1
3
ของความสูงของกรวยกลม .
∴ ปริมาตรทรงกระบอก =
2
3
1
6
ℎ
=
4
9
1
6
ℎ =
2
9
1
3
ℎ
∴ ปริมาตรทรงกระบอก =
2
9
(ปริมาตรกรวยกลม) .
37.1. จงหาความสูง รัศมี ปริมาตรของทรงกระบอกที่มีปริมาตร
มากสุดที่สามารถบรรจุลงในกรวยกลมที่มีรัศมี 15 นิ้วและ
มีความสูงเทากับ 21นิ้ว (แสดงวิธีทํา)
37.2. จงหาความสูง รัศมี ปริมาตรของทรงกระบอกที่มีปริมาตร
มากสุดที่สามารถบรรจุลงในกรวยกลมที่มีรัศมี 21 นิ้วและ
มีความสูงเทากับ 27นิ้ว
37.3. จงหาความสูง รัศมี ปริมาตรของทรงกระบอกที่มีปริมาตร
มากสุดที่สามารถบรรจุลงในกรวยกลมที่มีรัศมี 9 นิ้วและ
มีความสูงเทากับ 14 นิ้ว
F
r
x
h
y
ED
CB
A
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 30
38 ลูกบอลลูนถูกเติมกาซในขณะที่มีรัศมี 2 ฟุต
จนทําใหรัศมีเพิ่มขึ้นดวยอัตารเร็ว
1
6
ฟุตตอวินาที
จงหาวา ในขณะเดียวกันนี้ ปริมาตรของลูกบอลลูนจะ
เปลี่ยนแปลงดวยความเร็วเทาไร
วิธีทํา จาก =
4
3
3
∴ =
4
3
3 = 4
แตจากโจทย =
1
6
และ = 2
∴ = 4 (2)
1
6
=
8
3
≈ 8.3775 .
39 เครื่องบินโดยสารลําหนึ่ง กําลังบินผานสถานีเรดาและอยูสูง
เหนือระดับเรดา 6 ไมล ซึ่งเปลี่ยนแปลงลดลงดวยอัตราเร็ว
400 ไมลตอชั่วโมง ถา เปนระยะหางระหวางเรดากับเครื่องบิน
จงหาอัตราเร็วของเครื่องบินตามแนวราบ ขณะ เทากับ 10 ไมล
วิธีทํา ให เปนระยะหางจากเรดาถึงจุดในแนวตั้งใตเครื่องบิน
จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉากจะไดวา + 6 =
∴ 2 + 0 = 2
จากโจทย
= −400 , = 10 , = √100 − 36 = 8
∴ 2(8) = 2(10)(−400)
∴ =
2(10)(−400)
16
= −500 ไมลตอชั่วโมง .
38. ลูกบอลลูนถูกเติมกาซเขาดวยอัตราเร็ว 4.5 ล.บ. นิ้ว
ตอวินาที จงหาอัตราเร็วของการเปลี่ยนแปลงของรัศมี เมื่อรัศมียาว 2นิ้ว
39. เรือโดยสารลําหนึ่ง อยูทางทิศเหนือของประภาคาร หาง9 ไมล
ประภาคาร อยูทางทิศตะวันตกของประภารคาร อยูหางจาก
เรือโดยสาร ไมล และระยะจะเปลี่ยนแปลงลดลงดวยอัตราเร็ว
300 ไมลตอชั่วโมง จงหาอัตราเร็วของเรือลํานี้ขณะอยูหางจาก
ประภาคาร ระยะ 15 ไมล
ระด ั บเรดา
6 mi
x
S=10 mi
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 31
40 ชายคนหนึ่งยืนอยูใตเสาไฟฟาซึ่งสูง 6 เมตร ตัวเขาสูง
1.8 เมตร ถาเขาวิ่งออกจากเสาไฟไปทางทิศตะวันออกดวย
อัตราเร็วเร็ว 1.5 เมตรตอวินาทีอยากทราบวาจุดปลาย
ของเงาของตัวเขาวิ่งดวยอัตราเร็วเทาไร
วิธีทํา จากรูป ∆ ≅ ∆
∴ = ∴
6
=
1.8
−
∴ 6( − ) = 1.8
∴ 6 − 1.8 = 6 ∴ 4.2 = 6
∴ =
6
4.2
∴ =
1
0.7
จากโจทย
1
= 1.5 เมตรตอวินาที
∴ =
1
0.7
=
1
0.7
(1.5) =
15
7
≈ 2.14 ≈ เมตรตอวินาที .
40. ชายคนหนึ่งยืนอยูใตเสาไฟฟาซึ่งสูง 10 เมตร ตัวเขาสูง
2 เมตร ถาเขาวิ่งออกจากเสาไฟไปทางทิศตะวันออกดวย
อัตราเร็วเร็ว 2 เมตรตอวินาที อยากทราบวาจุดปลาย
ของเงาของตัวเขาวิ่งดวยอัตราเร็วเทาไร
S1
S2
L
K
j
i
H
G
F
D
C
B
A
คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 32
41 แผนไมกระดานแผนหนึ่งยาว 17 เมตรตั้งพิงไวกับผนัง
และพบวาขอบกระดานดานลางจะเลื่อนไถลออกจากผนังดวย
ความเร็ว 20 ซม. ตอวินาที จงหาความเร็วในการเคลื่อนที่ลง
ของขอบบนของแผนไม ณ จุดที่สูงกวาพื้น 8 เมตร
วิธีทํา กําหนดรูปการเคลื่อนที่ดังนี้
จาก ∆ มี (17 − 1)2
+ 2
2
= 172
∴ (17 − 1)
2
+ 2
2
= 172
∴ (17 − 1) −
1
+ 2
2
= 0 … … … (1)
จากโจทย
(17 − ) = 8 , =
20
100
=
1
5
เมตรตอวินาที
= 17 − 8 = √289 − 64 = √225 = 15
จาก … . (1) จะได 8 −
1
+ 15
1
5
= 0
∴ =
3
8
ขอบบนจะเคลื่อนที่ดวยความเร็ว
3
8
เมตรตอวินาที .
41 แผนไมกระดานแผนหนึ่งยาว 20 เมตรตั้งพิงไวกับผนัง
และพบวาขอบกระดานดานลางจะเลื่อนไถลออกจากผนังดวย
ความเร็ว25 ซม. ตอวินาที จงหาความเร็วในการเคลื่อนที่ลง
ของขอบบนของแผนไม ณ จุดที่สูงกวาพื้น 10 เมตร
S2
S1
17
17-S1
D
C
B
A

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพnarongsakday
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูลวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูลCoco Tan
 
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ยApirak Potpipit
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันSiratcha Wongkom
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์Marinshy Marin
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว sawed kodnara
 
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 2 3)
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 2 3)แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 2 3)
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 2 3)ประพันธ์ เวารัมย์
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่Sopa
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรงไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรง
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูลวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
 
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
7กระต่าย
7กระต่าย 7กระต่าย
7กระต่าย
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียนแผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
 
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 2 3)
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 2 3)แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 2 3)
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 2 3)
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
 
การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลการประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
 

Similar to Cal 2

เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558Tonson Lalitkanjanakul
 
เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50Chawasanan Yisu
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1Unity' Aing
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมภัชรณันติ์ ศรีประเสริฐ
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมภัชรณันติ์ ศรีประเสริฐ
 
วิทยาศาสตร์อุต
วิทยาศาสตร์อุตวิทยาศาสตร์อุต
วิทยาศาสตร์อุตSupa Kommee
 
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blogชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blogSutthi Kunwatananon
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557Tonson Lalitkanjanakul
 

Similar to Cal 2 (20)

Cal 3
Cal 3Cal 3
Cal 3
 
Cal 1
Cal 1Cal 1
Cal 1
 
Cal 7
Cal 7Cal 7
Cal 7
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
 
เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50
 
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
 
Cal 5
Cal 5Cal 5
Cal 5
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
 
60 real
60 real60 real
60 real
 
Cal 8
Cal 8Cal 8
Cal 8
 
60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
วิทยาศาสตร์อุต
วิทยาศาสตร์อุตวิทยาศาสตร์อุต
วิทยาศาสตร์อุต
 
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blogชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
 
Ctms15912
Ctms15912Ctms15912
Ctms15912
 
60 matrix-021060
60 matrix-02106060 matrix-021060
60 matrix-021060
 
60 matrix-081060
60 matrix-08106060 matrix-081060
60 matrix-081060
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
 
59 matrix-101059
59 matrix-10105959 matrix-101059
59 matrix-101059
 

More from Sutthi Kunwatananon (20)

59 matrix-171059
59 matrix-17105959 matrix-171059
59 matrix-171059
 
Pat1 59-03+key.
Pat1 59-03+key.Pat1 59-03+key.
Pat1 59-03+key.
 
Pat1 58-10+key
Pat1 58-10+keyPat1 58-10+key
Pat1 58-10+key
 
Pat1 58-03+key
Pat1 58-03+keyPat1 58-03+key
Pat1 58-03+key
 
Pat1 57-11+key
Pat1 57-11+keyPat1 57-11+key
Pat1 57-11+key
 
Pat1 57-04+key
Pat1 57-04+keyPat1 57-04+key
Pat1 57-04+key
 
Pat1 57-03+key
Pat1 57-03+keyPat1 57-03+key
Pat1 57-03+key
 
Pat1 56-03+key
Pat1 56-03+keyPat1 56-03+key
Pat1 56-03+key
 
Pat1 55-10+key
Pat1 55-10+keyPat1 55-10+key
Pat1 55-10+key
 
Pat1 55-03+key
Pat1 55-03+keyPat1 55-03+key
Pat1 55-03+key
 
Pat1 54-10+key
Pat1 54-10+keyPat1 54-10+key
Pat1 54-10+key
 
Pat1 54-03+key
Pat1 54-03+keyPat1 54-03+key
Pat1 54-03+key
 
Pat1 53-10+key
Pat1 53-10+keyPat1 53-10+key
Pat1 53-10+key
 
Pat1 53-03+key
Pat1 53-03+keyPat1 53-03+key
Pat1 53-03+key
 
Pat1 52-10+key
Pat1 52-10+keyPat1 52-10+key
Pat1 52-10+key
 
Pat1 52-07+key
Pat1 52-07+keyPat1 52-07+key
Pat1 52-07+key
 
Pat1 52-03+key
Pat1 52-03+keyPat1 52-03+key
Pat1 52-03+key
 
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
 
สรุป matrices
สรุป matricesสรุป matrices
สรุป matrices
 
รวมข้อสอบ Pat1 stat-52-59+key
รวมข้อสอบ Pat1 stat-52-59+keyรวมข้อสอบ Pat1 stat-52-59+key
รวมข้อสอบ Pat1 stat-52-59+key
 

Cal 2

  • 1. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 14 การหาคาสูงสุด ต่ําสุด สัมพัทธ นิยาม ถา = ( ) และ ′ ( 2) = 0 , ′ ( 3) = 0 แลวเรียกคา , วา คาวิกฤต และเรียก จุด , ( ) , , ( ) วา จุดวิกฤต นิยาม ให = ( ) มี ′ ( 2) = 0 แลวจุด ( , )เปนจุดวิกฤต ถา ( ) < 0 แลวเรียกจุด ( , ) วา จุดสูงสุดสัมพัทธ ถา ′′ ( 3) > 0 แลวเรียกจุด 3, 3 วา จุดต่ําสุดสัมพัทธ ถา ( 1) < ( 2) เรียกจุด 1, 1 วา จุดต่ําสุดสัมพัทธ ถา ′′ ( 1) < 0 แลวเรียกจุด 1, 1 วา จุดสูงสุดสัมพัทธ 21 จงหาคาวิกฤต จุดสูงสุดและจุดต่ําสุดของฟงกชั่น = ( ) = 2 − 3 − 36 + 40 วิธีทํา จาก = 2 3 − 3 2 − 36 + 40 ∴ = 6 − 6 − 36 และ = 12 − 6 ที่จุดวกกลับจะมี ′ ( ) = 0 หรือ ′ = 0 ∴ 6 − 6 − 36 = 0 ∴ − − 6 = 0 ∴ ( − 3)( + 2) = 0 ∴ = −2 , 3 ∴ คาวิกฤตคือ = −2 , 3 . ถา = −2 , = 2(−2) − 3(−2) − 36(−2) + 40 = 84 ถา = 3 , = 2(3) − 3(3) − 36(3) + 40 = −41 ∴ จุดวิกฤตคือ จุด (−2,84), (3, −41) ∴ ที่จุดวิกฤต (−2,84) มี = 12(−2) − 6 = −30 ∴ ที่จุดวิกฤต (−2,84) เปนจุดสูงสุดสัมพัทธ เพราะมี < 0 . ∴ ที่จุดวิกฤต (3,−41) มี = 12(3) − 6 = 30 ∴ ที่จุดวิกฤต (3,−41) เปนจุดต่ําสุดสัมพัทธ เพราะมี > 0 . 21. จงหาคาวิกฤติ จุดสูงสุดและจุดต่ําสุดของฟงกชั่น = ( ) = − 6 + 9 − 3 y'=0 y'=0 x4x3x2x1 ค่าวิกฤต ค่าวิกฤต จุดวิกฤต จุดวิกฤต จุดตํ าสุดส ัมพ ั ทธ์ จุดสูงสุดส ั มพ ั ทธ์ จุดสูงสุดส ัมบูรณ์ จุดตํ าสุดส ัมบูรณ์
  • 2. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 15 22 ถา = ( ) = + 3 − 9 + 7 จงหาคา ที่ทําใหเกิดฟงกชั่นลด วิธีทํา จาก = 3 + 3 2 − 9 + 7 ∴ = ( + 3 − 9 + 7) ∴ = 3 + 6 − 9 ( )จะเปนฟงกชั่นลดก็ตอเมื่อมี ( ) < 0 หรือ < 0 ∴ < 0 แสดงวา 3 + 6 − 9 < 0 ∴ + 2 − 3 < 0 ∴ ( − 1)( + 3) < 0 ∴ −3 < < 1 ( )จะเปนฟงกชั่นลดก็ตอเมื่อมี − 3 < < 1 . 23 ถา = ( ) = 2 − 9 − 60 + 1 จงหาคา ที่ทําใหเกิดฟงกชั่นเพิ่ม วิธีทํา จาก = 2 3 − 9 2 − 60 + 1 ∴ = (2 − 9 − 60 + 1) ∴ = 6 − 18 − 60 ( )จะเปนฟงกชั่นเพิ่มก็ตอเมื่อมี ( ) > 0 หรือ > 0 ∴ > 0 แสดงวา 6 − 18 − 60 > 0 ∴ + 3 − 10 > 0 ∴ ( + 5)( − 2) > 0 ∴ < −5 ⋁ > 2 ( )จะเปนฟงกชั่นเพิ่มก็ตอเมื่อมี < −5 ⋁ > 2 . 22. ถา = ( ) = 2 + 5 − 4 + 2 จงหาคา ที่ทําใหเกิดฟงกชั่นลด 23. ถา = ( ) = 2 + 3 − 72 + 1 จงหาคา ที่ทําใหเกิดฟงกชั่นเพิ่ม
  • 3. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 16 24 กําหนดให วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวเสนตรงดวยสมการ = − 9 + 24 + 10 โดย ระยะทางมีหนวยเปน เมตร และ เวลามีหนวยเปน นาที จงหา (1) จุดเริ่มตนอยูหางจากจุดเริ่มวัดกี่เมตร (2) ขณะนาทีที่เทาไรวัตถุเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ และวัตถุอยูหางจากจุดเริ่มตนเทาไร (3) ขณะวัตถุเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่มีความเรงเทาไร (4) ขณะที่วัตถุมีความเรง 18 เมตรตอ(นาที) วัตถุจะมีความเร็วเทาไร (5) ขณะอยูหางนาทีที่ 7 วัตถุจากจุดเริ่มตนกี่เมตร (6) ภายใน 7 นาทีแรกนี้วัตถุเคลื่อนที่ไดทางทั้งหมดกี่เมตร วีธีทํา จาก = 3 − 9 2 + 24 + 10 (1) ถา = 0 แลว = 10 แสดงวา จุดเริ่มตนอยูหางจากจุดเริ่มวัด 10 เมตร . (2) ขณะที่วัตถุเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ จะมี = 0 จาก = 3 − 9 2 + 24 + 10 ∵ = 3 − 18 + 24 = 0 ∴ 3 − 18 + 24 = 0 − 6 + 8 = 0 ∴ ( − 4)( − 2) = 0 ∴ = 2 , 4 วัตถุเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ขณะนาทีที่2 และนาทีที่ 4 . = 2 จะมี = 2 − 9(2) + 24(2) + 10 = 30 เมตร จะอยูหางจากจุดเริ่มตน = 30 − 10 = 20 เมตร . = 4 จะมี = 4 − 9(4) + 24(4) + 10 = 26 เมตร จะอยูหางจากจุดเริ่มตน = 26 − 10 = 6 เมตร . (3) ขณะวัตถุเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่มีความเรงดังนี้ ∵ = 3 − 18 + 24 ∴ = 6 − 18 = 2 จะมี = 6(2) − 18 = −6 เมตร ตอ (นาที) . = 4 จะมี = 6(4) − 18 = 6 เมตร ตอ(นาที) . (4) ขณะที่วัตถุมีความเรง 18 เมตร / (นาที)2 ∵ = 6 − 18 ∴ 18 = 6 − 18 ∴ = 6 จาก = 3 − 18 + 24 ถา = 6 จะไดวา = 3(6)2 − 18(6) + 24 = 24 เมตร ตอ นาที . (5) ขณะนาทีที่ 7 วัตถุอยูหางจากจุดเริ่มตนกี่เมตร จาก = − 9 + 24 + 10 จุดเริ่มตน = 0, ∴ = 10 = 7 , = 7 − 9(7) + 24(7) + 10 = 80 ดังนั้นขณะนาทีที่ 7 วัตถุอยูหางจากจุดเริ่มตน = 80 − 10 = 70 เมตร . (6) ภายใน 7 นาทีแรกนี้วัตถุเคลื่อนที่ไดทางทั้งหมดกี่เมตร จุดเริ่มตน = 0, = 10 จุดเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ครั้งแรกที่ นาทีที่ 2 = 2 , = 2 − 9(2) + 24(2) + 10 = 30 จุดเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ครั้งที่ 2 ที่นาทีที่ 4 = 4 , = 4 − 9(4) + 24(4) + 10 = 26 จุดสุดทาย = 7 , ∴ = 7 − 9(7) + 24(7) + 10 = 80 ในเวลา 7 นาที วัตถุจะเคลื่อนไดทางทั้งหมดเทากับ = (30 − 10) + (30 − 26) + (80 − 26) = 78 . t=7,s=80 จุดวกกล ับคร ั งที 2 t=4,s=26,v=0 จุดวกกลับครั งที 1 t=2,s=30,v=0t=0,s=10 5426 426 2010 DC C B BA จุดเริมต้น จุดเริมวัด
  • 4. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 17 24. ให วัตถุเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงดวยสมการ = 2 − 21 + 60 + 4 โดย ระยะทางมีหนวยเปน เมตร และ เวลามีหนวยเปน นาที จงหา (1) จุดเริ่มตนอยูหางจากจุดเริ่มวัดกี่เมตร (2) ขณะนาทีที่เทาไรวัตถุเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ และวัตถุอยูหางจากจุดเริ่มตนเทาไร (3)ขณะวัตถุเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่มีความเรงเทาไร (4)ขณะที่วัตถุมีความเรง 6 เมตรตอ(นาที) จะมีความเร็วเทาไร (5) ขณะอยูหางนาทีที่ 6 วัตถุจากจุดเริ่มตนกี่เมตร (6) ภายใน 6 นาทีแรกนี้วัตถุเคลื่อนที่ไดทางทั้งหมดกี่เมตร
  • 5. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 18 25 กําหนดให วัตถุเคลื่อนที่ดวยสมการ = 4 − 3 + 4 เมตร จงหา (1) ความเร็วเฉลี่ยในชวงนาทีที่ 3 ถึง นาทีที่5 (2) ความเร็วขณะนาทีที่ 10 (3) ความเรงเฉลี่ยในชวงนาทีที่ 2 ถึงนาทีที่ 4 (4) ความเรงขณะนาทีที่ 3 (5) ภายในเวลา 2 นาที วัตถุจะเคลื่อนที่ไดทางเทาไร วิธีทํา จาก = 4 3 − 3 + 4 เมตร ∵ = = ( 4 − 3 + 4 ) = 12 − 3 ∵ = = ( 12 − 3 ) = 24 (1) ความเร็วเฉลี่ยในชวงนาทีที่ 3 ถึง นาทีที่5 จาก = 4 − 3 + 4 เมื่อ = 3 จะมี = 4(3) − 3(3) + 4 = 103 เมื่อ = 5 จะมี = 4(5) − 3(5) + 4 = 489 ∴ ∆ ∆ = = = 193 เมตร/นาที . (2) ความเร็วขณะนาทีที่ 10 ∵ = 12 − 3 เมื่อ = 10 , 10 = 12(10)2 − 3 = 1197 เมตร/นาที . (3) ความเรงเฉลี่ยในชวงนาทีที่ 2 ถึงนาทีที่ 4 ∵ = 12 − 3 เมื่อ = 2 จะมี = 12(2) − 3 = 45 เมื่อ = 4 จะมี = 12(4) − 3 = 189 ∴ ∆ ∆ = − 4 − 2 = 189 − 45 2 = 72 เมตร/(นาที) . (4) ความเรงขณะนาทีที่ 3 จาก = 24 เมื่อ = 3 จะมี 3 = 24(3) = 72 เมตร/(นาที)2 . (5) ภายในเวลา 2 นาที วัตถุจะเคลื่อนที่ไดทางเทาไร จาก = 12 − 3 มีจุดวกกลับ ณ จุด = 0 ถา = 0 ∴ 12 − 3 = 0 ∴ = ± 1 2 จาก = 4 − 3 + 4 เมื่อ = 0 จะมี = 4(0) − 3(0) + 4 = 4 เมื่อ = 1 2 จะมี = 4( 1 2 ) − 3( 1 2 ) + 4 = 3 เมื่อ = 2 จะมี = 4(2) − 3(2) + 4 = 30 วัตถุจะเคลื่อนที่จาก = 0 ถึง = 1 2 ไดทาง |3 − 4| = 1 วัตถุจะเคลื่อนที่จาก = 1 2 ถึง = 2ไดทาง |30 − 3| = 27 วัตถุจะเคลื่อนที่จาก = 0 ถึง = 2 ∴ ไดทาง = 1 + 27 = 28 เมตร . 25. ให วัตถุเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงดวยสมการ = − 12 + 45 + 5 จงหา (1) ความเร็วเฉลี่ยในชวงนาทีที่ 2 ถึง นาทีที่6 (2) ความเร็วขณะนาทีที่ 4 (3) ความเรงเฉลี่ยในชวงนาทีที่ 1 ถึงนาทีที่ 3 (4) ความเรงขณะนาทีที่ 4 (5) ภายในเวลา 6 นาที วัตถุจะเคลื่อนที่ไดทางเทาไร
  • 6. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 19 26 พอคาน้ําตาลซื้อน้ําตาลมากิโลกรัมละ 10 บาท แลวขายไป กิโลกรัมละ 16 บาท ใน 1 เดือนเขาจะขายได 500 กิโลกรัม ถาเขาเพิ่มราคาขายอีกกิโลกรัมละ บาทเขาจะขายไดลดลง เดือนละ 20 กิโลกรัม ในเวลา 1 เดือน เขาควรตั้งราคาไวเทาไรจึงจะไดกําไรมากที่สุด ไดกําไรมากสุดกี่บาท และจะไดกําไรมากกวาปกติเทาไร วิธีทํา ให เปนกําไร = (กําไร ใน 1 ก. ก. )(จํานวน ก. ก. ที่ขาย) ปกติ จะไดกําไร = (16 − 10)(500) = 3000 บาท ราคาใหม จะไดกําไร = (16 + − 10)(500 − 20 ) ดังนั้น = (6 + )(500 − 20 ) = 3000 + 380 − 20 ∴ = 380 − 40 และ มีคามากสุดเมื่อ = 0 เมื่อ ′ = 0 ∴ 380 − 40 = 0 ∴ = 9.50 เขาควรตั้งราคาไวกิโลกรัมละ 16 + 9.50 = 25.50 บาท . ไดกําไรมากสุด = (6 + 9.50)[500 − 20(9.5)] ∴ เขาจะไดกําไร มากสุด = 4805 บาท . ไดกําไรมากกวาปกติ = 4805 − 3000 = 1805 บาท . 27 รานขายไอศกรีมแหงหนึ่ง ปกติมี 100 ที่นั่งมีกําไรสัปดาหละ 80 บาทตอที่นั่ง ถาจัดที่นั่งเกิน 100 ที่นั่งตองเสียคาใชจายเพิ่มขึ้น ทําใหกําไรลดลง 40 สตางคคูณดวยจํานวนที่นั่งที่เกิน 100 ที่นั่ง เจาของรานจะตองเพิ่มที่นั่งอีกกี่ที่นั่งจึงจะทํากําไรไดมากสุด จะไดกําไรมากสุดเทาไรและ กําไรจะเพิ่มขึ้นจากปกติเทาไร วิธีทํา ให เปนกําไร เปนจํานวนที่เพิ่มขึ้นจากเดิม 100 ที่นั่ง ∴ = (100 + )(80 − 0.4 ) = 8000 + 40 − 0.4 ∴ = 40 − 0.8 กําไรมากสุดเมื่อ = 0 ถา = 0 ∴ 40 − 0.8 = 0 ได = 50 . ปกติจะกําไร = (100)(80) = 8000 บาท ตอสัปดาห จัดใหมจะกําไรมากสุดคือ = (100 + 50)[80 − 0.4(50)] จัดใหมจะกําไรมากสุดคือ = 9000 บาทตอสัปดาห . กําไรเพิ่มขึ้น = 9000 − 8000 = 1000 บาทตอสัปดาห . 26. พอคาซื้อผลไมมากิโลกรัมละ 60 บาท แลวขายไปกิโลกรัมละ 90 บาท ใน 1 เดือนเขาจะขายได 800 กิโลกรัม ถาเขาเพิ่มราคาขายอีกกิโลกรัมละ บาท จะขายของไดลดลง เดือนละ 10 กิโลกรัม เขาควรตั้งราคาไวเทาไรจึงจะไดกําไรมากที่สุด ไดกําไรมากสุดกี่บาทและจะไดกําไรมากกวาปกติเทาไร 27. บริษัทคาขาว ดาวเรือง ปกติจะขายขาวได 400 ตันตอเดือน มีกําไร 5000 บาทตอตันแตถาขายเกิน 400 ตันตอเดือน กําไรจะลดลง 10 คูณจํานวนตันที่เกิน 400 ตัน เพราะจะมี คาใชจายที่เพิ่มขึ้นมาก เจาของบริษัทจะตองขายขาวกี่ตัน ถึงจะมีกําไรมากสุดและกําไรเทาไร
  • 7. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 20 28 บริษัทนําเที่ยว ทราบวาถาเก็บคาบริการคนละ 400 บาท รถที่นั่ง 30 ที่จะเต็มพอดี แตถาเก็บเพิ่มชึ้นทุก 5 บาท ที่นั่งจะวางเพิ่มขึ้น 1 ที่ ถาคาใชจายในการนําเที่ยว เทากับ 1500 บาท บวก 300 คูณจํานวนคน จงหาวาเขาควรเก็บคาบริการคนละเทาไร จึงจะไดกําไรมากสุด และจะไดกําไรมากที่สุดเทาไร วิธีทํา สมมุติวาเขาเพิ่มเงินคาเดินทางคนละ 5 บาท ที่นั่งจะขายได 30 − ที่นั่ง และ ให เปนกําไร ∴ = เงินที่ขายไดทั้งหมด − เงินทุนทั้งหมด เงินที่ขายไดทั้งหมด = (จํานวนคน)(ราคาคาบริการใหมตอคน) = (400 + 5 )(30 − ) เงินทุนทั้งหมด = 1500 + 300(จํานวนคนที่จะขายไดทั้งหมด) = 1500 + 300(30 − ) ∴ = (400 + 5 )(30 − ) − [1500 + 300(30 − )] ∴ = (12000 − 250 − 5 ) − [1500 + 9000 − 300 ] ∴ = (500 + 50 − 5 ) ∴ = 50 − 10 ∴ มากสุดเมื่อ = 0 ∴ 50 − 10 = 0 ∴ = 5 เขาจะเก็บคาบริการคนละ 400 + 5(5) = 425 บาท . กําไรมากสุด = (425)(30 − 5) − [1500 + 300(30 − 5)] กําไรมากสุด = (10625) − [9000] = 1625 บาท . 28. บริษัทนําเที่ยวตางประเทศทราบวาถาเก็บคาบริการคนละ 2000 บาท จะขายตั๋วได 50 คน แตถาเก็บเพิ่มชึ้นทุก 400 บาท ที่นั่งจะวางเพิ่มขึ้น 3 ที่ คาใชจายในการนําเที่ยว มีดังนี้ คาจางไกด 2 คนๆละ 2000 บาท คารถโดยสาร 7500 บาท คาอาหารและที่พัก 800 บาทตอคน คาเขาชมสถานที่ทองเที่ยว คนละ 100 บาทตอคน จงหาวาเขาควรเก็บคาบริการคนละเทาไร จึงจะไดกําไรมากสุดเทาไร (คาใชจายใหรวมถึงไกดดวย)
  • 8. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 21 29 เราสามารถตัดมุมกระดาษสี่เหลี่ยมจตุรัสออกเปนรูปสี่เหลี่ยม จตุรัสแลวพับเปนกลองที่ไมมีฝาปดที่มีปริมาตรมากที่สุดเทาไร และกลองนี้มีความสูงเทาไร วิธีทํา สมมุติให แผนกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ หนวย และตัดที่มุมกระดาษเปนสี่เหลี่ยมจตุรัสดานละ หนวย ให เปนปริมาตรของกลอง ∴ = ( − 2 )( − 2 ) ∴ = ( − 4 + 4 ) = − 4 + 4 ∴ = − 8 + 12 มากสุดเมื่อ = 0 ∴ 0 = − 8 + 12 ∴ ( − 6 )( − 2 ) = 0 ∴ = 2 , 6 ∴ = 6 เนื่องจาก = 2 ตัดแลวสรางกลองไมได จาก = 2 − 4 2 + 4 3 ∴ = 2 6 − 4 6 2 + 4 6 3 = 2 27 3 . กลองนี้มีความสูง = 6 . 29.1 เราสามารถตัดมุมกระดาษสี่เหลี่ยมจตุรัส ซึ่งยาวดานละ 60 นิ้ว ออกเปนรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสแลวพับเปนกลองที่ไมมีฝาปดที่มีปริมาตร มากที่สุดเทาไร และกลองนี้มีความสูงเทาไร 29.2 เราสามารถตัดมุมกระดาษสี่เหลี่ยมจตุรัส ซึ่งยาวดานละ 18 นิ้ว ออกเปนรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสแลวพับเปนกลองที่ไมมีฝาปดที่มีปริมาตร มากที่สุดเทาไร และกลองนี้มีความสูงเทาไร 29.3 เราสามารถตัดมุมกระดาษสี่เหลี่ยมจตุรัส ซึ่งยาวดานละ 24 นิ้ว ออกเปนรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสแลวพับเปนกลองที่ไมมีฝาปดที่มีปริมาตร มากที่สุดเทาไร และกลองนี้มีความสูงเทาไร 29. 4 เราสามารถตัดมุมกระดาษสี่เหลี่ยมจตุรัส ซึ่งยาวดานละ 42 นิ้ว ออกเปนรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสแลวพับเปนกลองที่ไมมีฝาปดที่มีปริมาตร มากที่สุดเทาไร และกลองนี้มีความสูงเทาไร (a-2x) (a-2x) a a x xx x x x x x
  • 9. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 22 30 ชาวนาตองการลอมรั้วเปนคอกรูปสี่เหลี่ยมผืนผา 2 คอก ติดกัน โดยดานหนึ่งเปนแมน้ํา ไมตองทํารั้ว ถาเขามีไมที่ใชทํารั้ว ยาว 600 เมตร เขาจะสามารถกั้นรั้วไดพื้นที่มากสุดเทาไร วิธีทํา สมมุติให กั้นรั้วกวาง เมตร ยาว เมตร ให เปนพื้นที่ของคอกทั้งหมด = ตารางเมตร ไมทั้งหมดยาวรวมกัน = 600 เมตร ∴ + 3 = 600 ∴ = 600 − 3 ∴ = = (600 − 3 ) = 600 − 3 ∴ = 600 − 6 มีคามากสุดเมื่อ = 0 ∴ 600 − 6 = 0 = 0 ∴ 600 − 6 = 0 ∴ = 100 จาก = 600 − 3 , = 100 ∴ = 300 ∴ มากสุด = (100)(300) = 30000 ตารางเมตร . 30. ชายคนหนึ่งตองการลอมรั้วเปนคอกรูปสี่เหลี่ยมผืนผา คอก ติดกัน โดยดานหนึ่งเปนแมน้ํา(ไมตองทํารั้ว) ถาเขามีไมที่ใชทํารั้วยาว เมตร เขาจะสามารถกั้นรั้วไดพื้นที่มากสุดเทาไร แม่นํ า xx y x
  • 10. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 23 31 จงหาสวนสูง รัศมี และปริมาตร ของฐานรูปทรงกระบอก ที่มีปริมาตรมากที่สุด ที่บรรจุอยูในกรวยกลมที่มีรัศมีของฐานยาว 6 นิ้ว สูง 12 นิ้ว วิธีทํา ให เปนปริมาตรของทรงกระบอก ℎ เปนความสูงของทรงกระบอก เปนรัศมีของทรงกระบอก จาก = 2 ℎ จากรูป ∆ ≅ ∆ ∴ = ∴ 6 12 = 6 − ℎ ∴ ℎ = 12 − 2 ∵ = ℎ = (12 − 2 ) = (12 − 2 ) ∴ = (24 − 6 ) มากที่สุดเมื่อ = 0 ∴ 0 = (24 − 6 ) ∴ = 4 ∴ ℎ = 12 − 2 = 12 − 2(4) = 4 ∴ = (16)(4) = 64 . 31. จงหาสวนสูง รัศมี และปริมาตรของฐานรูปทรงกระบอกที่มีปริมาตร มากที่สุดที่บรรจุอยูในกรวยกลมที่มีรัศมีของฐานยาว นิ้ว สูง ℎ นิ้ว r h 12 H G F 6 E D C BA
  • 11. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 24 32 สามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีสูง 10 นิ้ว ฐานยาว 30 นิ้วจงหาวา สี่เหลี่ยมผืนผาที่มีพื้นที่มากสุดที่สามารถบรรจุอยูในสามเหลี่ยมได โดยมีดานหนึ่งของสี่เหลี่ยมตั้งอยูบนฐานของสามเหลี่ยม มีพื้นที่เทาไร วิธีทํา ใหสี่เหลี่ยมสูง นิ้ว ยาว นิ้ว และให เปนพื้นที่ของสี่เหลี่ยม ∴ = จากรูปสามเหลี่ยม 2 รูปคลายกันคือ ∆ ≅ ∆ ∴ = ∴ 10 = 30 30 − ∴ = 1 3 (30 − ) จาก = = 1 3 (30 − ) = 10 − 1 3 2 ∴ = 10 − มีคามากสุดเมื่อ = 0 จะได 10 − 2 3 = 0 ∴ = 15 เมื่อ = 15 แลวหาคา = 1 3 (30 − 15) = 5 ∴ มากสุด = = 15(5) = 75 ตารางนิ้ว . 32. สามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีสูง ℎ นิ้ว ฐานยาว นิ้ว จงหาวา สี่เหลี่ยมผืนผาที่มีพื้นที่มากสุดที่สามารถบรรจุอยูในสามเหลี่ยมได ดยมีดานหนึ่งของสี่เหลี่ยมตั้งอยูบนฐานของสามเหลี่ยม มีพื้นที่เทาไร y x 30 10 F E D C BA
  • 12. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 25 33 จงหาพื้นที่ที่มากที่สุดของสี่เหลี่ยมผืนผาที่แนบใน สามเหลี่ยมที่ดานทั้งสามอยูบนแกน แกน และ เสนตรง 3 + 4 = 24 วิธีทํา ให เปนพื้นที่ของสี่เหลี่ยมที่แนบในสามเหลี่ยม มีความยาวฐาน หนวย มีความสูง หนวย ∴ = แต 4 + 3 = 24 ∴ = 1 3 (24 − 4 ) ∴ = 1 3 (24 − 4 ) ∴ = 8 − 4 3 ∴ = 8 − 8 3 ถา = 0 แลวหาคา = 3 ∴ = 3 หาคาได = 1 3 (24 − 12) = 4 ∴ มีคามากสุด = (3)(4) = 12 ตรน. . 33. จงหาพื้นที่ที่มากที่สุดของสี่เหลี่ยมผืนผาที่แนบในสามเหลี่ยม ที่ดานทั้งสามอยูบนแกน แกน และเสนตรง + = C BA D(x,y) 3y+4x=24 y x
  • 13. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 26 34 สี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีฐานอยูบนแกน และจุดยอด 2 จุด อยูบนกราฟ = 4 2 − 3 จะมีพื้นที่มากสุดกี่ตารางหนวย วิธีทํา ให เปนพื้นที่ของสี่เหลี่ยมที่ตองการ มีความยาว 2 หนวย กวาง หนวย ดังนั้น = 2 แต = 4 2 − 3 ดังนั้น = 2 (4 2 − 3) ∴ = 8 − 6 ∴ = 24 − 6 พื้นที่จะมากสุดเมื่อ ′ = 0 ∴ 24 − 6 = 0 ∴ = ± 1 2 ดังนั้น มากสุด = 6 − 8 3 = 6 − 8 = 2 . 34. สี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีฐานอยูบนแกน และจุดยอด 2 จุดอยูบน กราฟ = 2 − จะมีพื้นที่มากสุดกี่ตารางหนวย 1 -1 -2 -3 -2 2 (x,-y) -y x y=4x2-3
  • 14. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 27 35 จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงรี + = 1 วิธีทํา ให เปนพื้นที่สี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลม ∴ = 4 โดยที่ ( , ) เปนจุดบนวงรี จาก 2 2 + 2 2 = 1 ∴ = ( 2 − 2 ) 1 2 ∴ = 4 ( − ) ∴ = 4 ( − ) + ( − ) = 4 1 2 ( − ) (−2 ) + ( − ) ∴ = 4 − ( − ) + ( − ) ถา ′ = 0 ∴ 4 − ( − ) + ( − ) = 0 ∴ − ( − ) + ( − ) = 0 ∴ ( − ) = ( − ) ( − ) = ∴ = √2 ∴ = 4 √2 − 2 = 4 √2 √2 = 2 . 35 .1.จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงรี 25 + 9 = 1 35 .2.จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงรี 25 + 9 = 1 35 .3.จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงรี 4 + 9 = 1 35.4.จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงรี 100 + 25 = 1 x2 a2 + y2 b2 =1 (x,y) y x
  • 15. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 28 36 จงพิสูจนวา พื้นที่สี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลม + = มีพื้นที่มากสุดเทากับ 2 วิธีทํา ให = 4 โดยที่ ( , ) เปนบนวงกลม ∴ = 4 ( − ) ∴ = 4 ( − ) ∴ = 4 ( − ) + ( − ) ∴ = 4 1 2 ( − ) (−2 ) + ( − ) ∴ = 4 − ( − ) + ( − ) ถา ′ = 0 ∴ 4 − 2 ( 2 − 2) 1 2 + ( 2 − 2 ) 1 2 = 0 ∴ ( − ) = ( − ) ( − ) = ∴ = √2 ∴ = 4 ( − ) = 4 √2 − 2 = 4 √2 2 มากสุด = 4 √2 √2 = 2 . 36.1. จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงกลม + = 25 36.2. จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงกลม + = 16 36.3. จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงกลม + = 5 36.4. จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากสุดที่แนบในวงกลม + = 7 x2+y2=r2 (x,y) y x r
  • 16. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 29 37 จงหาปริมาตรของทรงกระบอกที่มีปริมาตรมากสุดที่ สามารถบรรจุลงในกรวยกลมได วิธีทํา ให , เปนปริมาตรของทรงกระบอกและกรวยกลม ให , ℎ เปนความสูงของทรงกระบอกและกรวยกลม ให , เปนรัศมีของทรงกระบอกและกรวยกลม จาก ∆ ≅ ∆ ∴ = ∴ ℎ = − ∴ = ℎ ( − ) จาก = 2 ∴ = 2 ℎ ( − ) ∴ = ℎ − ℎ ∴ = 2 ℎ − 3 ℎ ∵ มากสุดเมื่อ = 0 ∴ 2 ℎ − 3 ℎ = 0 ∴ 3 ℎ = 2 ℎ ∴ = 2 3 จาก = ℎ ( − ) ∴ = ℎ − 2 3 = ℎ 3 ∴ ทรงกระบอกจะมีปริมาตรมากสุดที่สามารถบรรจุใน กรวยกลมไดเมื่อ มีรัศมี = 2 3 ของรัศมีกรวยกลม . มีความสูง = 1 3 ของความสูงของกรวยกลม . ∴ ปริมาตรทรงกระบอก = 2 3 1 6 ℎ = 4 9 1 6 ℎ = 2 9 1 3 ℎ ∴ ปริมาตรทรงกระบอก = 2 9 (ปริมาตรกรวยกลม) . 37.1. จงหาความสูง รัศมี ปริมาตรของทรงกระบอกที่มีปริมาตร มากสุดที่สามารถบรรจุลงในกรวยกลมที่มีรัศมี 15 นิ้วและ มีความสูงเทากับ 21นิ้ว (แสดงวิธีทํา) 37.2. จงหาความสูง รัศมี ปริมาตรของทรงกระบอกที่มีปริมาตร มากสุดที่สามารถบรรจุลงในกรวยกลมที่มีรัศมี 21 นิ้วและ มีความสูงเทากับ 27นิ้ว 37.3. จงหาความสูง รัศมี ปริมาตรของทรงกระบอกที่มีปริมาตร มากสุดที่สามารถบรรจุลงในกรวยกลมที่มีรัศมี 9 นิ้วและ มีความสูงเทากับ 14 นิ้ว F r x h y ED CB A
  • 17. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 30 38 ลูกบอลลูนถูกเติมกาซในขณะที่มีรัศมี 2 ฟุต จนทําใหรัศมีเพิ่มขึ้นดวยอัตารเร็ว 1 6 ฟุตตอวินาที จงหาวา ในขณะเดียวกันนี้ ปริมาตรของลูกบอลลูนจะ เปลี่ยนแปลงดวยความเร็วเทาไร วิธีทํา จาก = 4 3 3 ∴ = 4 3 3 = 4 แตจากโจทย = 1 6 และ = 2 ∴ = 4 (2) 1 6 = 8 3 ≈ 8.3775 . 39 เครื่องบินโดยสารลําหนึ่ง กําลังบินผานสถานีเรดาและอยูสูง เหนือระดับเรดา 6 ไมล ซึ่งเปลี่ยนแปลงลดลงดวยอัตราเร็ว 400 ไมลตอชั่วโมง ถา เปนระยะหางระหวางเรดากับเครื่องบิน จงหาอัตราเร็วของเครื่องบินตามแนวราบ ขณะ เทากับ 10 ไมล วิธีทํา ให เปนระยะหางจากเรดาถึงจุดในแนวตั้งใตเครื่องบิน จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉากจะไดวา + 6 = ∴ 2 + 0 = 2 จากโจทย = −400 , = 10 , = √100 − 36 = 8 ∴ 2(8) = 2(10)(−400) ∴ = 2(10)(−400) 16 = −500 ไมลตอชั่วโมง . 38. ลูกบอลลูนถูกเติมกาซเขาดวยอัตราเร็ว 4.5 ล.บ. นิ้ว ตอวินาที จงหาอัตราเร็วของการเปลี่ยนแปลงของรัศมี เมื่อรัศมียาว 2นิ้ว 39. เรือโดยสารลําหนึ่ง อยูทางทิศเหนือของประภาคาร หาง9 ไมล ประภาคาร อยูทางทิศตะวันตกของประภารคาร อยูหางจาก เรือโดยสาร ไมล และระยะจะเปลี่ยนแปลงลดลงดวยอัตราเร็ว 300 ไมลตอชั่วโมง จงหาอัตราเร็วของเรือลํานี้ขณะอยูหางจาก ประภาคาร ระยะ 15 ไมล ระด ั บเรดา 6 mi x S=10 mi
  • 18. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 31 40 ชายคนหนึ่งยืนอยูใตเสาไฟฟาซึ่งสูง 6 เมตร ตัวเขาสูง 1.8 เมตร ถาเขาวิ่งออกจากเสาไฟไปทางทิศตะวันออกดวย อัตราเร็วเร็ว 1.5 เมตรตอวินาทีอยากทราบวาจุดปลาย ของเงาของตัวเขาวิ่งดวยอัตราเร็วเทาไร วิธีทํา จากรูป ∆ ≅ ∆ ∴ = ∴ 6 = 1.8 − ∴ 6( − ) = 1.8 ∴ 6 − 1.8 = 6 ∴ 4.2 = 6 ∴ = 6 4.2 ∴ = 1 0.7 จากโจทย 1 = 1.5 เมตรตอวินาที ∴ = 1 0.7 = 1 0.7 (1.5) = 15 7 ≈ 2.14 ≈ เมตรตอวินาที . 40. ชายคนหนึ่งยืนอยูใตเสาไฟฟาซึ่งสูง 10 เมตร ตัวเขาสูง 2 เมตร ถาเขาวิ่งออกจากเสาไฟไปทางทิศตะวันออกดวย อัตราเร็วเร็ว 2 เมตรตอวินาที อยากทราบวาจุดปลาย ของเงาของตัวเขาวิ่งดวยอัตราเร็วเทาไร S1 S2 L K j i H G F D C B A
  • 19. คณิตศาสตร์ ชุด CALCULUS เรียบเรียงโดย….. อ. สุทธิ – อ.อารยา คุณวัฒนานนท์ หน้าที 32 41 แผนไมกระดานแผนหนึ่งยาว 17 เมตรตั้งพิงไวกับผนัง และพบวาขอบกระดานดานลางจะเลื่อนไถลออกจากผนังดวย ความเร็ว 20 ซม. ตอวินาที จงหาความเร็วในการเคลื่อนที่ลง ของขอบบนของแผนไม ณ จุดที่สูงกวาพื้น 8 เมตร วิธีทํา กําหนดรูปการเคลื่อนที่ดังนี้ จาก ∆ มี (17 − 1)2 + 2 2 = 172 ∴ (17 − 1) 2 + 2 2 = 172 ∴ (17 − 1) − 1 + 2 2 = 0 … … … (1) จากโจทย (17 − ) = 8 , = 20 100 = 1 5 เมตรตอวินาที = 17 − 8 = √289 − 64 = √225 = 15 จาก … . (1) จะได 8 − 1 + 15 1 5 = 0 ∴ = 3 8 ขอบบนจะเคลื่อนที่ดวยความเร็ว 3 8 เมตรตอวินาที . 41 แผนไมกระดานแผนหนึ่งยาว 20 เมตรตั้งพิงไวกับผนัง และพบวาขอบกระดานดานลางจะเลื่อนไถลออกจากผนังดวย ความเร็ว25 ซม. ตอวินาที จงหาความเร็วในการเคลื่อนที่ลง ของขอบบนของแผนไม ณ จุดที่สูงกวาพื้น 10 เมตร S2 S1 17 17-S1 D C B A