SlideShare a Scribd company logo
นายเกรียงไกร พละสนธิ นักศึกษาสาขา MICT,KMUTNB.
Qualitative
Research.
วิจัยเชิงคุณภาพ
Tuesday, November 3, 15
การวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research)
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
เป็นการศึกษาสถานการณ์  ปรากฏการณ์ ที่เป็นประเด็น
ปัญหาของสังคม หรือปัญหาของมนุษย์ ที่เกิดขึ้นและดำเนิน
ไปตามธรรมชาติ   ในโลกแห่งความเป็นจริงทุกมิติ โดยมุ่ง
เน้นให้ความสนใจข้อมูลด้านความรู้สึกนึกคิด การให้ความ
หมายหรือคุณค่ากับสิ่งต่าง ๆ ตลอดจนค่านิยม หรือ
อุดมการณ์ของบุคคล
(ลือชัย,2552)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
การวิจัยเชิงคุณภาพ เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่มีลักษณะนามธรรม
ความคิดเห็น ความเข้าใจของคน
การเข้าใจความคิดเห็นเหล่านั้นจะทำให้รู้จักและมี
ความรู้เกี่ยวกับสิ่งเหล่านั้นมากขึ้น
การวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research)
(ลือชัย,2552)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
การวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research)
ในกระบวนการค้นหาต้องคำนึงถึงสถานการณ์ที่กำลังศึกษาให้ครอบคลุมให้
มากที่สุดเพื่อให้ได้ข้อมูลแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
ได้วิธีการในการพัฒนาสิ่งไดสิ่งหนึ่ง
ความโปร่งใสและการครอบคลุมข้อมูลทุกด้านเป็นสิ่งสำคัญ ที่ส่งผลต่อ
คุณภาพของการพัฒนางานจากผลการวิจัยที่ได้
ค้นหา เพื่อ พัฒนา
(ลือชัย,2552)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
การวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นการทำความเข้าใจ
ปรากฏการณ์อย่างลึกซึ้ง รอบด้าน ตามความหมายของ
คนใน ด้วยถือว่า ความหมายของความจริง ไม่มีหนึ่งเดียว
(single/ universal) (ตามทีผู้วิจัยเชื่อ หรือ เรียนรู้มา)
แต่มีหลากหลาย (multiple /local/ context specific)
การวิจัยเชิงคุณภาพ จึงมิใช่การวัด ชี้ถูก ชี้ผิด หรือตัดสิน
ปรากฏการณ์
เข้าใจ มิใช่วัดและตัดสิน
Understanding not measuring
(ลือชัย,2552)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
ฐานคติ (Assumtion)
!  เมื่อมนุษยอยูรวมกันเปนกลุม
นานๆสักระยะหนึ่ง จะเกิด
วัฒนธรรมในการประพฤติปฏิบัติ
และความเชื่อรวมกัน อันเปน
มาตรฐานที่จะตัดสินวาอะไรควร
อะไรไมควร และมาตรฐานอัน
ทำใหบุคคลรูสึกวาสิ่งใดควรทำและ
จะทำอยางไร (Goodenogh.1971)
ฐานคติ
(ลือชัย,2552)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
สิ่งที่เปนประโยชนตอระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพคือA
วิธีการตีความ
หมายการ
วิเคราะห
ขอมูลจากมุม
มองทาง
วัฒนธรรมA
ประโยชน์
(ลือชัย,2552)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
การประยุกตใชในการวิจัยเชิงคุณภาพ8
เนื้อหา8
วิธีการ8
บุคคลนั้นไดประสบการณและตีความ
เกี่ยวกับโลกอยางไร8
เขาไปสังเกตแบบมีสวนรวม : เพื่อเรียนรู
ประสบการณบุคคลอื่นๆ8
การประยุกต์ใช้
(ลือชัย,2552)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
ลักษณะของวิธีการวิจัย
เชิงคุณภาพ
- เพื่อตอบคำถามที่ตั้งขึ้น
- ผลจากการวิจัยควรมีนัยสำคัญ แต่ไม่จำเป็นต้องเกิดซ้ำ
- อธิบายว่าทำไมจึงเกิดเหตุการณ์ขึ้น
- ผู้วิจัยมีส่วนร่วม ไม่ใช่ผู้สังเกตุ
- ผลมักไม่เป็นจำนวน
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
หลักการพื้นฐาน 5 ประการของการวิจัยเชิงคุณภาพ
(Wiersma.W, 2000 ; 198-199)
1.เป็นการศึกษาปรากฏการณ์ในภาพรวม ไม่แยกบางส่วนหรือบางองค์
ประกอบมาทำการศึกษา
2.นักวิจัยต้องเข้าไปอยู่ในสนาม และสังเกตสิ่งที่ศึกษาอย่างเป็นธรรมชาติ
3.การรับรู้ “ความหมาย” ของสิ่งที่เกิดขึ้นหรือเป็นไปอย่างเป็นจริงที่สุดคือ
“การวัด” ที่ต้องการในการวิจัย
4.ข้อตกลงเบื้องต้นใดๆ สามารถล้มล้างหรือเปลี่ยนแปลงได้โดยข้อตกลง
ใหม่หรือข้อสรุปที่ค้นพบใหม่
5.ปรากฏการณ์ ก็คือรูปแบบโครงสร้างหลวมๆ ที่มีความยืดหยุ่นในการ
ทำนาย ไม่เฉพาะตายตัว
!
หลักการพื้นฐาน
(ลือชัย,2552)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
องค์ประกอบของการออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ
(Wiersma.W, 2000 ; 205)
องค์ประกอบ
-เลือกกลุ่มเป้าหมาย
-เลือกพื้นที่
-ระบุช่วงเวลาที่ศึกษา
-ระบุตัวแปรที่เป็นไปได้
-ตั้งปัญหาลางๆ
-คำถามวิจัย
-อ้างอิงทฤษฎีติดดิน
-สัมภาษณ์/บอกเล่า
-สังเกตบันทึกตัวอย่าง
-ทบทวน/วิเคราะห์
เอกสาร
-จัดหมวดหมู่/ ลงรหัสข้อมูล
-จัดโครงสร้างข้อมูลใหม่
-ตรวจสอบสมมุติฐาน ทฤษฎี
-พรรณนา
Working Design
Working Hypothesis
Data Collection
Data Analysis/Interpretation
(ลือชัย,2552)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
คุณลักษณะ 20 ประการของการวิจัยเชิงคุณภาพ
(Marshall, 1995)
คุณลักษณะ 20 ประการ
1.ประเด็นที่ศึกษาต้องเหมาะกับวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ
2.ขจัดความลำเอียงทั้งตัวนักวิจัยและเชิงทฤษฎี
3.ป้องกันการตัดสินคุณค่าข้อมูลขณะรวบรวม/วิเคราะห์
4.มีข้อมูลแสดงความสัมพันธ์ของข้อค้นพบกับความจริง
5.กำหนดคำถามวิจัยไว้ แล้วหาคำตอบ/ตั้งคำถามต่อๆไป
6.เชื่อมโยงการศึกษาครั้งนี้กับครั้งก่อนๆ อย่างชัดเจน
7.เสนอรายงานวิจัยที่สะดวกในการเข้าถึงสิ่งที่วิจัย
(ลือชัย,2552)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
คุณลักษณะ 20 ประการ (ต่อ)
8.ข้อมูลที่นำเสนอมีความครอบคลุมและตรวจสอบอย่างดี
9.ผลวิจัยมีข้อจำกัดในการอ้างอิง แต่สามารถถ่ายโยงได้
10.วิธีการทำงานภาคสนาม และการบันทึกมีความชัดเจน
11.มีการสังเกตอย่างครอบคลุมครบวงจรกิจกรรมที่ศึกษา
12.ข้อมูลที่รวบรวมมา สามารถวิเคราะห์ซ้ำ/ตรวจสอบได้
13.มีการใช้วิธีตรวจสอบคุณภาพข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
14.มีการบันทึกภาคสนามเป็นลายลักษณ์อักษร
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
15.ความจริงถูกล้วงออกมาจากมุมมองที่ข้ามวัฒนธรรม
16.นักวิจัยต้องมีความละเอียดอ่อน และมีจรรยาบรรณ
17.ในบางครั้งผู้เกี่ยวข้องในการวิจัยอาจได้รับประโยชน์
เชิงการเสริมสร้างพลังร่วม
18.กลยุทธ์รวบรวมข้อมูลต้องมีประสิทธิภาพและเข้าถึงกลุ่ม
ผู้ให้ข้อมูล
19.ต้องพยายามสร้าง “ภาพใหญ่” ให้เห็นภาพตลอดแนวทั้งระบบ
20.ต้องพยายามทำความเข้าใจความเป็นมาของบริบทองค์กร
สถาบันว่าเป็นอย่างไร และมีบทบาทอย่างไร
คุณลักษณะ 20 ประการ (ต่อ)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
ระบบคิดของการวิจัยเชิงคุณภาพ
- Paradigm (กระบวนทัศน์)
- Ontology (ณาณวิทยา: ความล้ำลึกของศาสตร์)
- Methodology (วิธีวิทยา)
- Epistemology (ความเป็นองค์ความรู้ที่แท้จริง)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
กระบวนทัศน์ เน้นที่การค้นหาความรู้ที่เป็นความ
จริงจากแหล่งรากเง้าของข้อมูล ที่เป็นแหล่งข้อมูล
ปฐมภูมิ โดยไม่คำนึงว่าวิธีการได้มาของข้อมูลจะมี
อุปสรรค ปัญหา หรือความยาก ง่าย อย่างไร
เพราะต้องการความรู้ ที่เป็นความจริง ที่สำคัญคือ
ต้องไม่ขัด หลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์
ทั้งนี้เพราะความรู้ที่เปิดเผยแล้ว อาจจะไม่ถูกต้อง
ก็ได้ นอกจากนี้ยังมีความรู้อีกมากที่ซ่อนเร้นอยู่
กระบวนทัศน์
(ลือชัย,2552)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
ญาณวิทยา ให้ความสำคัญกับความล้ำลึกของศาสตร์ที่ต้อง
ทำการสืบค้นอย่างละเอียด ไม่เชื่อในปรากฏการณ์ใดๆ หรือ
ข้อมูลที่ได้จากเหตุการณ์ ปรากฏการณ์ใด เรื่องเล่าใด ง่ายๆ
ต้องพิสูจน์ สืบค้นอย่างจริงจัง ตรวจสอบความแนบในของ
เนื้อหาให้ความสำคัญด้านความถูกต้อง แม่นตรง ตลอด
เวลา
ญาณวิทยา
(ลือชัย,2552)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
ความล้ำลึกของศาสตร์ ศาสตร์คือความรู้ จะรู้เรื่องใด
เรื่องหนึ่งต้องรู้จริงแบบเป็นองค์รวม เน้นทำความ
เข้าใจแบบสามร้อยหกสิบองศา
ความล้ำลึกของศาสตร์
(ลือชัย,2552)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
ระเบียบวิธีวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูล เน้นข้อมูลที่เป็นข้อมูลเชิง
เนื้อหา ทุกมิติ ให้ความสำคัญกับรังสรรค์วิทยาในการตีความ
หมาย ในการรวบรวมข้อมูลไม่เน้นการกำหนดกรอบ แต่อาจ
เน้นที่การกำหนดกลุ่มประเด็นเรื่อง แล้วทำการรวบรวม
ข้อมูลทุกมิติที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากหัวใจคือ ให้ความสำคัญกับ
การทำความเข้าใจอย่างเป็นองค์รวมในปรากฏการที่ศึกษา
ระเบียบวิธีวิจัยและ
การวิเคราะห์ข้อมูล
(ลือชัย,2552)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
หลักการในการรวบรวมข้อมูล คือ ให้ความสำคัญยึดอยู่กับ
แนวคิด ปรากฏการณ์วิทยา ให้ความสำคัญกับหลักฐานที่
เป็นความจริงมากกว่าความเห็น วิธีการรวบรวมข้อมูล
ยืดหยุ่นได้ ไม่ยึดติดกับวิธีใด วิธีหนึ่ง เพราะเมื่อปฏิบัติจริง
อาจต้องปรับตัวตามสถานการณ์ แต่ต้องได้ความรู้ที่เป็น
ความจริงจากแหล่งรากเง้าของข้อมูล
หลักการในการรวบรวมข้อมูล
(ลือชัย,2552)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
- เพราะเชื่อปรากฏการณ์วิทยา เน้นความจริงมากกว่าความเห็น
- ในการออกแบบสิ่งแรกที่ต้องพิจารณาคือ ต้องทราบก่อนว่า หรือ
แว่วๆ มาว่าเรื่องนั้นๆ มีปรากกฎการณ์อยู่ที่ไหน มีจริงที่ไหน เกิด
ขึ้นกับใคร แต่เราต้องการจะรู้ลึก รู้จริง อย่างละเอียด และชัดเจน
มากยิ่งขึ้น ว่าเป็นอย่างไร มีเหตุ และผล ความเกี่ยวข้องกัน
อย่างไรบ้าง
- ดังนั้น เมื่อ มี ปรากฏการณ์ใด เหตุการณ์ใด เรื่องใด ที่โดดเด่น
และนักวิจัยอยากทราบ วิธีคิด คือ ต้องเน้นในด้าน ปรากฏการณ์
ก่อน ต้องมีเรื่อง ที่เป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ก่อน
ให้ความสำคัญกับปรากฏการณ์
“เรื่อง”และแหล่งปฐมภูมิของปรากฏการณ์
การออกแบบการวิจัยในเชิงคุณภาพ
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
*ปรากกฎการณ์ * แหล่งข้อมูล
*วิธีการออกแบบการวิจัย
หลักการสำคัญในการออกแบบ
- การวิจัยเอกสาร - การวิจัยจากข้อมูลเรื่องเล่า
- การวิจัยแบบมานุษยวิทยา - การวิจัยแบบชาติพันธุ์วรรณา
- การวิจัยแบบ อัตถประวัติศึกษา
- การวิจัยแบบการเน้นกรณีศึกษา
- การวิจัยเชิงคุณภาพประยุกต์
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
วางหลักเกณฑ์การคิด ว่าจะรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีใดบ้าง และระบุว่าผู้รู้คือใคร
1). ไม่เน้นผู้รู้ แต่เน้นหลักฐาน และปรากฏการณ์ พบมากในงานวิจัยเอกสาร
การวิเคราะห์เนื้อหาจากภาพถ่าย ภาพวาด วัตถุ ฯลฯ เนื่องจากเชื่อใน
ปรากฏการณ์วิทยา ดูเอง อ่านเอง จับเอง สัมผัสเอง เห็นเอง ฯลฯ ด้วยการ
สังเกต พิจารณาตีความหมาย ด้วยตนเองไม่ต้องสอบถามใคร ให้ความ
สำคัญกับเอกสารอ้างอิง ก็ได้ เช่น การวิจัยจากเอกสาร รูปภาพ วัตถุ หลัก
ฐาน ฯลฯ และการเข้าร่วมศึกษาแบบการสังเกตอย่างมีส่วนร่วม ที่เป็นการ
รวบรวมข้อมูลแบบเผชิญหน้าทุกอย่างกับแหล่งปรากฏการณ์ด้วยตนเอง
เพราะเชื่อมั่นในความสามารถและความแม่นตรงของตนเอง
หลักเกณฑการคิด
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
2). เน้นหลักฐาน ปรากฏการณ์ และผู้รู้ หลักการนี้นิยมมาก
ที่สุด เพราะผู้รู้จริง คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์
ปรากฏการณ์ พฤติกรรมและหลักฐานจริงๆ มีการ
ประพฤติ มีการปฏิบัติ มีการกระทำ มีการแสดงออก
สามารถอธิบาย บอก เล่า ได้ละเอียด เป็นข้อมูลจริง เพิ่ม
ความเข้าใจในข้อมูล ขยายความละเอียดขึ้น
หลักเกณฑการคิด
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
Observing through the eyes of
someone else using open research
question
สำรวจผ่านมุมมองของผู้อื่น โดยใช้คำถามปลายเปิด
การวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research)
(ลือชัย,2552)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
การวิจัยเอกสาร
- ต้องระบุล่วงหน้าว่า เอกสารที่เป็นแหล่งข้อมูลมีเอกสารใดบ้าง
หากระบุชื่อผู้แต่ง ปี พ.ศ. ค.ศ. ได้ยิ่งดี
- แหล่งที่จะไปรวบรวมข้อมูลเอกสาร เช่น หอสมุดแห่งชาติ ห้อง
สมุดประชาชน มูลนิธิ วัด สถาบันทางการศึกษา หอ
จดหมายเหตุ สำนักพิมพ์ พิพิธภัณฑ์ ร้านค้า บ้าน สำนัก ฯลฯ
หนังสือขอแสดงความยินยอม และการอนุเคราะห์รวบรวมข้อมูล
- ระบุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ สมุดบันทึก แบบคัดลอกข้อมูล กล้องถ่าย
รูป เครื่องถ่ายเอกสาร กระดาษวาดเขียน ดินสอ ปากกา เครื่อง
คอมพิวเตอร์ เครื่องสแกน ฯลฯ
เน้นหลักฐานแต่ไม่เน้นผู้รู้
การรวบรวมข้อมูล
(ลือชัย,2552)
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
เน้นหลักฐานแต่ไม่เน้นผู้รู้
การรวบรวมข้อมูล
การรวบรวมข้อมูล ณ. แหล่งปฐมภูมิ
การสังเกต นักวิจัยเน้นการรวบรวมข้อมูลแบบเผชิญหน้ากับแหล่ง
ปรากฏการณ์ด้วยตนเอง ไม่ต้องการรวบรวมข้อมูลจากผู้รู้ ศึกษาและ
รวบรวมข้อมูลตามประเด็นที่สนใจ เน้นทำความเข้าใจแบบเป็นองค์
รวมทั้งหมด เมื่อขอความอนุเคราะห์เพื่อรวบรวมข้อมูลได้แล้ว
ทำการรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองอย่างละเอียด ตรวจสอบความแม่น
ตรงของข้อมูลด้วยการสังเกตปรากฏการณ์ตลอดเวลา
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
ให้ความสำคัญหลักฐานเน้นผู้รู้
การรวบรวมข้อมูล
การวิจัยเอกสาร ที่เน้นความรู้จากผู้รู้ ข้อมูลให้ชัดเจน ต้องระบุผู้รู้ไว้ล่วง
หน้าว่า ประกอบด้วยใครบ้าง หากไม่ทราบล่วงหน้า แสดงว่าออกแบบ
การวิจัยไม่เป็น เป็นการกำหนดไว้ก่อน เพิ่มเติมได้อีกปรับแก้ได้เสมอ
การสังเกตอย่างมีส่วนร่วม นักวิจัยเน้นรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง
ต้องการเผชิญหน้ากับข้อมูลด้วยตนเอง พร้อมกับต้องการทราบราย
ละเอียดที่เป็นการขยายความปรากฏการณ์ จากผู้รู้ ต้องทำการ
รวบรวมข้อมูลจากผู้ที่เป็นผู้รู้จริงจากเรื่องนั้นๆ มีการติดตามสอบถาม
การสัมภาษณ์จากผู้รู้จริงในปรากฏการณ์ที่ศึกษา
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
การเปิดตัวในการรวบรวมข้อมูลเมื่อต้องการใช้การสังเกตอย่างมีส่วน
ร่วม
มีหนังสือถึงผู้นำชุมชน
เริ่มเปิดตัวด้วยการคุยกลุ่มแบบธรรมชาติ พร้อมกับการทำแผนที่
เดิน
ดิน
ศึกษาปรากฏการณ์ที่สนใจ และคาดว่าจะนำไปสู่การตอบคำถามวิจัย
ค้นหาเอกสาร วัตถุ และผู้รู้ พร้อมกับวางแนวทางที่จะรวบรวมข้อมูล
แบบการสัมภาษณ์กลุ่ม หรือ การสัมภาษณ์เดี่ยวต่อไป
ให้ความสำคัญหลักฐานเน้นผู้รู้
การรวบรวมข้อมูล
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
การสนทนากลุ่ม
แบบธรรมชาติ
การสนทนากลุ่ม หรือการสัมภาษณ์กลุ่มทุกแบบ เชื่อในฐานคิดของทฤษฎีอิทธิพล
กลุ่ม ผู้รู้ไม่เก้อเขิน พลังกลุ่มทำให้กล้าแลกเปลี่ยน พูดคุย ทำให้เข้าถึงข้อมูลได้
การสนทนากลุ่มแบบธรรมชาติ มี 2 ลักษณะ
- การสนทนากลุ่มแบบกลุ่มใหญ่ เน้นขนาดกลุ่มหลายคน เช่น อาจจะประมาณ
6 คนขึ้นไป ที่อยู่รวมกันเองแบบธรรมชาติ ช่วยให้ได้ข้อมูลหลากหลาย บาง
ครั้งลึก บางครั้งตื้น แต่สามารถช่วยให้ค้นหาผู้รู้จริงได้
- การสนทนากลุ่มแบบกลุ่มเล็ก ขนาดกลุ่มประมาณ 2- 5 คน ที่อยู่แบบ
ธรรมชาติ สามารถช่วยให้ได้ข้อมูลลึก ตื้น และความหาผู้รู้จริงต่อไปได้
การสนทนากลุ่มแบบธรรมชาติ: แบบและขั้นตอนสำหรับ
การรวบรวมข้อมูลและการค้นหาผู้รู้จริง
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
การจัดตั้งกลุ่มสนทนา
เน้นพฤติกรรม การกระทำ การแสดงออก และเรื่องเล่าจากผู้รู้ที่คัดสรร เน้น
ภูมิหลังและบุคลิกภาพของผู้เป็นสำคัญ มี 2 ลักษณะ
การสนทนากลุ่มแบบเจาะจง ที่มีหลักเกณฑ์ ในการคัดผู้รู้จริงเข้าร่วมการ
สนทนากลุ่ม ต้องมีแบบคัดคนเข้ากลุ่ม เชื่อในหลักความคล้ายคลึงกัน
ของบุคลิกภาพของสมาชิกกลุ่มเพราะต้องการป้องกันการข่มทางปัญญา
ในวงสนทนา มีการวางแนวคำถามการสนทนากลุ่มไว้บ้าง ปรับแก้ได้
ตามสถานการณ์ จำนวนผู้รู้ในกลุ่มจะประมาณ 7 -12 คน ใช้เมื่อ
ปรากฏการณ์ที่ศึกษา มีจำนวนผู้รู้มาก หาผู้เข้าสกลุ่มได้ง่าย
การสนทนากลุ่มย่อยแบบเจาะจง แนวคิดและหลักการเหมือนการสนทนา
กลุ่มแบบเจาะจงแต่จำนวนผู้รู้มีประมาณ 2-6 คน ใช้เมื่อมีจำนวนผู้น้อย
การจัดตั้งกลุ่มสนทนา: การออกแบบวิธีการรวบรวมข้อมูลที่เน้นทฤษฎีอิทธิพล
กลุ่มของผู้รู้ที่คัดสรร
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
การเจาะลึก หลักการของการเน้นทำความเข้าใจแบบเป็นองค์รวม
ต้องรู้เรื่องนั้นอย่างแท้จริงแบบ 360 องศา
การค้นหาผู้รู้
- หากเป็นการวิจัยแบบเอกสาร เช่น จดหมายเหตุ กฎหมาย ระเบียบ ข้อ
บังคับ ตำรา บันทึก การเรียบเรียง งานเขียน ฯลฯ สามารถระบุ ผู้รู้ว่า
ประกอบด้วยใครบ้างไว้ล่วงหน้า
- หากเป็นการรวบรวมข้อมูลในชุมชน หรือ กลุ่มคน มักเปิดตัวด้วย
กระบวนการกลุ่ม ทั้งแบบธรรมชาติหรือ แบบเจาะจง หรือ อาจค้นพบ
จากการสังเกตอย่างมีส่วนร่วม ที่เรียกว่า การปักมุด หรือ ปักธง หลัง
จากนั้นติดตามสัมภาษณ์ ด้วยการสาวต่อไปจนถึงผู้รู้จริง
การสัมภาษณ์เดี่ยวแบบเจาะลึก
การสัมภาษณ์เดี่ยวแบบเจาะลึก: การออกแบบการรวบรวมข้อมูล
กับผู้รู้ที่รู้จริงในปรากฏการณ์ที่ศึกษา
Tuesday, November 3, 15
Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB.
รศ. ดร. ลือชัย ศรีเงินยวง (2552) เอกสารประกอบ
การสอนการวิจัยเชิงคุณภาพ. มหาวิทยาลัยมหิดล.
แหล่งอ้างอิง
Tuesday, November 3, 15

More Related Content

What's hot

การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้Kanyarat Okong
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...Srion Janeprapapong
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศPa'rig Prig
 
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศKanitta_p
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4Intangible Mz
 
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศบท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศPa'rig Prig
 
Digital literacy
Digital literacyDigital literacy
Digital literacyMarreea Mk
 
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)Prachyanun Nilsook
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศPa'rig Prig
 
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษาการจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษาPrachyanun Nilsook
 
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154nawasai
 
บทที่ 3 นำเสนอ
บทที่   3 นำเสนอบทที่   3 นำเสนอ
บทที่ 3 นำเสนอ5650503038
 

What's hot (20)

การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
 
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศบท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
 
Digital literacy
Digital literacyDigital literacy
Digital literacy
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
 
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศ
 
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษาการจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
 
Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Km(Pongsak)1
Km(Pongsak)1Km(Pongsak)1
Km(Pongsak)1
 
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3 นำเสนอ
บทที่   3 นำเสนอบทที่   3 นำเสนอ
บทที่ 3 นำเสนอ
 

Viewers also liked

Viewers also liked (15)

Diaposi fina infor
Diaposi fina inforDiaposi fina infor
Diaposi fina infor
 
Ibrahim Al mahdi
Ibrahim Al mahdiIbrahim Al mahdi
Ibrahim Al mahdi
 
Ifugao antipolo bible - new testament
Ifugao  antipolo bible - new testamentIfugao  antipolo bible - new testament
Ifugao antipolo bible - new testament
 
Contrato bradesco
Contrato bradescoContrato bradesco
Contrato bradesco
 
Study Of Human Physiology Dr Shriniwas Kashalikar
Study Of Human Physiology Dr Shriniwas KashalikarStudy Of Human Physiology Dr Shriniwas Kashalikar
Study Of Human Physiology Dr Shriniwas Kashalikar
 
Memo global security
Memo global securityMemo global security
Memo global security
 
2015 formation documentaire_est8000_pptx
2015 formation documentaire_est8000_pptx2015 formation documentaire_est8000_pptx
2015 formation documentaire_est8000_pptx
 
Presentacion final de proyecto
Presentacion final de proyectoPresentacion final de proyecto
Presentacion final de proyecto
 
Resolution final ukr
Resolution final ukrResolution final ukr
Resolution final ukr
 
PANAMÁ:La ruta por descubrir
PANAMÁ:La ruta por descubrirPANAMÁ:La ruta por descubrir
PANAMÁ:La ruta por descubrir
 
Set oneself up for achievement
Set oneself up for achievementSet oneself up for achievement
Set oneself up for achievement
 
Stripovi učenika
Stripovi učenikaStripovi učenika
Stripovi učenika
 
Aura
AuraAura
Aura
 
Lire-écouter-voir en langue chinoise à la médiathèque André Breton d'Aubervil...
Lire-écouter-voir en langue chinoise à la médiathèque André Breton d'Aubervil...Lire-écouter-voir en langue chinoise à la médiathèque André Breton d'Aubervil...
Lire-écouter-voir en langue chinoise à la médiathèque André Breton d'Aubervil...
 
Vladimir Nazor, Hrvatski jezik
Vladimir Nazor, Hrvatski jezikVladimir Nazor, Hrvatski jezik
Vladimir Nazor, Hrvatski jezik
 

Similar to PPT qualitative research kriangkrai

ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณประพันธ์ เวารัมย์
 
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3Sakonwan Na Roiet
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
Health Information Privacy & Security Management: Part 1 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 1 (May 13, 2019)Health Information Privacy & Security Management: Part 1 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 1 (May 13, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Borwornsom Leerapan
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)Marine Meas
 
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันสรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันParishat Tanteng
 
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1Prachyanun Nilsook
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยอย่างไรให้มีเสน่ห์: กรณีโครงการวิจัยด้านภูมิปัญญาของช...
เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยอย่างไรให้มีเสน่ห์: กรณีโครงการวิจัยด้านภูมิปัญญาของช...เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยอย่างไรให้มีเสน่ห์: กรณีโครงการวิจัยด้านภูมิปัญญาของช...
เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยอย่างไรให้มีเสน่ห์: กรณีโครงการวิจัยด้านภูมิปัญญาของช...somporn Isvilanonda
 
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Borwornsom Leerapan
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1Uraiwan Chankan
 

Similar to PPT qualitative research kriangkrai (20)

ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
 
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
Health Information Privacy & Security Management: Part 1 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 1 (May 13, 2019)Health Information Privacy & Security Management: Part 1 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 1 (May 13, 2019)
 
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
 
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
 
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันสรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
 
241203 chapter03
241203 chapter03241203 chapter03
241203 chapter03
 
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยอย่างไรให้มีเสน่ห์: กรณีโครงการวิจัยด้านภูมิปัญญาของช...
เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยอย่างไรให้มีเสน่ห์: กรณีโครงการวิจัยด้านภูมิปัญญาของช...เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยอย่างไรให้มีเสน่ห์: กรณีโครงการวิจัยด้านภูมิปัญญาของช...
เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยอย่างไรให้มีเสน่ห์: กรณีโครงการวิจัยด้านภูมิปัญญาของช...
 
Ku 54
Ku 54Ku 54
Ku 54
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
Jodc final
Jodc finalJodc final
Jodc final
 
Knowledge Understanding
Knowledge UnderstandingKnowledge Understanding
Knowledge Understanding
 
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 

PPT qualitative research kriangkrai

  • 1. นายเกรียงไกร พละสนธิ นักศึกษาสาขา MICT,KMUTNB. Qualitative Research. วิจัยเชิงคุณภาพ Tuesday, November 3, 15
  • 2. การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. เป็นการศึกษาสถานการณ์  ปรากฏการณ์ ที่เป็นประเด็น ปัญหาของสังคม หรือปัญหาของมนุษย์ ที่เกิดขึ้นและดำเนิน ไปตามธรรมชาติ   ในโลกแห่งความเป็นจริงทุกมิติ โดยมุ่ง เน้นให้ความสนใจข้อมูลด้านความรู้สึกนึกคิด การให้ความ หมายหรือคุณค่ากับสิ่งต่าง ๆ ตลอดจนค่านิยม หรือ อุดมการณ์ของบุคคล (ลือชัย,2552) Tuesday, November 3, 15
  • 3. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. การวิจัยเชิงคุณภาพ เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่มีลักษณะนามธรรม ความคิดเห็น ความเข้าใจของคน การเข้าใจความคิดเห็นเหล่านั้นจะทำให้รู้จักและมี ความรู้เกี่ยวกับสิ่งเหล่านั้นมากขึ้น การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) (ลือชัย,2552) Tuesday, November 3, 15
  • 4. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ในกระบวนการค้นหาต้องคำนึงถึงสถานการณ์ที่กำลังศึกษาให้ครอบคลุมให้ มากที่สุดเพื่อให้ได้ข้อมูลแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ได้วิธีการในการพัฒนาสิ่งไดสิ่งหนึ่ง ความโปร่งใสและการครอบคลุมข้อมูลทุกด้านเป็นสิ่งสำคัญ ที่ส่งผลต่อ คุณภาพของการพัฒนางานจากผลการวิจัยที่ได้ ค้นหา เพื่อ พัฒนา (ลือชัย,2552) Tuesday, November 3, 15
  • 5. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. การวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นการทำความเข้าใจ ปรากฏการณ์อย่างลึกซึ้ง รอบด้าน ตามความหมายของ คนใน ด้วยถือว่า ความหมายของความจริง ไม่มีหนึ่งเดียว (single/ universal) (ตามทีผู้วิจัยเชื่อ หรือ เรียนรู้มา) แต่มีหลากหลาย (multiple /local/ context specific) การวิจัยเชิงคุณภาพ จึงมิใช่การวัด ชี้ถูก ชี้ผิด หรือตัดสิน ปรากฏการณ์ เข้าใจ มิใช่วัดและตัดสิน Understanding not measuring (ลือชัย,2552) Tuesday, November 3, 15
  • 6. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. ฐานคติ (Assumtion) !  เมื่อมนุษยอยูรวมกันเปนกลุม นานๆสักระยะหนึ่ง จะเกิด วัฒนธรรมในการประพฤติปฏิบัติ และความเชื่อรวมกัน อันเปน มาตรฐานที่จะตัดสินวาอะไรควร อะไรไมควร และมาตรฐานอัน ทำใหบุคคลรูสึกวาสิ่งใดควรทำและ จะทำอยางไร (Goodenogh.1971) ฐานคติ (ลือชัย,2552) Tuesday, November 3, 15
  • 7. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. สิ่งที่เปนประโยชนตอระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพคือA วิธีการตีความ หมายการ วิเคราะห ขอมูลจากมุม มองทาง วัฒนธรรมA ประโยชน์ (ลือชัย,2552) Tuesday, November 3, 15
  • 8. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. การประยุกตใชในการวิจัยเชิงคุณภาพ8 เนื้อหา8 วิธีการ8 บุคคลนั้นไดประสบการณและตีความ เกี่ยวกับโลกอยางไร8 เขาไปสังเกตแบบมีสวนรวม : เพื่อเรียนรู ประสบการณบุคคลอื่นๆ8 การประยุกต์ใช้ (ลือชัย,2552) Tuesday, November 3, 15
  • 9. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. ลักษณะของวิธีการวิจัย เชิงคุณภาพ - เพื่อตอบคำถามที่ตั้งขึ้น - ผลจากการวิจัยควรมีนัยสำคัญ แต่ไม่จำเป็นต้องเกิดซ้ำ - อธิบายว่าทำไมจึงเกิดเหตุการณ์ขึ้น - ผู้วิจัยมีส่วนร่วม ไม่ใช่ผู้สังเกตุ - ผลมักไม่เป็นจำนวน Tuesday, November 3, 15
  • 10. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. หลักการพื้นฐาน 5 ประการของการวิจัยเชิงคุณภาพ (Wiersma.W, 2000 ; 198-199) 1.เป็นการศึกษาปรากฏการณ์ในภาพรวม ไม่แยกบางส่วนหรือบางองค์ ประกอบมาทำการศึกษา 2.นักวิจัยต้องเข้าไปอยู่ในสนาม และสังเกตสิ่งที่ศึกษาอย่างเป็นธรรมชาติ 3.การรับรู้ “ความหมาย” ของสิ่งที่เกิดขึ้นหรือเป็นไปอย่างเป็นจริงที่สุดคือ “การวัด” ที่ต้องการในการวิจัย 4.ข้อตกลงเบื้องต้นใดๆ สามารถล้มล้างหรือเปลี่ยนแปลงได้โดยข้อตกลง ใหม่หรือข้อสรุปที่ค้นพบใหม่ 5.ปรากฏการณ์ ก็คือรูปแบบโครงสร้างหลวมๆ ที่มีความยืดหยุ่นในการ ทำนาย ไม่เฉพาะตายตัว ! หลักการพื้นฐาน (ลือชัย,2552) Tuesday, November 3, 15
  • 11. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. องค์ประกอบของการออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (Wiersma.W, 2000 ; 205) องค์ประกอบ -เลือกกลุ่มเป้าหมาย -เลือกพื้นที่ -ระบุช่วงเวลาที่ศึกษา -ระบุตัวแปรที่เป็นไปได้ -ตั้งปัญหาลางๆ -คำถามวิจัย -อ้างอิงทฤษฎีติดดิน -สัมภาษณ์/บอกเล่า -สังเกตบันทึกตัวอย่าง -ทบทวน/วิเคราะห์ เอกสาร -จัดหมวดหมู่/ ลงรหัสข้อมูล -จัดโครงสร้างข้อมูลใหม่ -ตรวจสอบสมมุติฐาน ทฤษฎี -พรรณนา Working Design Working Hypothesis Data Collection Data Analysis/Interpretation (ลือชัย,2552) Tuesday, November 3, 15
  • 12. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. คุณลักษณะ 20 ประการของการวิจัยเชิงคุณภาพ (Marshall, 1995) คุณลักษณะ 20 ประการ 1.ประเด็นที่ศึกษาต้องเหมาะกับวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ 2.ขจัดความลำเอียงทั้งตัวนักวิจัยและเชิงทฤษฎี 3.ป้องกันการตัดสินคุณค่าข้อมูลขณะรวบรวม/วิเคราะห์ 4.มีข้อมูลแสดงความสัมพันธ์ของข้อค้นพบกับความจริง 5.กำหนดคำถามวิจัยไว้ แล้วหาคำตอบ/ตั้งคำถามต่อๆไป 6.เชื่อมโยงการศึกษาครั้งนี้กับครั้งก่อนๆ อย่างชัดเจน 7.เสนอรายงานวิจัยที่สะดวกในการเข้าถึงสิ่งที่วิจัย (ลือชัย,2552) Tuesday, November 3, 15
  • 13. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. คุณลักษณะ 20 ประการ (ต่อ) 8.ข้อมูลที่นำเสนอมีความครอบคลุมและตรวจสอบอย่างดี 9.ผลวิจัยมีข้อจำกัดในการอ้างอิง แต่สามารถถ่ายโยงได้ 10.วิธีการทำงานภาคสนาม และการบันทึกมีความชัดเจน 11.มีการสังเกตอย่างครอบคลุมครบวงจรกิจกรรมที่ศึกษา 12.ข้อมูลที่รวบรวมมา สามารถวิเคราะห์ซ้ำ/ตรวจสอบได้ 13.มีการใช้วิธีตรวจสอบคุณภาพข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 14.มีการบันทึกภาคสนามเป็นลายลักษณ์อักษร Tuesday, November 3, 15
  • 14. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. 15.ความจริงถูกล้วงออกมาจากมุมมองที่ข้ามวัฒนธรรม 16.นักวิจัยต้องมีความละเอียดอ่อน และมีจรรยาบรรณ 17.ในบางครั้งผู้เกี่ยวข้องในการวิจัยอาจได้รับประโยชน์ เชิงการเสริมสร้างพลังร่วม 18.กลยุทธ์รวบรวมข้อมูลต้องมีประสิทธิภาพและเข้าถึงกลุ่ม ผู้ให้ข้อมูล 19.ต้องพยายามสร้าง “ภาพใหญ่” ให้เห็นภาพตลอดแนวทั้งระบบ 20.ต้องพยายามทำความเข้าใจความเป็นมาของบริบทองค์กร สถาบันว่าเป็นอย่างไร และมีบทบาทอย่างไร คุณลักษณะ 20 ประการ (ต่อ) Tuesday, November 3, 15
  • 15. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. ระบบคิดของการวิจัยเชิงคุณภาพ - Paradigm (กระบวนทัศน์) - Ontology (ณาณวิทยา: ความล้ำลึกของศาสตร์) - Methodology (วิธีวิทยา) - Epistemology (ความเป็นองค์ความรู้ที่แท้จริง) Tuesday, November 3, 15
  • 16. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. กระบวนทัศน์ เน้นที่การค้นหาความรู้ที่เป็นความ จริงจากแหล่งรากเง้าของข้อมูล ที่เป็นแหล่งข้อมูล ปฐมภูมิ โดยไม่คำนึงว่าวิธีการได้มาของข้อมูลจะมี อุปสรรค ปัญหา หรือความยาก ง่าย อย่างไร เพราะต้องการความรู้ ที่เป็นความจริง ที่สำคัญคือ ต้องไม่ขัด หลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ ทั้งนี้เพราะความรู้ที่เปิดเผยแล้ว อาจจะไม่ถูกต้อง ก็ได้ นอกจากนี้ยังมีความรู้อีกมากที่ซ่อนเร้นอยู่ กระบวนทัศน์ (ลือชัย,2552) Tuesday, November 3, 15
  • 17. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. ญาณวิทยา ให้ความสำคัญกับความล้ำลึกของศาสตร์ที่ต้อง ทำการสืบค้นอย่างละเอียด ไม่เชื่อในปรากฏการณ์ใดๆ หรือ ข้อมูลที่ได้จากเหตุการณ์ ปรากฏการณ์ใด เรื่องเล่าใด ง่ายๆ ต้องพิสูจน์ สืบค้นอย่างจริงจัง ตรวจสอบความแนบในของ เนื้อหาให้ความสำคัญด้านความถูกต้อง แม่นตรง ตลอด เวลา ญาณวิทยา (ลือชัย,2552) Tuesday, November 3, 15
  • 18. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. ความล้ำลึกของศาสตร์ ศาสตร์คือความรู้ จะรู้เรื่องใด เรื่องหนึ่งต้องรู้จริงแบบเป็นองค์รวม เน้นทำความ เข้าใจแบบสามร้อยหกสิบองศา ความล้ำลึกของศาสตร์ (ลือชัย,2552) Tuesday, November 3, 15
  • 19. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. ระเบียบวิธีวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูล เน้นข้อมูลที่เป็นข้อมูลเชิง เนื้อหา ทุกมิติ ให้ความสำคัญกับรังสรรค์วิทยาในการตีความ หมาย ในการรวบรวมข้อมูลไม่เน้นการกำหนดกรอบ แต่อาจ เน้นที่การกำหนดกลุ่มประเด็นเรื่อง แล้วทำการรวบรวม ข้อมูลทุกมิติที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากหัวใจคือ ให้ความสำคัญกับ การทำความเข้าใจอย่างเป็นองค์รวมในปรากฏการที่ศึกษา ระเบียบวิธีวิจัยและ การวิเคราะห์ข้อมูล (ลือชัย,2552) Tuesday, November 3, 15
  • 20. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. หลักการในการรวบรวมข้อมูล คือ ให้ความสำคัญยึดอยู่กับ แนวคิด ปรากฏการณ์วิทยา ให้ความสำคัญกับหลักฐานที่ เป็นความจริงมากกว่าความเห็น วิธีการรวบรวมข้อมูล ยืดหยุ่นได้ ไม่ยึดติดกับวิธีใด วิธีหนึ่ง เพราะเมื่อปฏิบัติจริง อาจต้องปรับตัวตามสถานการณ์ แต่ต้องได้ความรู้ที่เป็น ความจริงจากแหล่งรากเง้าของข้อมูล หลักการในการรวบรวมข้อมูล (ลือชัย,2552) Tuesday, November 3, 15
  • 21. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. - เพราะเชื่อปรากฏการณ์วิทยา เน้นความจริงมากกว่าความเห็น - ในการออกแบบสิ่งแรกที่ต้องพิจารณาคือ ต้องทราบก่อนว่า หรือ แว่วๆ มาว่าเรื่องนั้นๆ มีปรากกฎการณ์อยู่ที่ไหน มีจริงที่ไหน เกิด ขึ้นกับใคร แต่เราต้องการจะรู้ลึก รู้จริง อย่างละเอียด และชัดเจน มากยิ่งขึ้น ว่าเป็นอย่างไร มีเหตุ และผล ความเกี่ยวข้องกัน อย่างไรบ้าง - ดังนั้น เมื่อ มี ปรากฏการณ์ใด เหตุการณ์ใด เรื่องใด ที่โดดเด่น และนักวิจัยอยากทราบ วิธีคิด คือ ต้องเน้นในด้าน ปรากฏการณ์ ก่อน ต้องมีเรื่อง ที่เป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ก่อน ให้ความสำคัญกับปรากฏการณ์ “เรื่อง”และแหล่งปฐมภูมิของปรากฏการณ์ การออกแบบการวิจัยในเชิงคุณภาพ Tuesday, November 3, 15
  • 22. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. *ปรากกฎการณ์ * แหล่งข้อมูล *วิธีการออกแบบการวิจัย หลักการสำคัญในการออกแบบ - การวิจัยเอกสาร - การวิจัยจากข้อมูลเรื่องเล่า - การวิจัยแบบมานุษยวิทยา - การวิจัยแบบชาติพันธุ์วรรณา - การวิจัยแบบ อัตถประวัติศึกษา - การวิจัยแบบการเน้นกรณีศึกษา - การวิจัยเชิงคุณภาพประยุกต์ Tuesday, November 3, 15
  • 23. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. วางหลักเกณฑ์การคิด ว่าจะรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีใดบ้าง และระบุว่าผู้รู้คือใคร 1). ไม่เน้นผู้รู้ แต่เน้นหลักฐาน และปรากฏการณ์ พบมากในงานวิจัยเอกสาร การวิเคราะห์เนื้อหาจากภาพถ่าย ภาพวาด วัตถุ ฯลฯ เนื่องจากเชื่อใน ปรากฏการณ์วิทยา ดูเอง อ่านเอง จับเอง สัมผัสเอง เห็นเอง ฯลฯ ด้วยการ สังเกต พิจารณาตีความหมาย ด้วยตนเองไม่ต้องสอบถามใคร ให้ความ สำคัญกับเอกสารอ้างอิง ก็ได้ เช่น การวิจัยจากเอกสาร รูปภาพ วัตถุ หลัก ฐาน ฯลฯ และการเข้าร่วมศึกษาแบบการสังเกตอย่างมีส่วนร่วม ที่เป็นการ รวบรวมข้อมูลแบบเผชิญหน้าทุกอย่างกับแหล่งปรากฏการณ์ด้วยตนเอง เพราะเชื่อมั่นในความสามารถและความแม่นตรงของตนเอง หลักเกณฑการคิด Tuesday, November 3, 15
  • 24. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. 2). เน้นหลักฐาน ปรากฏการณ์ และผู้รู้ หลักการนี้นิยมมาก ที่สุด เพราะผู้รู้จริง คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ ปรากฏการณ์ พฤติกรรมและหลักฐานจริงๆ มีการ ประพฤติ มีการปฏิบัติ มีการกระทำ มีการแสดงออก สามารถอธิบาย บอก เล่า ได้ละเอียด เป็นข้อมูลจริง เพิ่ม ความเข้าใจในข้อมูล ขยายความละเอียดขึ้น หลักเกณฑการคิด Tuesday, November 3, 15
  • 25. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. Observing through the eyes of someone else using open research question สำรวจผ่านมุมมองของผู้อื่น โดยใช้คำถามปลายเปิด การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) (ลือชัย,2552) Tuesday, November 3, 15
  • 26. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. การวิจัยเอกสาร - ต้องระบุล่วงหน้าว่า เอกสารที่เป็นแหล่งข้อมูลมีเอกสารใดบ้าง หากระบุชื่อผู้แต่ง ปี พ.ศ. ค.ศ. ได้ยิ่งดี - แหล่งที่จะไปรวบรวมข้อมูลเอกสาร เช่น หอสมุดแห่งชาติ ห้อง สมุดประชาชน มูลนิธิ วัด สถาบันทางการศึกษา หอ จดหมายเหตุ สำนักพิมพ์ พิพิธภัณฑ์ ร้านค้า บ้าน สำนัก ฯลฯ หนังสือขอแสดงความยินยอม และการอนุเคราะห์รวบรวมข้อมูล - ระบุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ สมุดบันทึก แบบคัดลอกข้อมูล กล้องถ่าย รูป เครื่องถ่ายเอกสาร กระดาษวาดเขียน ดินสอ ปากกา เครื่อง คอมพิวเตอร์ เครื่องสแกน ฯลฯ เน้นหลักฐานแต่ไม่เน้นผู้รู้ การรวบรวมข้อมูล (ลือชัย,2552) Tuesday, November 3, 15
  • 27. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. เน้นหลักฐานแต่ไม่เน้นผู้รู้ การรวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมูล ณ. แหล่งปฐมภูมิ การสังเกต นักวิจัยเน้นการรวบรวมข้อมูลแบบเผชิญหน้ากับแหล่ง ปรากฏการณ์ด้วยตนเอง ไม่ต้องการรวบรวมข้อมูลจากผู้รู้ ศึกษาและ รวบรวมข้อมูลตามประเด็นที่สนใจ เน้นทำความเข้าใจแบบเป็นองค์ รวมทั้งหมด เมื่อขอความอนุเคราะห์เพื่อรวบรวมข้อมูลได้แล้ว ทำการรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองอย่างละเอียด ตรวจสอบความแม่น ตรงของข้อมูลด้วยการสังเกตปรากฏการณ์ตลอดเวลา Tuesday, November 3, 15
  • 28. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. ให้ความสำคัญหลักฐานเน้นผู้รู้ การรวบรวมข้อมูล การวิจัยเอกสาร ที่เน้นความรู้จากผู้รู้ ข้อมูลให้ชัดเจน ต้องระบุผู้รู้ไว้ล่วง หน้าว่า ประกอบด้วยใครบ้าง หากไม่ทราบล่วงหน้า แสดงว่าออกแบบ การวิจัยไม่เป็น เป็นการกำหนดไว้ก่อน เพิ่มเติมได้อีกปรับแก้ได้เสมอ การสังเกตอย่างมีส่วนร่วม นักวิจัยเน้นรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง ต้องการเผชิญหน้ากับข้อมูลด้วยตนเอง พร้อมกับต้องการทราบราย ละเอียดที่เป็นการขยายความปรากฏการณ์ จากผู้รู้ ต้องทำการ รวบรวมข้อมูลจากผู้ที่เป็นผู้รู้จริงจากเรื่องนั้นๆ มีการติดตามสอบถาม การสัมภาษณ์จากผู้รู้จริงในปรากฏการณ์ที่ศึกษา Tuesday, November 3, 15
  • 29. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. การเปิดตัวในการรวบรวมข้อมูลเมื่อต้องการใช้การสังเกตอย่างมีส่วน ร่วม มีหนังสือถึงผู้นำชุมชน เริ่มเปิดตัวด้วยการคุยกลุ่มแบบธรรมชาติ พร้อมกับการทำแผนที่ เดิน ดิน ศึกษาปรากฏการณ์ที่สนใจ และคาดว่าจะนำไปสู่การตอบคำถามวิจัย ค้นหาเอกสาร วัตถุ และผู้รู้ พร้อมกับวางแนวทางที่จะรวบรวมข้อมูล แบบการสัมภาษณ์กลุ่ม หรือ การสัมภาษณ์เดี่ยวต่อไป ให้ความสำคัญหลักฐานเน้นผู้รู้ การรวบรวมข้อมูล Tuesday, November 3, 15
  • 30. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. การสนทนากลุ่ม แบบธรรมชาติ การสนทนากลุ่ม หรือการสัมภาษณ์กลุ่มทุกแบบ เชื่อในฐานคิดของทฤษฎีอิทธิพล กลุ่ม ผู้รู้ไม่เก้อเขิน พลังกลุ่มทำให้กล้าแลกเปลี่ยน พูดคุย ทำให้เข้าถึงข้อมูลได้ การสนทนากลุ่มแบบธรรมชาติ มี 2 ลักษณะ - การสนทนากลุ่มแบบกลุ่มใหญ่ เน้นขนาดกลุ่มหลายคน เช่น อาจจะประมาณ 6 คนขึ้นไป ที่อยู่รวมกันเองแบบธรรมชาติ ช่วยให้ได้ข้อมูลหลากหลาย บาง ครั้งลึก บางครั้งตื้น แต่สามารถช่วยให้ค้นหาผู้รู้จริงได้ - การสนทนากลุ่มแบบกลุ่มเล็ก ขนาดกลุ่มประมาณ 2- 5 คน ที่อยู่แบบ ธรรมชาติ สามารถช่วยให้ได้ข้อมูลลึก ตื้น และความหาผู้รู้จริงต่อไปได้ การสนทนากลุ่มแบบธรรมชาติ: แบบและขั้นตอนสำหรับ การรวบรวมข้อมูลและการค้นหาผู้รู้จริง Tuesday, November 3, 15
  • 31. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. การจัดตั้งกลุ่มสนทนา เน้นพฤติกรรม การกระทำ การแสดงออก และเรื่องเล่าจากผู้รู้ที่คัดสรร เน้น ภูมิหลังและบุคลิกภาพของผู้เป็นสำคัญ มี 2 ลักษณะ การสนทนากลุ่มแบบเจาะจง ที่มีหลักเกณฑ์ ในการคัดผู้รู้จริงเข้าร่วมการ สนทนากลุ่ม ต้องมีแบบคัดคนเข้ากลุ่ม เชื่อในหลักความคล้ายคลึงกัน ของบุคลิกภาพของสมาชิกกลุ่มเพราะต้องการป้องกันการข่มทางปัญญา ในวงสนทนา มีการวางแนวคำถามการสนทนากลุ่มไว้บ้าง ปรับแก้ได้ ตามสถานการณ์ จำนวนผู้รู้ในกลุ่มจะประมาณ 7 -12 คน ใช้เมื่อ ปรากฏการณ์ที่ศึกษา มีจำนวนผู้รู้มาก หาผู้เข้าสกลุ่มได้ง่าย การสนทนากลุ่มย่อยแบบเจาะจง แนวคิดและหลักการเหมือนการสนทนา กลุ่มแบบเจาะจงแต่จำนวนผู้รู้มีประมาณ 2-6 คน ใช้เมื่อมีจำนวนผู้น้อย การจัดตั้งกลุ่มสนทนา: การออกแบบวิธีการรวบรวมข้อมูลที่เน้นทฤษฎีอิทธิพล กลุ่มของผู้รู้ที่คัดสรร Tuesday, November 3, 15
  • 32. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. การเจาะลึก หลักการของการเน้นทำความเข้าใจแบบเป็นองค์รวม ต้องรู้เรื่องนั้นอย่างแท้จริงแบบ 360 องศา การค้นหาผู้รู้ - หากเป็นการวิจัยแบบเอกสาร เช่น จดหมายเหตุ กฎหมาย ระเบียบ ข้อ บังคับ ตำรา บันทึก การเรียบเรียง งานเขียน ฯลฯ สามารถระบุ ผู้รู้ว่า ประกอบด้วยใครบ้างไว้ล่วงหน้า - หากเป็นการรวบรวมข้อมูลในชุมชน หรือ กลุ่มคน มักเปิดตัวด้วย กระบวนการกลุ่ม ทั้งแบบธรรมชาติหรือ แบบเจาะจง หรือ อาจค้นพบ จากการสังเกตอย่างมีส่วนร่วม ที่เรียกว่า การปักมุด หรือ ปักธง หลัง จากนั้นติดตามสัมภาษณ์ ด้วยการสาวต่อไปจนถึงผู้รู้จริง การสัมภาษณ์เดี่ยวแบบเจาะลึก การสัมภาษณ์เดี่ยวแบบเจาะลึก: การออกแบบการรวบรวมข้อมูล กับผู้รู้ที่รู้จริงในปรากฏการณ์ที่ศึกษา Tuesday, November 3, 15
  • 33. Information and Communication Technology for Education Division, KMUTNB. รศ. ดร. ลือชัย ศรีเงินยวง (2552) เอกสารประกอบ การสอนการวิจัยเชิงคุณภาพ. มหาวิทยาลัยมหิดล. แหล่งอ้างอิง Tuesday, November 3, 15