SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
สมดุลกล
สภาพสมดุล (Equilibrium) คือ สมดุลที่เกิดขึ้นในขณะที่
วัตถุอยู่ในสภาพนิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ถ้า
แรงลัพธ์ที่กระทำาต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์ สมดุลจะแบ่งเป็น
         1. สมดุลสถิต (Static Equilibrium) เป็นสมดุลของ
วัต ถุขณะอยู่นิ่ง
         2. สมดุลจลน์ (Kinetic Equilibrium) เป็นสมดุลของ
วัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ (a = 0) เมื่อพิจารณาการ
เคลื่อนที่เป็นหลัก จะมีเงื่อนไขสมดุลอยู่ 2 อย่างคือ
         1. สมดุลต่อการเลื่อนที่ คือ วัตถุอยู่นิ่งหรือเคลื่อนที่
                                     n
ด้วยความเร็วคงตัว จะมีค่า           ∑F = 0
                                   i =1
       2. สมดุลต่อการหมุน คือ วัตถุมีอัตราการหมุนคงตัว
                             n
ผลรวมของโมเมนต์             ∑M = 0
                           i =1
หลักที่นำามาใช้ในการคำานวณในกรณีที่วัตถุสมดุลต่อการ
เลื่อนที่ คือ
1. แตกแรง
∑ F x = 0 ⇒ ผลรวมของแรงทางด้านขวา = ผลรวมของ
                   แรงทางด้านซ้าย
∑ F y = 0 ⇒ ผลรวมของแรงทางด้านบน = ผลรวมของ

                  แรงทางด้านล่าง




2. ทฤษฎีลามี (กฎของ sine)
    แรง 3 แรงมากระทำากันที่จุด ๆ หนึ่ง และอยู่ในภาวะ
สมดุล อัตราส่วนของแรงต่อ sin ของมุมตรงข้ามย่อมมีค่า
เท่ากัน

                      F1          F2          F3
                             =           =
                     sin θ       sin β       sin α




3. สามเหลี่ยมแทนแรง
    ถ้ามีแรง 3 แรงกระทำาร่วมกันที่จุด ๆ หนึ่ง และอยู่ใน
ภาวะสมดุลโดยทิศของแรงทั้ง 3 แรงตั้งฉากกับด้านทั้ง 3
ของสามเหลี่ยมจะได้อัตราส่วนขนาดของแรงต่อด้าน
ที่แรงนั้นตั้งฉากอยู่




แรงเสียดทาน
ลักษณะของแรงเสียดทาน
     1. ไม่ขึ้นกับจำานวนพื้นที่ผิวสัมผัส
     2. ไม่ขึ้นกับความเร็วที่วัตถุเคลื่อนที่ และมีทิศตรง
              ข้ามการเคลื่อนที่ของวัตถุ
     3. ขึนอยู่กับแรงที่วัตถุกดพื้นในแนวตั้งฉาก หรือ
          ้
              แรงปฏิกิริยาของ พื้นในแนวตั้งฉาก
     4. ขึนกับพื้นผิวสัมผัส เช่น ขรุขระ หรือเรียบ
            ้
แรงเสียดทานแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
     1. แรงเสียดทานสถิต (fs) เป็นแรงเสียดทานที่เกิดขึ้น
ในขณะที่วัตถุอยู่นิ่ง จนถึงเริ่มต้นเคลื่อนที่
       f           = µ sN
           s
    fs = แรงเสียดทาน หน่วยเป็นนิวตัน
    µ s = สัมประสิทธิแรงเสียดทานสถิต

    N = แรงต้านของพื้นในแนวตั้งฉาก หน่วยเป็นนิวตัน
        2. แรงเสียดทานจลน์ (fk) เป็นแรงเสียดทานขณะวัตถุ
กำาลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ซึ่งจะมีค่าน้อยกว่าแรง
เสียดทานสถิต
       f           =µ N
           k         k
มุมของความเสียดทาน θ
    ถ้าวัตถุอยู่บนพื้นเอียงแล้ววัตถุลื่นไถลลงมาตามพื้นเอียง
ด้วย ความเร็วคงที่ มุมที่พื้นระนาบเอียงกระทำากับแนว
ระดับ คือ มุมของความเสียดทาน ( θ)




                   f = mg sin θ

                   N = mg cos θ

                    f       mg sin θ
                        =
                   N        mg cos θ
               f
       µ=           = tan θ
               N
โมเมนต์
   โมเมนต์ (M) = แรง x ระยะทางตั้งฉากจากจุดหมุนถึง
แนวแรง หน่วยเป็นนิวตัน - เมตร (N-m)
M = F×
โมเมนต์ของแรงคู่ควบ - เมื่อมีแรงคู่ควบกระทำาต่อ
วัตถุ วัตถุจะเกิดการหมุน ดังนันโมเมนต์แรงคู่ควบ หา
                               ้
จาก แรง 1 แรง     × ระยะทางตั้งฉากระหว่างแนวแรง
การได้เปรียบเชิงกล (MA) คือ อัตราส่วนของแรงที่ได้จาก
เครื่องกล กับแรงที่ให้กับเครื่องกล
         F0
MA   =
         F1

F0   = แรงทีได้จากเครื่องกล
              ่
F1   = แรงที่ให้กับเครื่องกล
                           แบบฝึกหัด

1)




2)
3)




4)




5)




8)
9)




10)




      เฉลย
1)
2)




3)
4)




5)




8)
9)




10)

More Related Content

What's hot

05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรงwiriya kosit
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสChanthawan Suwanhitathorn
 
แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...
แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...
แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...ssuser100cd5
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 

What's hot (20)

07สมดุลกล
07สมดุลกล07สมดุลกล
07สมดุลกล
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...
แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...
แบบฝึกทักษะวิชาฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องโมเมนตัมและก...
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 

Similar to สมดุลกล

แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันWannalak Santipapwiwatana
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นChakkrawut Mueangkhon
 
1 5 work and energy
1 5 work and energy1 5 work and energy
1 5 work and energyKrumeaw
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาnang_phy29
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 Supaluk Juntap
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560krulef1805
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 

Similar to สมดุลกล (20)

3
33
3
 
3
33
3
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
1 5 work and energy
1 5 work and energy1 5 work and energy
1 5 work and energy
 
สมดุลกล1
สมดุลกล1สมดุลกล1
สมดุลกล1
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 

สมดุลกล

  • 1. สมดุลกล สภาพสมดุล (Equilibrium) คือ สมดุลที่เกิดขึ้นในขณะที่ วัตถุอยู่ในสภาพนิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ถ้า แรงลัพธ์ที่กระทำาต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์ สมดุลจะแบ่งเป็น 1. สมดุลสถิต (Static Equilibrium) เป็นสมดุลของ วัต ถุขณะอยู่นิ่ง 2. สมดุลจลน์ (Kinetic Equilibrium) เป็นสมดุลของ วัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ (a = 0) เมื่อพิจารณาการ เคลื่อนที่เป็นหลัก จะมีเงื่อนไขสมดุลอยู่ 2 อย่างคือ 1. สมดุลต่อการเลื่อนที่ คือ วัตถุอยู่นิ่งหรือเคลื่อนที่ n ด้วยความเร็วคงตัว จะมีค่า ∑F = 0 i =1 2. สมดุลต่อการหมุน คือ วัตถุมีอัตราการหมุนคงตัว n ผลรวมของโมเมนต์ ∑M = 0 i =1 หลักที่นำามาใช้ในการคำานวณในกรณีที่วัตถุสมดุลต่อการ เลื่อนที่ คือ 1. แตกแรง ∑ F x = 0 ⇒ ผลรวมของแรงทางด้านขวา = ผลรวมของ แรงทางด้านซ้าย ∑ F y = 0 ⇒ ผลรวมของแรงทางด้านบน = ผลรวมของ แรงทางด้านล่าง 2. ทฤษฎีลามี (กฎของ sine) แรง 3 แรงมากระทำากันที่จุด ๆ หนึ่ง และอยู่ในภาวะ สมดุล อัตราส่วนของแรงต่อ sin ของมุมตรงข้ามย่อมมีค่า เท่ากัน F1 F2 F3 = = sin θ sin β sin α 3. สามเหลี่ยมแทนแรง ถ้ามีแรง 3 แรงกระทำาร่วมกันที่จุด ๆ หนึ่ง และอยู่ใน ภาวะสมดุลโดยทิศของแรงทั้ง 3 แรงตั้งฉากกับด้านทั้ง 3 ของสามเหลี่ยมจะได้อัตราส่วนขนาดของแรงต่อด้าน
  • 2. ที่แรงนั้นตั้งฉากอยู่ แรงเสียดทาน ลักษณะของแรงเสียดทาน 1. ไม่ขึ้นกับจำานวนพื้นที่ผิวสัมผัส 2. ไม่ขึ้นกับความเร็วที่วัตถุเคลื่อนที่ และมีทิศตรง ข้ามการเคลื่อนที่ของวัตถุ 3. ขึนอยู่กับแรงที่วัตถุกดพื้นในแนวตั้งฉาก หรือ ้ แรงปฏิกิริยาของ พื้นในแนวตั้งฉาก 4. ขึนกับพื้นผิวสัมผัส เช่น ขรุขระ หรือเรียบ ้ แรงเสียดทานแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1. แรงเสียดทานสถิต (fs) เป็นแรงเสียดทานที่เกิดขึ้น ในขณะที่วัตถุอยู่นิ่ง จนถึงเริ่มต้นเคลื่อนที่ f = µ sN s fs = แรงเสียดทาน หน่วยเป็นนิวตัน µ s = สัมประสิทธิแรงเสียดทานสถิต N = แรงต้านของพื้นในแนวตั้งฉาก หน่วยเป็นนิวตัน 2. แรงเสียดทานจลน์ (fk) เป็นแรงเสียดทานขณะวัตถุ กำาลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ซึ่งจะมีค่าน้อยกว่าแรง เสียดทานสถิต f =µ N k k มุมของความเสียดทาน θ ถ้าวัตถุอยู่บนพื้นเอียงแล้ววัตถุลื่นไถลลงมาตามพื้นเอียง ด้วย ความเร็วคงที่ มุมที่พื้นระนาบเอียงกระทำากับแนว ระดับ คือ มุมของความเสียดทาน ( θ) f = mg sin θ N = mg cos θ f mg sin θ = N mg cos θ f µ= = tan θ N โมเมนต์ โมเมนต์ (M) = แรง x ระยะทางตั้งฉากจากจุดหมุนถึง แนวแรง หน่วยเป็นนิวตัน - เมตร (N-m)
  • 3. M = F× โมเมนต์ของแรงคู่ควบ - เมื่อมีแรงคู่ควบกระทำาต่อ วัตถุ วัตถุจะเกิดการหมุน ดังนันโมเมนต์แรงคู่ควบ หา ้ จาก แรง 1 แรง × ระยะทางตั้งฉากระหว่างแนวแรง การได้เปรียบเชิงกล (MA) คือ อัตราส่วนของแรงที่ได้จาก เครื่องกล กับแรงที่ให้กับเครื่องกล F0 MA = F1 F0 = แรงทีได้จากเครื่องกล ่ F1 = แรงที่ให้กับเครื่องกล แบบฝึกหัด 1) 2)
  • 5. 9) 10) เฉลย 1)