SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ทฤษฎีความอลวน: Chaos theory) เป็นทฤษฎีที่อธิบายถึงลักษณะพฤติกรรมของระบบพลวัต (คือ ระบบที่มี
   การเปลี่ยนแปลง เช่น เปลี่ยนแปลงตามเวลาที่เปลี่ยนไป) โดยลักษณะการเปลี่ยนแปลงของระบบที่เรียกว่าเคออสนี้
   จะมีลักษณะที่ปั่นป่วนจนดูคล้ายว่า การเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นแบบสุ่มหรือไร้ระเบียบ
   (random/stochastic) แต่จริง ๆ แล้ว ระบบเคออสนี้เป็นระบบแบบไม่สุ่ม หรือระบบที่มีระเบียบ
   (deterministic)

ในทางคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ คาจากัดความของระบบเคออส คือ ระบบไม่เชิงเส้น (nonlinear system)
   ประเภทหนึ่ง ที่มีความไวต่อสภาวะเริ่มต้น กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ถ้าระบบ 2 ระบบนั้นเริ่มต้นจากสภาวะที่แตกต่างกัน
   เพียงเล็กน้อย คือเกือบจะเหมือนกันทุกประการ เมื่อระบบได้มีการเปลี่ยนไปสักระยะหนึง สภาวะของระบบทังสอง
                                                                                      ่                ้
   ที่เราสังเกตได้เมือเวลาผ่านไปจะแตกต่างกันอย่างสังเกตเห็นได้ชด
                     ่                                           ั

เรามักจะได้ยินคาพูดทีนิยมพูดกันอย่างกว้างขวางที่ว่า "เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว" หรือ "ผีเสื้อขยับปีกทาให้เกิด
                      ่
     พายุ" (จาก "butterfly effect") ซึงมีคนจานวนไม่น้อยที่ตีความคาพูดนี้ในลักษณะของขนาดความรุนแรง
                                          ่
     ของผลลัพธ์เท่านั้น ระบบเคออสนั้นไม่จาเป็นจะต้องแตกต่างกันในแง่ของ ขนาด ของผลลัพธ์เสมอไป แต่อาจ
     แตกต่างกันในแง่ของ พฤติกรรม การเปลี่ยนแปลงก็ได้ จากตัวอย่างข้างต้น การเปลี่ยนแปลงของระบบทังสองนั้นจะ
                                                                                                      ้
     มีลักษณะที่คล้ายคลึงกันมากในขณะเริ่มต้น เมื่อเวลาผ่านไป การเปลี่ยนแปลงนั้นแทบจะเรียกได้ว่าไม่มีอะไรที่
     เหมือนกันเลย
จุดเริ่มต้นของทฤษฎีความอลวนนี้ สามารถสืบย้อนกลับไปได้ถึงในช่วงปี พ.ศ. 2443 (ค.ศ. 1900) จากการศึกษาปัญหา
วงโคจรของวัตถุสามชิ้นในสนามแรงดึงดูดระหว่างกัน ซึ่งมีชื่อเรียกเป็นทางการว่า ปัญหาสามวัตถุ (three-body problem) โดย
อองรี ปวงกาเร ซึ่งได้ค้นพบว่า วงโคจรที่ศึกษานั้นอาจจะมีลักษณะที่ไม่ได้เป็นวงรอบ (periodic) คือไม่ได้มีทางวิ่งซ้้าเป็นวงรอบ
ยิ่งไปกว่านั้น วงโคจรนั้นก็ไม่ได้ขยายวงออกไปเรื่อย ๆ หรือมีลักษณะที่ลู่เข้าหาจุดใด ๆ ต่อมาได้มีการศึกษาถึงปัญหาสมการเชิง
อนุพันธ์ไม่เป็นเชิงเส้นที่เกี่ยวข้อง โดยที่ เบอร์คอฟ (G.D. Birkhoff) นั้นศึกษาปัญหาสามวัตถุ คอลโมโกรอฟ ศึกษาปัญหาความ
ปั่นป่วน (หรือ เทอร์บิวเลนซ์) และปัญหาเกี่ยวกับดาราศาสตร์. ส่วน คาร์ทไรท์ (M.L. Cartwright) และ ลิตเติลวูด (J.E.
Littlewood) นั้นศึกษาปัญหาทางวิศวกรรมการสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุ. สเมล (Stephen Smale) นั้นอาจเป็นนักคณิตศาสตร์คนแรก
ที่ท้าการศึกษาถึงปัญหาทางด้านพลศาสตร์ของระบบไม่เป็นเชิงเส้น. ถึงแม้ว่าความอลวนของเส้นทางโคจรของดาว นั้นยังไม่ได้มี
การท้าการสังเกตบันทึกแต่อย่างใด แต่ก็ได้มีการสังเกตพบ พฤติกรรมความอลวนในความปั่นป่วนของการเคลื่อนที่ของของไหล
และ ในการออสซิลเลท แบบไม่เป็นวงรอบของวงจรวิทยุ ซึ่งไม่มีทฤษฎีใดในขณะนั้นสามารถอธิบายพฤติกรรมเหล่านี้ได้
          ความตื่นตัวในการพัฒนาทฤษฎีความอลวนนี้ เกิดขึ้นในช่วงกลางของศตวรรษที่ 20 เมื่อเป็นที่ประจักษ์ว่า ทฤษฎีของ
ระบบเชิงเส้นนั้นไม่สามารถใช้อธิบายพฤติกรรมบางอย่าง แม้กระทั่งพฤติกรรมของระบบที่ไม่ซับซ้อนอย่าง แมพลอจิสติก
(Logistic map) อีกปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลให้พัฒนาการของทฤษฎีความอลวนเป็นไปอย่างรวดเร็วก็คือ คอมพิวเตอร์ การค้านวณใน
ทฤษฎีความอลวนนั้น โดยส่วนใหญ่จะมีลักษณะที่เป็นการค้านวณค่าแบบซ้้า ๆ จากสูตรคณิตศาตร์ และสามารถใช้คอมพิวเตอร์
ช่วยในการค้านวณได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เอ็ดเวิร์ด ลอเรนซ์ (Edward Lorenz) เป็นผู้ริเริ่มบุกเบิกทฤษฎีความอลวน เขาได้สังเกตพฤติกรรมความ
อลวน ในขณะท้าการทดลองทางด้านการพยากรณ์อากาศ ในปี ค.ศ. 1961 ลอเรนซ์ใช้คอมพิวเตอร์ซิมูเลชัน
แบบจ้าลองสภาพอากาศ ซึ่งในการค้านวณครั้งถัดมาเขาไม่ต้องการเริ่มซิมูเลชันจากจุดเริ่มต้นใหม่ เพื่อ
ประหยัดเวลาในการค้านวณ เขาจึงใช้ขอมูลในการค้านวณก่อนหน้านี้เพื่อเป็นค่าเริ่มต้น ปรากฏว่าค่าที่ค้านวณได้มี
                                        ้
ความแตกต่างไปจากเดิมอย่างสิ้นเชิง เขาพบว่าสาเหตุเกิดจากการปัดเศษ ของค่าที่พิมพ์ออกมา จากค่าที่ใช้ใน
คอมพิวเตอร์ ซึ่งมีค่าน้อยมาก แต่สามารถน้าไปสู่ความแตกต่างอย่างมากมาย เรียกว่า ไวต่อสภาวะเริ่มต้น
        ค้า "butterfly effect" ซึ่งเป็นค้าที่นิยมใช้เมื่อกล่าวถึงทฤษฎีความอลวน นั้นมีที่มาไม่ชัดเจน เริ่มปรากฏ
แพร่หลายหลังจากการบรรยายของ ลอเรนซ์ ในปี ค.ศ. 1972 ภายใต้ชอหัวข้อ "Does the Flap of a Butterfly's
                                                                        ื่
Wings in Brazil Set Off a Tornado in Texas?" นอกจากนี้แล้วยังอาจมีส่วนมาจาก รูปแนวโคจรของตัวดึงดูดลอ
เรนซ์[2] (ดังรูปด้านขวามือ) ที่มีรูปร่างคล้ายผีเสื้อ ซึ่งเขาได้ตีพิมพ์ในบทความวิชาการก่อนหน้านี้
        ส่วนค้า "chaos" (เค-ออส) บัญญัติขึ้นโดย นักคณิตศาสตร์ประยุกต์ เจมส์ เอ ยอร์ค (James A. Yorke)
ทฤษฎีความอลวน (Chaos Theory) นั้น อธิบายด้วยภาพจ้าลองการเคลื่อนไหวของ ปรากฏการณ์เคออส
จากปัญหาสามวัตถุ
จากภาพเส้นที่ต่างกันสามเส้นแทนการเคลื่อนไหวของวัตถุสามชิ้น ซึงดูเหมือนไม่เป็นระเบียบ ทฤษฎีความอลวน
                                                                ่
(chaos theory) เป็นทฤษฎีที่อธิบายถึง ลักษณะพฤติกรรมของระบบพลวัต (คือ ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น
เปลี่ยนแปลงตามเวลาทีเ่ ปลี่ยนไป) โดยลักษณะการเปลี่ยนแปลงของระบบที่เรียกว่าเคออสนี้ จะมีลักษณะที่ปั่นป่วน
จนดูคล้ายว่า การเปลียนแปลงนั้น
                    ่
เป็นแบบสุ่มหรือไร้ระเบียบ (random/stochastic) แต่จริง ๆ แล้ว ระบบเคออสนี้เป็นระบบแบบไม่สุ่ม หรือระบบที่มี
ระเบียบ (deterministic) ในทางคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ ค้าจ้ากัดความของระบบเคออส คือ ระบบแบบไม่เป็นเชิง
เส้น (nonlinear system) ประเภทหนึ่ง ที่มีความไวต่อสภาวะเริ่มต้น กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ถ้าระบบ 2 ระบบนั้น
เริ่มต้นจากสภาวะที่แตกต่างกันเพียงเล็กน้อย คือเกือบจะเหมือนกันทุกประการ จากควันที่ลอยขึ้นมาตอนแรก หาก
โดนอากาศที่แปรปรวนแม้เพียงนิด ก้อจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างมหาศาลในช่วงหลัง)
เมื่อระบบได้มีการเปลี่ยนไปซักระยะหนึ่ง สภาวะของระบบทั้งสองที่เราสังเกตได้เมื่อเวลาผ่านไปจะ
แตกต่างกันอย่างสังเกตเห็นได้ชัด ในสภาพ Chaos, สภาพสับสนอลหม่าน, สภาพไร้ระเบียบ คือไร้เสถียรภาพ
(unstable) ที่มีความอ่อนไหวสูงยิ่ง หรือมีความเปราะบาง เมื่อมีการกระทบเพียงเล็กน้อยก็ทาให้เกิดความ
                                                                                        ้
เปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่เป็นเส้นตรง แต่เป็นทางที่คดเคี้ยว กวัดแกว่ง และบางครั้งก้าวกระโดด (sporadic) เกิดตรง
จุดนั้นบ้าง จุดนี้บ้าง ท้าให้ยากที่จะท้านายผลลัพธ์ได้ เพราะมีสิ่งอื่น ๆ
ที่มาเป็นองค์ประกอบหลาย ๆ อย่าง ในตอนหนึ่งของการอธิบายทฤษฎีไร้ระเบียบได้พูดถึงผลกระทบของ Butterfly
Effect
ซึ่งศาสตราจารย์ เอ็ดเวิร์ด (Edward Lorenz) ได้อธิบายไว้ว่า ในด้านทฤษฎีอุตุนยมวิทยา ผีเสื้อตัวหนึ่งกระพือปีกที่
                                                                             ิ
ฮ่องกง
สามารถที่จะท้าให้ดินฟ้าอากาศที่แคลิฟอร์เนียเปลี่ยนแปลงได้เมื่อ 1 เดือนให้หลัง นี่คือกระบวนการที่เรียกว่า
Butterfly Effect




                        (สมการของ Edward ที่ใช้คาเริ่มต้นจากตรงกลางในการทดลองครั้งที่ 2)
                                                ่
Edward บอกว่าเค้าค้นพบโดยบังเอิญ จากกระบวนการที่เค้านั่งเฝ้าตัวเลขที่ค่อย ๆ ปรับเปลี่ยนไปเป็น
   .0000001 ของทศนิยม
   และนั่งเฝ้าเข็มรายงานความเคลื่อนไหวของอากาศ ทุกครั้งที่เกิดการสั่งสะเทือนของระบบการรับข่าวสารเกี่ยวกับ
   สภาวะอากาศ
   และเฝ้าสังเกตดูจุดทศนิยมที่เปลี่ยนแปลงไปแต่ละจุด ๆ เมือเกิดความคลาดเคลื่อนไปแล้วจะท้าให้เกิดรูปร่างที่เมือน
                                                         ่
   กับโครงสร้างของผีเสื้อ Edward ยังพบอีกว่า .0000001 ที่คลาดเคลื่อนไปก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงได้อย่าง
   มหาศาล การเปลียนแปลงอย่างมหาศาลในภาวะแวดล้อมของอุตุนยมวิทยาไม่ใช่เกิดขึ้นจากสาเหตุใหญ่ ๆ เลย
                    ่                                           ิ
   หากแต่เกิดขึ้นจากสัญญาณเล็ก ๆ เป็นจุด ๆ




กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจุดเริ่มต้นกับจุดสะเทินที่ท้าให้ค่าเปลี่ยนไป)
Edward จึงอธิบายว่าถ้ามันเป็นเช่นนี้จริงก็หมายความว่า แม้กระทั่งผีเสื้อตัวเล็ก ๆ กระพือปีกเบา ๆ อยู่ที่
ฮ่องกง
ปีกที่กระพือนั้นอาจจะสะเทือนส่งไปถึงแคลิฟอร์เนีย หรืออีกซีกโลกก็เป็นได้ ถ้าระบบนั้นอยู่ใกล้จุดสมดุลสะเทิน
ท้านองเดียวกันกับค้าอุปมาทีว่าฟางเส้นสุดท้ายที่หักหลังอูฐ (ค้าพังเพยฝรั่ง) ในการไหลของของไหลก็เช่นกัน
การสะดุดความขรุขระเพียงนิดเดียวก็อาจท้าให้เกิดการเปลียนสถานะจากการไหลแบบราบเรียบเป็นการไหลแบบ
                                                           ่
ปั่นป่วนได้
ถ้าการไหลนั้นอยู่ใกล้จดวิกฤติ(ซึ่งสามารถค้านวณหาได้)
                        ุ
         เรามักจะได้ยินค้าพูดที่เป็นที่นิยมพูดกันอย่างกว้างขวางที่ว่า "เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว" หรือ "ผีเสื้อ
ขยับปีกท้าให้เกิดพายุ" (จาก "butterfly effect") ที่โปรยหัวไว้ข้างต้น ซึ่งมีคนจ้านวนไม่น้อยที่ตีความในลักษณะ
ของขนาดความรุนแรงของผลลัพธ์เท่านั้น ระบบเคออสนั้นไม่จ้าเป็นจะต้องแตกต่างกันในแง่ของ ขนาด ของ
ผลลัพธ์เสมอไป แต่อาจแตกต่างกันในแง่ของ พฤติกรรม การเปลี่ยนแปลงก็ได้ จากตัวอย่างข้างบน การเปลี่ยนแปลง
ของระบบทั้งสองนั้นจะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันมากในขณะเริ่มต้น เมื่อเวลาผ่านไป การเปลียนแปลงนั้นแทบจะ
                                                                                          ่
เรียกได้ว่าไม่มีอะไรที่เหมือนกันเลย
         สิ่งที่น่าสนใจคือ Chaos theory จะเกิดผลกระทบต่อโลกอย่างไร? จะเกิด Global Effect อย่างไรต่อไป ?
(เกิดกับคนทั้งโลก Ex. ปรากฏการณ์เอลนินโญ่ เกิดจากการที่กระแสน้้าอุ่นเปลี่ยนทิศทาง จากที่เคยไหลเรียบฝั่ง
แอฟริกาอยู่ดี ๆ
ก็ข้ามฝากมายังอเมริกาใต้ สู่มหาสมุทรแปซิฟิก ผลส่วนหนึ่งคือ ท้าให้เกิดไฟไหม้ป่าที่เกาะสุมาตรา
จากป่าที่เป็นเคยสมบูรณ์ที่สุดในแถบเอเชีย ซึงการที่กระแสน้้าอุ่นเปลี่ยนทิศทางนั้นเป็นผลมาจากการสะสมความ
                                              ่
เปลี่ยนแปลง
ทีละเล็ก ละน้อย แต่ความเป็นจริงมีสัญญาณเตือนภัยที่สอเค้ามาก่อนแล้ว เช่น หิมะละลาย แผ่นดินถล่ม แต่ก็ไม่มีคน
                                                        ่
สนใจ
“…สุดท้ายนี้คือ ถ้ามองอย่างผิวเผินที่สุด เพียงจุดเล็ก ๆ จุดหนึ่งใน
ชีวิตประจ้าวันอาจจะพลิกโฉมหน้าชีวิตทั้งชีวิตของเราไปเลยก็ได้ หรือแม้แต่คน
เล็ก ๆ คนหนึ่งในสังคม อาจจะก่อให้เกิดแรงพลักดันก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลง
ครั้งใหญ่ได้ในสังคม มาถึงวันนี้แล้ว
    ถ้าใครที่มัวแต่คิดว่าสังคมมันแย่ ชีวิตมันแย่ คุณจะเป็นฝ่ายที่คิดว่า ในเมื่อมัน
แย่ไปแล้ว เราแย่อีกซักคนมันจะเป็นไรไป หรือคุณพร้อมที่จะเป็นจุดเล็ก ๆ
จุดนึง ที่อาจจะพลิกทั้งชีวิต เปลี่ยนแปลงสังคมให้ดีขึ้นได้ ก็ต้องเลือกเอา...”

More Related Content

Viewers also liked

ทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกมทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกม
saranthorn007
 
Game theory
Game theoryGame theory
Game theory
nissai
 
ทฤษฎีเกม (Game theory)
ทฤษฎีเกม (Game theory)ทฤษฎีเกม (Game theory)
ทฤษฎีเกม (Game theory)
umaraporn
 
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
Rose Banioki
 
งานพักกาด
งานพักกาดงานพักกาด
งานพักกาด
Rujeewan
 
งานที่3
งานที่3งานที่3
งานที่3
chalita41
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
Aungkana Na Na
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
KawinTheSinestron
 

Viewers also liked (14)

ทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกมทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกม
 
Game theory
Game theoryGame theory
Game theory
 
ทฤษฎีเกม (Game theory)
ทฤษฎีเกม (Game theory)ทฤษฎีเกม (Game theory)
ทฤษฎีเกม (Game theory)
 
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
 
งานพักกาด
งานพักกาดงานพักกาด
งานพักกาด
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Work hard work_smart_
Work hard work_smart_Work hard work_smart_
Work hard work_smart_
 
งานที่3
งานที่3งานที่3
งานที่3
 
เบื่องาน
เบื่องานเบื่องาน
เบื่องาน
 
เกม 24 ใหม่
เกม  24 ใหม่เกม  24 ใหม่
เกม 24 ใหม่
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
Chaos Theory: An Introduction
Chaos Theory: An IntroductionChaos Theory: An Introduction
Chaos Theory: An Introduction
 

Similar to ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3

C:\Documents And Settings\Compaq\My Documents\ทฤษฎีความอลวน Chaos Theory
C:\Documents And Settings\Compaq\My Documents\ทฤษฎีความอลวน Chaos TheoryC:\Documents And Settings\Compaq\My Documents\ทฤษฎีความอลวน Chaos Theory
C:\Documents And Settings\Compaq\My Documents\ทฤษฎีความอลวน Chaos Theory
Mew
 
C:\Documents And Settings\Compaq\My Documents\Chaos Theory
C:\Documents And Settings\Compaq\My Documents\Chaos TheoryC:\Documents And Settings\Compaq\My Documents\Chaos Theory
C:\Documents And Settings\Compaq\My Documents\Chaos Theory
Mew
 
งานช่อ
งานช่องานช่อ
งานช่อ
nantalak42
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพ
Sakchai Sodsejan
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
kalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
ratchaneeseangkla
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
Peammavit Supavivat
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
Peammavit Supavivat
 

Similar to ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3 (20)

C:\Documents And Settings\Compaq\My Documents\ทฤษฎีความอลวน Chaos Theory
C:\Documents And Settings\Compaq\My Documents\ทฤษฎีความอลวน Chaos TheoryC:\Documents And Settings\Compaq\My Documents\ทฤษฎีความอลวน Chaos Theory
C:\Documents And Settings\Compaq\My Documents\ทฤษฎีความอลวน Chaos Theory
 
C:\Documents And Settings\Compaq\My Documents\Chaos Theory
C:\Documents And Settings\Compaq\My Documents\Chaos TheoryC:\Documents And Settings\Compaq\My Documents\Chaos Theory
C:\Documents And Settings\Compaq\My Documents\Chaos Theory
 
Chaos theory
Chaos theoryChaos theory
Chaos theory
 
Chaos theory
Chaos theoryChaos theory
Chaos theory
 
Chaos theory
Chaos theoryChaos theory
Chaos theory
 
Chaos theory
Chaos theoryChaos theory
Chaos theory
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
Chaos Theory
Chaos TheoryChaos Theory
Chaos Theory
 
งานช่อ
งานช่องานช่อ
งานช่อ
 
งานแคท
งานแคทงานแคท
งานแคท
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 

ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3

  • 1.
  • 2. ทฤษฎีความอลวน: Chaos theory) เป็นทฤษฎีที่อธิบายถึงลักษณะพฤติกรรมของระบบพลวัต (คือ ระบบที่มี การเปลี่ยนแปลง เช่น เปลี่ยนแปลงตามเวลาที่เปลี่ยนไป) โดยลักษณะการเปลี่ยนแปลงของระบบที่เรียกว่าเคออสนี้ จะมีลักษณะที่ปั่นป่วนจนดูคล้ายว่า การเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นแบบสุ่มหรือไร้ระเบียบ (random/stochastic) แต่จริง ๆ แล้ว ระบบเคออสนี้เป็นระบบแบบไม่สุ่ม หรือระบบที่มีระเบียบ (deterministic) ในทางคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ คาจากัดความของระบบเคออส คือ ระบบไม่เชิงเส้น (nonlinear system) ประเภทหนึ่ง ที่มีความไวต่อสภาวะเริ่มต้น กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ถ้าระบบ 2 ระบบนั้นเริ่มต้นจากสภาวะที่แตกต่างกัน เพียงเล็กน้อย คือเกือบจะเหมือนกันทุกประการ เมื่อระบบได้มีการเปลี่ยนไปสักระยะหนึง สภาวะของระบบทังสอง ่ ้ ที่เราสังเกตได้เมือเวลาผ่านไปจะแตกต่างกันอย่างสังเกตเห็นได้ชด ่ ั เรามักจะได้ยินคาพูดทีนิยมพูดกันอย่างกว้างขวางที่ว่า "เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว" หรือ "ผีเสื้อขยับปีกทาให้เกิด ่ พายุ" (จาก "butterfly effect") ซึงมีคนจานวนไม่น้อยที่ตีความคาพูดนี้ในลักษณะของขนาดความรุนแรง ่ ของผลลัพธ์เท่านั้น ระบบเคออสนั้นไม่จาเป็นจะต้องแตกต่างกันในแง่ของ ขนาด ของผลลัพธ์เสมอไป แต่อาจ แตกต่างกันในแง่ของ พฤติกรรม การเปลี่ยนแปลงก็ได้ จากตัวอย่างข้างต้น การเปลี่ยนแปลงของระบบทังสองนั้นจะ ้ มีลักษณะที่คล้ายคลึงกันมากในขณะเริ่มต้น เมื่อเวลาผ่านไป การเปลี่ยนแปลงนั้นแทบจะเรียกได้ว่าไม่มีอะไรที่ เหมือนกันเลย
  • 3. จุดเริ่มต้นของทฤษฎีความอลวนนี้ สามารถสืบย้อนกลับไปได้ถึงในช่วงปี พ.ศ. 2443 (ค.ศ. 1900) จากการศึกษาปัญหา วงโคจรของวัตถุสามชิ้นในสนามแรงดึงดูดระหว่างกัน ซึ่งมีชื่อเรียกเป็นทางการว่า ปัญหาสามวัตถุ (three-body problem) โดย อองรี ปวงกาเร ซึ่งได้ค้นพบว่า วงโคจรที่ศึกษานั้นอาจจะมีลักษณะที่ไม่ได้เป็นวงรอบ (periodic) คือไม่ได้มีทางวิ่งซ้้าเป็นวงรอบ ยิ่งไปกว่านั้น วงโคจรนั้นก็ไม่ได้ขยายวงออกไปเรื่อย ๆ หรือมีลักษณะที่ลู่เข้าหาจุดใด ๆ ต่อมาได้มีการศึกษาถึงปัญหาสมการเชิง อนุพันธ์ไม่เป็นเชิงเส้นที่เกี่ยวข้อง โดยที่ เบอร์คอฟ (G.D. Birkhoff) นั้นศึกษาปัญหาสามวัตถุ คอลโมโกรอฟ ศึกษาปัญหาความ ปั่นป่วน (หรือ เทอร์บิวเลนซ์) และปัญหาเกี่ยวกับดาราศาสตร์. ส่วน คาร์ทไรท์ (M.L. Cartwright) และ ลิตเติลวูด (J.E. Littlewood) นั้นศึกษาปัญหาทางวิศวกรรมการสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุ. สเมล (Stephen Smale) นั้นอาจเป็นนักคณิตศาสตร์คนแรก ที่ท้าการศึกษาถึงปัญหาทางด้านพลศาสตร์ของระบบไม่เป็นเชิงเส้น. ถึงแม้ว่าความอลวนของเส้นทางโคจรของดาว นั้นยังไม่ได้มี การท้าการสังเกตบันทึกแต่อย่างใด แต่ก็ได้มีการสังเกตพบ พฤติกรรมความอลวนในความปั่นป่วนของการเคลื่อนที่ของของไหล และ ในการออสซิลเลท แบบไม่เป็นวงรอบของวงจรวิทยุ ซึ่งไม่มีทฤษฎีใดในขณะนั้นสามารถอธิบายพฤติกรรมเหล่านี้ได้ ความตื่นตัวในการพัฒนาทฤษฎีความอลวนนี้ เกิดขึ้นในช่วงกลางของศตวรรษที่ 20 เมื่อเป็นที่ประจักษ์ว่า ทฤษฎีของ ระบบเชิงเส้นนั้นไม่สามารถใช้อธิบายพฤติกรรมบางอย่าง แม้กระทั่งพฤติกรรมของระบบที่ไม่ซับซ้อนอย่าง แมพลอจิสติก (Logistic map) อีกปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลให้พัฒนาการของทฤษฎีความอลวนเป็นไปอย่างรวดเร็วก็คือ คอมพิวเตอร์ การค้านวณใน ทฤษฎีความอลวนนั้น โดยส่วนใหญ่จะมีลักษณะที่เป็นการค้านวณค่าแบบซ้้า ๆ จากสูตรคณิตศาตร์ และสามารถใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยในการค้านวณได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 4. เอ็ดเวิร์ด ลอเรนซ์ (Edward Lorenz) เป็นผู้ริเริ่มบุกเบิกทฤษฎีความอลวน เขาได้สังเกตพฤติกรรมความ อลวน ในขณะท้าการทดลองทางด้านการพยากรณ์อากาศ ในปี ค.ศ. 1961 ลอเรนซ์ใช้คอมพิวเตอร์ซิมูเลชัน แบบจ้าลองสภาพอากาศ ซึ่งในการค้านวณครั้งถัดมาเขาไม่ต้องการเริ่มซิมูเลชันจากจุดเริ่มต้นใหม่ เพื่อ ประหยัดเวลาในการค้านวณ เขาจึงใช้ขอมูลในการค้านวณก่อนหน้านี้เพื่อเป็นค่าเริ่มต้น ปรากฏว่าค่าที่ค้านวณได้มี ้ ความแตกต่างไปจากเดิมอย่างสิ้นเชิง เขาพบว่าสาเหตุเกิดจากการปัดเศษ ของค่าที่พิมพ์ออกมา จากค่าที่ใช้ใน คอมพิวเตอร์ ซึ่งมีค่าน้อยมาก แต่สามารถน้าไปสู่ความแตกต่างอย่างมากมาย เรียกว่า ไวต่อสภาวะเริ่มต้น ค้า "butterfly effect" ซึ่งเป็นค้าที่นิยมใช้เมื่อกล่าวถึงทฤษฎีความอลวน นั้นมีที่มาไม่ชัดเจน เริ่มปรากฏ แพร่หลายหลังจากการบรรยายของ ลอเรนซ์ ในปี ค.ศ. 1972 ภายใต้ชอหัวข้อ "Does the Flap of a Butterfly's ื่ Wings in Brazil Set Off a Tornado in Texas?" นอกจากนี้แล้วยังอาจมีส่วนมาจาก รูปแนวโคจรของตัวดึงดูดลอ เรนซ์[2] (ดังรูปด้านขวามือ) ที่มีรูปร่างคล้ายผีเสื้อ ซึ่งเขาได้ตีพิมพ์ในบทความวิชาการก่อนหน้านี้ ส่วนค้า "chaos" (เค-ออส) บัญญัติขึ้นโดย นักคณิตศาสตร์ประยุกต์ เจมส์ เอ ยอร์ค (James A. Yorke)
  • 5. ทฤษฎีความอลวน (Chaos Theory) นั้น อธิบายด้วยภาพจ้าลองการเคลื่อนไหวของ ปรากฏการณ์เคออส จากปัญหาสามวัตถุ จากภาพเส้นที่ต่างกันสามเส้นแทนการเคลื่อนไหวของวัตถุสามชิ้น ซึงดูเหมือนไม่เป็นระเบียบ ทฤษฎีความอลวน ่ (chaos theory) เป็นทฤษฎีที่อธิบายถึง ลักษณะพฤติกรรมของระบบพลวัต (คือ ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น เปลี่ยนแปลงตามเวลาทีเ่ ปลี่ยนไป) โดยลักษณะการเปลี่ยนแปลงของระบบที่เรียกว่าเคออสนี้ จะมีลักษณะที่ปั่นป่วน จนดูคล้ายว่า การเปลียนแปลงนั้น ่ เป็นแบบสุ่มหรือไร้ระเบียบ (random/stochastic) แต่จริง ๆ แล้ว ระบบเคออสนี้เป็นระบบแบบไม่สุ่ม หรือระบบที่มี ระเบียบ (deterministic) ในทางคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ ค้าจ้ากัดความของระบบเคออส คือ ระบบแบบไม่เป็นเชิง เส้น (nonlinear system) ประเภทหนึ่ง ที่มีความไวต่อสภาวะเริ่มต้น กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ถ้าระบบ 2 ระบบนั้น เริ่มต้นจากสภาวะที่แตกต่างกันเพียงเล็กน้อย คือเกือบจะเหมือนกันทุกประการ จากควันที่ลอยขึ้นมาตอนแรก หาก โดนอากาศที่แปรปรวนแม้เพียงนิด ก้อจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างมหาศาลในช่วงหลัง)
  • 6. เมื่อระบบได้มีการเปลี่ยนไปซักระยะหนึ่ง สภาวะของระบบทั้งสองที่เราสังเกตได้เมื่อเวลาผ่านไปจะ แตกต่างกันอย่างสังเกตเห็นได้ชัด ในสภาพ Chaos, สภาพสับสนอลหม่าน, สภาพไร้ระเบียบ คือไร้เสถียรภาพ (unstable) ที่มีความอ่อนไหวสูงยิ่ง หรือมีความเปราะบาง เมื่อมีการกระทบเพียงเล็กน้อยก็ทาให้เกิดความ ้ เปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่เป็นเส้นตรง แต่เป็นทางที่คดเคี้ยว กวัดแกว่ง และบางครั้งก้าวกระโดด (sporadic) เกิดตรง จุดนั้นบ้าง จุดนี้บ้าง ท้าให้ยากที่จะท้านายผลลัพธ์ได้ เพราะมีสิ่งอื่น ๆ ที่มาเป็นองค์ประกอบหลาย ๆ อย่าง ในตอนหนึ่งของการอธิบายทฤษฎีไร้ระเบียบได้พูดถึงผลกระทบของ Butterfly Effect ซึ่งศาสตราจารย์ เอ็ดเวิร์ด (Edward Lorenz) ได้อธิบายไว้ว่า ในด้านทฤษฎีอุตุนยมวิทยา ผีเสื้อตัวหนึ่งกระพือปีกที่ ิ ฮ่องกง สามารถที่จะท้าให้ดินฟ้าอากาศที่แคลิฟอร์เนียเปลี่ยนแปลงได้เมื่อ 1 เดือนให้หลัง นี่คือกระบวนการที่เรียกว่า Butterfly Effect (สมการของ Edward ที่ใช้คาเริ่มต้นจากตรงกลางในการทดลองครั้งที่ 2) ่
  • 7. Edward บอกว่าเค้าค้นพบโดยบังเอิญ จากกระบวนการที่เค้านั่งเฝ้าตัวเลขที่ค่อย ๆ ปรับเปลี่ยนไปเป็น .0000001 ของทศนิยม และนั่งเฝ้าเข็มรายงานความเคลื่อนไหวของอากาศ ทุกครั้งที่เกิดการสั่งสะเทือนของระบบการรับข่าวสารเกี่ยวกับ สภาวะอากาศ และเฝ้าสังเกตดูจุดทศนิยมที่เปลี่ยนแปลงไปแต่ละจุด ๆ เมือเกิดความคลาดเคลื่อนไปแล้วจะท้าให้เกิดรูปร่างที่เมือน ่ กับโครงสร้างของผีเสื้อ Edward ยังพบอีกว่า .0000001 ที่คลาดเคลื่อนไปก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงได้อย่าง มหาศาล การเปลียนแปลงอย่างมหาศาลในภาวะแวดล้อมของอุตุนยมวิทยาไม่ใช่เกิดขึ้นจากสาเหตุใหญ่ ๆ เลย ่ ิ หากแต่เกิดขึ้นจากสัญญาณเล็ก ๆ เป็นจุด ๆ กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจุดเริ่มต้นกับจุดสะเทินที่ท้าให้ค่าเปลี่ยนไป)
  • 8. Edward จึงอธิบายว่าถ้ามันเป็นเช่นนี้จริงก็หมายความว่า แม้กระทั่งผีเสื้อตัวเล็ก ๆ กระพือปีกเบา ๆ อยู่ที่ ฮ่องกง ปีกที่กระพือนั้นอาจจะสะเทือนส่งไปถึงแคลิฟอร์เนีย หรืออีกซีกโลกก็เป็นได้ ถ้าระบบนั้นอยู่ใกล้จุดสมดุลสะเทิน ท้านองเดียวกันกับค้าอุปมาทีว่าฟางเส้นสุดท้ายที่หักหลังอูฐ (ค้าพังเพยฝรั่ง) ในการไหลของของไหลก็เช่นกัน การสะดุดความขรุขระเพียงนิดเดียวก็อาจท้าให้เกิดการเปลียนสถานะจากการไหลแบบราบเรียบเป็นการไหลแบบ ่ ปั่นป่วนได้ ถ้าการไหลนั้นอยู่ใกล้จดวิกฤติ(ซึ่งสามารถค้านวณหาได้) ุ เรามักจะได้ยินค้าพูดที่เป็นที่นิยมพูดกันอย่างกว้างขวางที่ว่า "เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว" หรือ "ผีเสื้อ ขยับปีกท้าให้เกิดพายุ" (จาก "butterfly effect") ที่โปรยหัวไว้ข้างต้น ซึ่งมีคนจ้านวนไม่น้อยที่ตีความในลักษณะ ของขนาดความรุนแรงของผลลัพธ์เท่านั้น ระบบเคออสนั้นไม่จ้าเป็นจะต้องแตกต่างกันในแง่ของ ขนาด ของ ผลลัพธ์เสมอไป แต่อาจแตกต่างกันในแง่ของ พฤติกรรม การเปลี่ยนแปลงก็ได้ จากตัวอย่างข้างบน การเปลี่ยนแปลง ของระบบทั้งสองนั้นจะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันมากในขณะเริ่มต้น เมื่อเวลาผ่านไป การเปลียนแปลงนั้นแทบจะ ่ เรียกได้ว่าไม่มีอะไรที่เหมือนกันเลย สิ่งที่น่าสนใจคือ Chaos theory จะเกิดผลกระทบต่อโลกอย่างไร? จะเกิด Global Effect อย่างไรต่อไป ? (เกิดกับคนทั้งโลก Ex. ปรากฏการณ์เอลนินโญ่ เกิดจากการที่กระแสน้้าอุ่นเปลี่ยนทิศทาง จากที่เคยไหลเรียบฝั่ง แอฟริกาอยู่ดี ๆ ก็ข้ามฝากมายังอเมริกาใต้ สู่มหาสมุทรแปซิฟิก ผลส่วนหนึ่งคือ ท้าให้เกิดไฟไหม้ป่าที่เกาะสุมาตรา จากป่าที่เป็นเคยสมบูรณ์ที่สุดในแถบเอเชีย ซึงการที่กระแสน้้าอุ่นเปลี่ยนทิศทางนั้นเป็นผลมาจากการสะสมความ ่ เปลี่ยนแปลง ทีละเล็ก ละน้อย แต่ความเป็นจริงมีสัญญาณเตือนภัยที่สอเค้ามาก่อนแล้ว เช่น หิมะละลาย แผ่นดินถล่ม แต่ก็ไม่มีคน ่ สนใจ
  • 9. “…สุดท้ายนี้คือ ถ้ามองอย่างผิวเผินที่สุด เพียงจุดเล็ก ๆ จุดหนึ่งใน ชีวิตประจ้าวันอาจจะพลิกโฉมหน้าชีวิตทั้งชีวิตของเราไปเลยก็ได้ หรือแม้แต่คน เล็ก ๆ คนหนึ่งในสังคม อาจจะก่อให้เกิดแรงพลักดันก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ครั้งใหญ่ได้ในสังคม มาถึงวันนี้แล้ว ถ้าใครที่มัวแต่คิดว่าสังคมมันแย่ ชีวิตมันแย่ คุณจะเป็นฝ่ายที่คิดว่า ในเมื่อมัน แย่ไปแล้ว เราแย่อีกซักคนมันจะเป็นไรไป หรือคุณพร้อมที่จะเป็นจุดเล็ก ๆ จุดนึง ที่อาจจะพลิกทั้งชีวิต เปลี่ยนแปลงสังคมให้ดีขึ้นได้ ก็ต้องเลือกเอา...”