SlideShare a Scribd company logo
มนุษย์กับภาษา 
รองศศาาสตรราาจจาารยย์์ ดร. กิติมา อินทรัมพรรย์
เเนนืื้้อหหาา 
 ภาษามนุษย์กับภาษาสัตว์ 
 หน้าที่ของภาษา 
 บทบาทของภาษาในสังคม 
 วววิิััฒนนาากกาารของภภาาษษาามนนุุษยย์์ 
 แนวคิดเกี่ยวกับกำเนิดของภาษามนุษย์ 
 ภาษากับตัวอักษร 
 ตระกูลภาษา 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์2
ภภาาษษาามนนุุษยย์์กกัับภภาาษษาาสสััตวว์์ 
ภาษามนุษย์ ภาษาสัตว์ 
 อวัยวะในการออกเสียง 
 มีระบบภาษาสองระดับทั้งหน่วยเสียงและ 
หน่วยคำ 
 มีความสามารถในการเข้าใจและสร้างคำ 
 ไม่มีอวัยวะในการออกเสียง 
 ไม่มี 
 ไม่สามารถคิดค้นศัพท์ใหม่ สร้างประโยค 
ใหม่ ในสถานการณ์ใหม่ๆ มักใช้การ 
แต่งประโยค สำนวนใหม่ๆ 
 รับภาษาใหม่ด้วยการเรียนรู้ภาษา 
 สามารถสื่อสารและอ้างถึงบุคคลที่ไม่ 
เกี่ยวข้อง หรือ เรื่องในจิตนาการ อดีต หรือ 
อนาคต 
 แต่ละภาษามีการใช้คำศัพท์แตกต่างกัน 
เลียนแบบ 
 ระบบการสื่อสารแบบปิด ไม่สามารถเรียนรู้ 
ภาษาของสัตว์อื่นๆ ได้ 
 สื่อสารได้เฉพาะเหตุการณ์เฉพาะหน้า 
 โต้ตอบด้วยสัญชาตญาณ 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์3
หน้าที่ของภาษา 
 เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร 
 เป็นเครื่องมือถ่ายทอดวิทยาการ 
 สะท้อนความคิดของมนุษย์ในแต่ละสังคมที่มีต่อโลก 
 สะท้อนวัฒนธรรม 
 บ่งบอกถึงเอกลักษณ์และลักษณะของผู้ใช้ กลุ่มสังคม 
หรือชนชั้น 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์4
ภาษาเป็นเครื่องมือสื่อสาร 
 ภาษาพูด การใช้ภาษาแตกต่างกันตามสถานการณ์ ตามบุคคลที่ 
สื่อสารด้วย 
 ภาษาเขียน 
 ภภาาษษาาทท่่าาททาาง 
 สายตา 
 ท่าทาง 
 ระยะห่าง 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์5
ภาษาเป็นเครื่องมือถ่ายทอดวิทยาการ 
 แฟกซ์ โปสต์การ์ด อีเมล์ ไลน์ โทรศัพท์ 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์6
ภาษาสะท้อนความคิดของคนในสังคม 
 ภาษาสะท้อนความคิด มุมมองอย่างไร 
 ภาษาญี่ปุ่น ภาษาไทย ภาษาเขมร มี honorific term 
สะท้อนเฉพาะกลุ่มคนต่างชนชั้น 
 ภภาาษษาาสสะะทออ้้นสสัังคม 
 ความสัมพันธ์ระหว่างเครือญาติ - คำเรียกญาติ 
 ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม 
 การแบ่งระดับชั้นในสังคม - คำนำหน้าชื่อ 
 ความแตกต่างระหว่างชาย หญิง 
 – master vs. mistress 
 -- นาง นางสาว vs. นาย 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์7
ภาษาสะท้อนวัฒนธรรม 
 คำว่า ‘หิมะ’ ในภาษาอังกฤษ ให้ความหมายแตกต่างตามประเภทของ 
หิมะ “blizzard", “flurry", "pack", "slush", "drift", "sleet", and 
"powder” 
 ฝน ใในนภภาาษษาาไไททย 
 แสดงลักษณะ ฝน เช่น สายฝน ละอองฝน ฝนขาดเม็ด ฝนสั่งฟ้า พายุฝน 
ฝนแล้ง ฝนหลงฤดู 
 กริยาใช้กับ ฝน เช่น ฝนกระหน่ำ ฝนชุก ฝนปรอย ฝนพรำ 
ติดฝน ตากฝน 
 มโนทัศน์ คำว่า เกรงใจ ไม่พบในวัฒนธรรมอื่น 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์8
ภาษาสะท้อนวัฒนธรรม 
สีอะไร 
Paul Kay, “Synchronic Variability and Diachronic Change in 
GRUE 
Basic Colour Terms,” in Language, Culture and Cognition 
(1975) : 257-272. 
วัฒนธรรมที่เรียบง่าย ไม่มีควมซับซ้อนด้านเทคโนโลยี มีจำนวนคำเรียกสีพื้นฐานน้อย 
http://en.wikipedia.org/wiki/Color_term 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์9
คำเรียกสีกับวัฒนธรรม 
 ภาษาไทยสุโขทัยมี 5 คำ คือ ขาว ดำ แดง เหลือง เขียว 
 สีเขียวในภาษาไทยสมัยสุโขทัย มีขอบเขตสีกว้างกว่าปัจจุบัน คือ 
ครอบคลุม เขียว น้ำเงิน ม่วง 
-- เขียวดังดอกผักตบ 
-- เขียวดังดอกอินทนิล 
-- เขียวดังดอกอัญชัน 
 ในภาษาไทยปัจจุบันมี 12 คำ 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์ 10
คำเรียกสีในภาษาไทย 
 สีกับประสบการณ์ -- สีช็อกกิ งพิ ง สีดอกไลแล็ก 
 สีจากสิง#ของ สัตว์ หรือสิง#ใกลตั้ว -- สีแดงเลือดหมู 
สีแดงกำมะหยี #สีแดงเลือดนก สีชมพูบานเย็น สีกะปิ 
สีอิฐ http://thorfun.com/oazth/story/51a8a870aeeb59372800c47e 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์ 11 
ม
ภาษาสะท้อนสังคม วัฒนธรรม 
 สาเหตุของการยืมคำ 
 สภาพภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์ใกล้ชิดทางสังคม - ลาว 
เขมร พม่า มาเลย์ 
 กกาารยย้้าายถถิิ่่นฐฐาาน ตตัั้้งรกรราากของคนใในนปรระะววััตติิศศาาสตรร์์ –– เเขขมร 
ละว้า มอญ จีน 
 การค้าขาย - อังกฤษ ฝรั่งเศส จีน โปรตุเกส 
 การถ่ายทอดทางวรรณคดีและศาสนา – วรรณคดีอินเดีย 
และชวาใช้ภาษาสันสกฤต ศาสนาพราหมณ์ใช้ภาษา 
สันสกฤต ศาสนาพุทธใช้ภาษาบาลี 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์12
ตัวอย่างคำยืมภาษาต่างๆ ในภาษาไทย 
 คำยืม แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างสังคม วัฒนธรรม 
 จีน - ก๋วยเตยี๋ว บะหมี่ เฉาก๊วย จับฉ่าย หุน้ หา้ง ก๋ง ตุ๋น 
 เขมร – ขนบ ตำรวจ กะทิ บำบัด เจริญ ฉงน สงบ 
 บาลี – กิริยา วิญญาณ อัคคี สัจจะ มัจฉา สูญ 
 สสัันสกฤต –– ออาาจจาารยย์์ จจุุฑฑาา กษษััตรริิยย์์ บบุุรรุุษ สตรรีี ศศููนยย์์ 
 มาเลย์ – บูดู สเต๊ะ ซาหริ่ม ปาเต๊ะ ทุเรียน สลัด 
 มอญ - ประเคน 
 อังกฤษ - เลน แท็กซี่ 
 โปรตุเกส – สบู่ ปิ่นโต 
 ทมิฬ - กุลี 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์13
ภาษาแสดงเอกลักษณ์ของคนในสังคม 
 ภาษาแสดงเอกลักษณ์และภูมิหลังของผู้ใช้ เช่น เชื้อชาติ 
ถิ่นกำเนิด อายุ เพศ 
 เเสสีียงพยยััญชนนะะ 
 ผู้พูดภาษาไทยถิ่นเหนือ -- ฮ แทน ร ใน รัก > ฮัก 
 สำเนียงบ่งบอกเจ้าของภาษาแต่ละถิ่น 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์14
ภาษาแสดงเอกลักษณ์ของคนในสังคม 
 ภาษาแสดงเอกลักษณ์และภูมิหลังของผู้ใช้ เช่น เชื้อชาติ ถิ่น 
กำเนิด อายุ เพศ 
 ศัพท์สแลง 
 ววััยรรุุ่่น ---- เเกกรรีียน แแจจ่่มๆๆ 
 คำลงท้าย 
 เพศหญิง -- นะคะ คะ ค่ะ 
 เพศหญิง --- เจ้า (ถิ่นเหนือ) 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์15
ทฤษฎี/ข้อสันนิษฐานอธิบายกำเนิดของภาษา 
 แนวคิดทางศาสนาและความเชื่อโบราณ 
 แนวความคิดที่ว่ามนุษย์เป็นผู้สร้างภาษาและ 
กกาารเเลลีียนเเสสีียงธรรมชชาาตติิ 
 แนวความคิดด้านวิทยาศาสตร์ 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์16
แนวคิดทางศาสนาและความเชือโบราณ 
 ภาษามีกำเนิดมาจากเทพ อาจเนื่องจากภาษา 
มีบทบาทมากในทางศาสนา ปรากฏในบทสวด 
แแลละะพธธิิีีกรรม 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์17
แนวคิดทางศาสนาและความเชื่อโบราณ 
 ศาสนาคริสต์ 
 เชื่อว่าพระผู้เป็นเจ้าทรงให้อำนาจแก่อดัม 
((มนนุุษยคค์์นแแรรกของโโลลก)) ใในนกกาารเเรรีียกชชืื่่อสสิิ่่ง 
ต่างๆที่เขาพบเห็น 
 เชื่อว่าแรกเริ่มมนุษย์ทุกคนพูดภาษาเดียวกัน 
หมด 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์18
ศาสนาคริสต์ 
แรกเริ่มมนุษย์ทุกคนพูดภาษาเดียวกันหมด 
มนุษย์ทำบาปโดยพยายามทำตัวทัดเทียม 
พรระะผผูู้้เเปป็็นเเจจ้้าา โโดดยกกาารสรร้้าางหอคอยบบาาเเบบล 
พระผู้เป็นเจ้าสาปให้มนุษย์เกิดความลำบาก 
ในการสื่อสารโดยให้พูดภาษาต่างกันไป 
เกิดเป็นภาษาต่างๆขึ้น 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์19
แนวคิดทางศาสนาและความเชื่อโบราณ 
 ชาวอียิปต์โบราณ 
 เทพโทท (Thoth) ประทานภาษาให้มนุษย์ 
 ภภาาษษาาฟรรีีเเจจีียน ((PPhhrryyggiiaann)) ภภาาษษาาแแรรกของโโลลก 
คล้ายภาษากรีก 
 ศาสนาฮินดู 
 พระสุรัสวดี (มเหสีของพระพรหม) เป็นผู้ให้ 
กำเนิดภาษา 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์20
แนวความคิดที่ว่ามนุษย์เป็นผู้สร้างภาษาและเลียนเสียงธรรมชาติ 
 กลุ่มธรรมชาตินิยม 
 ชื่อและสิ่งที่ถูกเรียกมีความสัมพันธ์ทาง 
ธรรมชาติกัน 
 ภาษาจึงมีคำเลียนเสียงธรรมชาติซึ่งเป็น 
หลักฐานในการสร้างคำอื่นต่อไป 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์21
http://www.boredpanda.com/animมนุaษยl์ก-ับsภoาษuา n d s - d i f รfศe.ดrรe.กิตnิมtา -อิlนaทรnัมgพรuรยa์ges-james-chapman/ 22
แนวความคิดที่ว่ามนุษย์เป็นผู้สร้างภาษาและเลียน 
เสียงธรรมชาติ 
 กลุ่มประเพณีนิยม 
 เชื่อว่าคำ / ชื่อ เกิดจากการตกลงร่วมกันของ 
เเจจ้้าาของภภาาษษาา 
 อังกฤษ table 
 ฝรั่งเศส la table 
 เยอรมัน die Tabelle 
 สเปน una mesa 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์23
แนวความคิดด้านวิทยาศาสตร์ 
 เชื่อว่ามนุษย์ออสตราโลพิเทคัส (4-5 ล้านปี 
ก่อนค.ศ.) ไม่น่าจะพูดได้ (หลักฐานทาง 
มนนุุษยวททิิยยาา)) 
 แต่ต่อมามนุษย์มีพัฒนาการทางอวัยวะในการ 
ออกเสียงมากขึ้น 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์24
http://churchofcriticalthinking.org/missing_link.html 
Human evolution 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์25
พัฒนาการอวัยวะในการออกเสียง 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์26
เมือช่องของเสียงได้รับการพัฒนามากขึน มนุษย์สามารถออกเสียงได้ชัดเจนมากขึน แต่ 
สูญเสียความสามารถในการหายใจ เคียว และกลืนได้อย่างคล่องแคล่วเหมือนแต่ก่อน 
http://www.ling.upenn.edu/courses/ling001/com_bio.html 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์27
ภาษากับการเขียน 
 อักษรภาพ 
 อักษรรูปลิ่ม 
 อักษรพยางค์และ อักษรตัวเขียน 
 ออัักษรใในนออิินเเดดีีย 
 อักษรไทย 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์28
อักษรภาพ และ ภาพความคิด 
 อักษรภาพ (Pictogram) 
 ใช้ภาพแทนสิ่งที่เป็นรูปธรรม เช่น 
พระอาทิตย์ พืชผล 
 ภาพความคิด (Ideogram) 
Pictogram of Mesopotemia 
ใช้แทนความคิด 
Petroglyph Ancient Hebrew pictogram 
http://www.hebrew4christians.com/Grammar/Unit_One/Pictograms/pictograms.html 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์29
Modern pictograms and ideograms 
American Indian 
pictogram 
Grade 4 pictogram 
Grade 4 pictogram 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์30
ภาพความคิด 
 อักษรภาพ / ภาพความคิด ต่างไม่มีความสัมพันธ์กับ 
เสียงในภาษาที่พูด 
 ภาพความคิดในปัจจุบัน เช่น ป้ายจราจรหรือป้ายสื่อ 
คววาามหมมาายตต่่าางๆๆ 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์31
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์32
ฮีโรกลิฟ Hieroglyps 
 อักษรภาพของชาวอียิปต์ 
 ใช้ในพิธีกรรมทางศาสนา 
 ผสมผสสาานรระะหววาา่่งออัักษรภภาาพ ภภาาพคววาามคดดิิ 
และสัญลักษณ์รูปคล้ายที่ใช้แทนพยัญชนะ 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์33
อักษรภาพอียิปต์ Hieroglyphic 
ภาพเขียนในยุคแรก มี 
ลักษณะเป็นรูปวาดที่มี 
ลักษณะคล้ายคลึงกับสิ่งที่ 
ต้องการสื่อ 
12,425 birds 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์34
อักษรรูปลิ่ม 
 มีความเป็นภาพน้อยลง เพิ่มความเป็นสัญลักษณ์มาก 
ขึ้น 
 เเกกิิดเเปป็็นสสััญลลัักษณณ์์รรููปคลล้้าาย 
 สัญลักษณ์รูปคล้ายที่รู้จักกันมากที่สุดคือ อักษรรูปลิ่ม 
 เรียกตามลักษณะของตัวอักษรที่ประดิษฐ์ขึ้น 
 ใช้เป็นสัญลักษณ์แทนคำ = เริ่มระบบเขียนอย่างจริงจัง 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์35
อักษรรูปลิ่มหรือคูนิฟอร์ม 
อักษรคูนิฟอร์มหรืออักษรลิมทีชาวสุเมเรียนประดิษฐ์ขึ นเมือ 3,500 ปีก่อนคริสต์ศักราช 
http://board.postjung.com/531221.html 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์36
อักษรพยางค์และ อักษรตัวเขียน 
 มาจากการนำอักษรรูปลิ่มไปประยุกต์ใช้แทน 
พยางค์หรือเสียงในภาษา จึงพัฒนาเป็นอักษร 
พยางค์ 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์37
Sumerian writing system development 
pictogram cuneiform 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์38
อักษรพยางค์ 
อักษรฟินีเชียน 
อักษรครี 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์39
อักษรจีน 
 พัฒนามาจากอักษรภาพ 
 http://www.pasajeen.com/อักษรจีนจำง่าย/ 
 อักษรบางตัวใช้แทนคำ บางตัวเป็นส่วนหนึ่งของคำ 
 เวียดนาม - นำตัวอักษรจีนมาดัดแปลงใช้ 
- ต่อมาได้รับอิทธิพลจากหมอสอนศาสนา 
ชาวโปรตุเกส ฝรั่งเศส อิตาลี จึง 
เปลี่ยนมาใช้อักษรโรมัน 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์40
日[rì] ดวงอาทิตย์ 
木[mù] ไม้ 
林[lín] ป่า 
森[sēn] ป่าไม้ 
山[shān] ภูเขา 
水[[sshhuuǐǐ]] นนํำา   
田[tián] นา 
夫[fū] ผูช้าย(สามี) 
舍[shè] บา้นพัก, 
门[mén] ประตู 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์41
อักษรจีน 
 เกาหลี - ใช้อักษรจีนก่อนจะประดิษฐ์อักษรใช้ 
เอง 
 ญีีปปุุ่่น -- รรัับออัักษรจจีีน 
- ดัดแปลงอักษรให้เข้ากับภาษาของตน 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์42
อักษรในอินเดีย 
 แบ่งเป็น 2 ยุค 
 ยุคแรก เป็นอักษรภาพ แต่ข้อมูลเกียวกับอักษรยุคนี 
ค่อนข้างจำกัด 
 ยยุุคททีี 22 
 ปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกของพระเจ้าอโศก 
มหาราช 
 มี 2 แบบ คือ อักษรขโรษฐี และ อักษรพราห์มี (ต้น 
กำเนิดของอักษรเขียนในสมัยต่อมา) 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์43
อักษรพราห์มี 
ออัักษรพรราาหมมีีพบครรัั้้งแแรรก ใในนจจาารรึึกของพรระะเเจจ้้าาอโโศศกมหหาารราาชแแหห่่งรราาชวงศศ์์เเมมาารยยะะ 
อักษรพราห์มีเป็นต้นกำเนิดของอักษรเทวนาครี อักษรขอม 
อักษรเทวนาครีจากโปรแกรมที่ 
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสร้าง 
http://www.ku.ac.th/e-magazine/jun49/it/it.htm 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์44
อักษณคฤณห์ที#พบในประเทศไทย 
ภาพจารึกชืองสระแจง พุทธศตวรรษที ๑๒ อักษรปัลวะ ภาษาสันสกฤต 
ทีมา : 
http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/th/m 
ain.php?p=ZGV0YWlsid=12 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์45
อักษรไทย 
 อักษรไทยทีประดิษฐ์โดยพ่อขุนรามคำแหง 
มหาราช 
 นน่่าาจจะะดดััดแแปปลงมมาาจจาากออัักษรขอมหววััด ((ดดััดแแปปลง 
มาจากอักษรคฤนท์ ของอินเดียใต้) 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์46
ภาษาต่างๆในโลก 
 ภาษาในโลกมีกีภาษา 
 กลุ่มตระกูลภาษา 
 มมีีคววาามคลล้้าายคลลึึงกกััน 
 สืบทอดมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์47
การแตกตัวของภาษา 
 ภาษา 1 ภาษา สามารถแตกตัวออกเป็น 
หลายภาษาได้ 
เเมมืือกกาาลเเววลลาาผผ่่าานไไปปยยาาวนนาาน 
มีการอพยพย้ายถิน กระจายตัว 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์48
ตระกูลภาษา (Language Families) 
 อินโดยูโรเปียน: ละติน, อังกฤษ, ฝรัง#เศส, เยอรมัน, สันสกฤต 
 ไท : ไทย ลาว ผูไ้ท ไทยดำ ไทลื อ 
 มอญ-เขมร: เขมร มอญ ขมุ ละวา้ 
 ไซโนทิเบตัน 
: จีนกลาง กวางตุง้ พม่า ทิเบต 
 ออสโตรนิเชียน: 
มาเลย์ อินโดนีเซีย ตะกะลอค 
 ฮามิโตซิเมติก: อาราบิค ฮีบรู 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์49
ภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน (Indo-European) 
 ใช้พูดกันในยุโรป และบางส่วนในแถบเอเชีย 
 เชือว่าใช้พูดกันเมือ 3,000 ปี ก่อน ค.ศ. 
 ตต่่อมมาาแแตตกออกเเปป็็นภภาาษษาาลลููกหลลาายภภาาษษาา เเชช่่น 
ภาษาอังกฤษ ฝรังเศส เยอรมัน ฯลฯ 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์50
ตระกูลภาษาอินโดยูโรเปียน 
Celtic 
Latin 
Indo-European 
Italic Germanic Hellenic Slavic Indo-Iranian 
Scottish 
Welsh 
Irish 
Italian 
Spanish 
French 
Portuguese 
West 
German 
English 
Dutch 
North 
Swedish 
Danish 
Norwegian 
Ancient Greek Russian 
Greek 
Polish 
Old Persian 
Persian 
Sanskrit 
Hindi 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์51
ภาษาตระกูลใซโน-ทิเบตัน (Sino-Tibetan) 
 ใช้พูดกันทางเอเชียตะวันออก 
 แยกเป็น 2 สาขาใหญ่ 
 ซซิินนิิตติิก ((SSiinniittiicc)) 
 ภาษาจีน 
 จีนกลาง กวางตุ้ง แคะ ไหหลำ แต้จQิว 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์52
ภาษาตระกูลใซโน - ทิเบตัน (Sino-Tibetan) 
 ทิเบตัน (Tibetan) 
 ภาษาทิเบต 
ภภาาษษาาพมม่่าา 
ภาษาชนกลุ่มน้อยต่างๆ หลายกลุ่มใน 
เอเชีย เช่น กะฉิน 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์53
ภาษาตระกูลไท (Tai) 
 ใช้พูดกันแพร่หลายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
เช่น ในไทย ลาว และชนกลุ่มน้อยเชืSอสายไท 
ใในน เเววีียดนนาาม พมม่่าา ออิินเเดดีีย มมาาเเลลีียเเซซีีย แแลละะจจีีน 
 แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม เหนือ กลาง และ 
ตะวันตกเฉียงใต้ 
 ภาษาไทย ลาว อยู่ในกลุ่มตะวันตกเฉียงใต้ 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์54
ภาษาตระกูลแอสโตร-เอเชียติก 
 ใช้พูดกันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทาง 
ตะวันออกของอินเดีย มีตระกูลย่อยแตกออกไปถึง 
150 ตระกูล แบ่งเป็น 3 สาขาใหญ่ 
 มมัันดดาา ((MMuunnddaa)) ใใชช้้พพููดกกัันททาางตตะะววัันตก 
 นิโคบารีส (Nicobarese) ใช้พูดกันทางหมู่เกาะนิโคบาร์ 
แถบอ่าวเบงกอล ทางตะวันตกของแหลมมลายู 
 มอญ-เขมร (Mon-Khmer) ใช้พูดกันทางเอเชียตะวันออก 
เฉียงใต้ แบ่งเป็นหลายสาขา เช่น มอญ ขมุ เวียดนาม 
เขมร 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์55
ภาษาตระกูลดราวิเดียน 
 ใช้พูดกันในบางส่วนของอินเดียและภาคเหนือ 
ของศรีลังกา 
 ภภาาษษาาทมมิิฬ 
มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์56

More Related Content

What's hot

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
kingkarn somchit
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
Dc102 digital media-text
Dc102 digital media-textDc102 digital media-text
Dc102 digital media-textajpeerawich
 
Radio Script Concept
Radio Script ConceptRadio Script Concept
Radio Script Concept
Sakulsri Srisaracam
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษา
kingkarn somchit
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
Ruangrat Watthanasaowalak
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
CUPress
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
Wilawun Wisanuvekin
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
นางอรสา บุญยาพงษ์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์Anchalee BuddhaBucha
 
Introto ling
Introto lingIntroto ling
Introto ling
Auruja Sukpat
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ absinthe39
 

What's hot (17)

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
Dc102 digital media-text
Dc102 digital media-textDc102 digital media-text
Dc102 digital media-text
 
ระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอ
 
Radio Script Concept
Radio Script ConceptRadio Script Concept
Radio Script Concept
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษา
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
Introto ling
Introto lingIntroto ling
Introto ling
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ
 
Th 2014-01-01
Th 2014-01-01Th 2014-01-01
Th 2014-01-01
 

Similar to Man lg

Man lg handout s
Man lg handout sMan lg handout s
Man lg handout s
Heritagecivil Kasetsart
 
Man lg eng hndout
Man lg eng hndoutMan lg eng hndout
Man lg eng hndout
Heritagecivil Kasetsart
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
candy109
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทย
pinyada
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนา
Ekarach Inthajan
 
Language
LanguageLanguage
Languagenattaya
 
สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2
สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2
สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2
Pimjai Young-oun
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
Proud N. Boonrak
 
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยหน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
Wilawun Wisanuvekin
 
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรมความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรมalibaba1436
 
Tha203 2
Tha203 2Tha203 2
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
Lib Rru
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
Librru Phrisit
 
Languageusage for radio writing
Languageusage for radio writingLanguageusage for radio writing
Languageusage for radio writing
Sakulsri Srisaracam
 

Similar to Man lg (20)

Man lg handout s
Man lg handout sMan lg handout s
Man lg handout s
 
Man lg eng hndout
Man lg eng hndoutMan lg eng hndout
Man lg eng hndout
 
ภาษากับการคิด
ภาษากับการคิดภาษากับการคิด
ภาษากับการคิด
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทย
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนา
 
Language
LanguageLanguage
Language
 
สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2
สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2
สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
 
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยหน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
 
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรมความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
 
Tha203 2
Tha203 2Tha203 2
Tha203 2
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
Languageusage for radio writing
Languageusage for radio writingLanguageusage for radio writing
Languageusage for radio writing
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 

More from Heritagecivil Kasetsart

ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolHeritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
Heritagecivil Kasetsart
 
The heritages of world civilization
The heritages of world civilization The heritages of world civilization
The heritages of world civilization
Heritagecivil Kasetsart
 
01999031 western music romantic
01999031 western music romantic01999031 western music romantic
01999031 western music romantic
Heritagecivil Kasetsart
 
01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.
Heritagecivil Kasetsart
 
01999031 western music classical.
01999031 western music classical.01999031 western music classical.
01999031 western music classical.
Heritagecivil Kasetsart
 
World history
World historyWorld history
World major religion
World major religionWorld major religion
World major religion
Heritagecivil Kasetsart
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Philosophy history
Philosophy historyPhilosophy history
Philosophy history
Heritagecivil Kasetsart
 
Philosophy and religion
Philosophy and religionPhilosophy and religion
Philosophy and religion
Heritagecivil Kasetsart
 
Introduction of philosophy
Introduction of philosophyIntroduction of philosophy
Introduction of philosophy
Heritagecivil Kasetsart
 
Philosophy and religion
Philosophy and religionPhilosophy and religion
Philosophy and religion
Heritagecivil Kasetsart
 
Introduction of philosophy
Introduction of philosophyIntroduction of philosophy
Introduction of philosophy
Heritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
Heritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
Heritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
Heritagecivil Kasetsart
 
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
Heritagecivil Kasetsart
 
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
Heritagecivil Kasetsart
 
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
Heritagecivil Kasetsart
 

More from Heritagecivil Kasetsart (20)

ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lol
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
The heritages of world civilization
The heritages of world civilization The heritages of world civilization
The heritages of world civilization
 
01999031 western music romantic
01999031 western music romantic01999031 western music romantic
01999031 western music romantic
 
01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.
 
01999031 western music classical.
01999031 western music classical.01999031 western music classical.
01999031 western music classical.
 
World history
World historyWorld history
World history
 
World major religion
World major religionWorld major religion
World major religion
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
Philosophy history
Philosophy historyPhilosophy history
Philosophy history
 
Philosophy and religion
Philosophy and religionPhilosophy and religion
Philosophy and religion
 
Introduction of philosophy
Introduction of philosophyIntroduction of philosophy
Introduction of philosophy
 
Philosophy and religion
Philosophy and religionPhilosophy and religion
Philosophy and religion
 
Introduction of philosophy
Introduction of philosophyIntroduction of philosophy
Introduction of philosophy
 
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
 
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
 
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
 
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
 

Recently uploaded

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
Postharvest Technology Innovation Center
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 

Recently uploaded (8)

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 

Man lg

  • 2. เเนนืื้้อหหาา  ภาษามนุษย์กับภาษาสัตว์  หน้าที่ของภาษา  บทบาทของภาษาในสังคม  วววิิััฒนนาากกาารของภภาาษษาามนนุุษยย์์  แนวคิดเกี่ยวกับกำเนิดของภาษามนุษย์  ภาษากับตัวอักษร  ตระกูลภาษา มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์2
  • 3. ภภาาษษาามนนุุษยย์์กกัับภภาาษษาาสสััตวว์์ ภาษามนุษย์ ภาษาสัตว์  อวัยวะในการออกเสียง  มีระบบภาษาสองระดับทั้งหน่วยเสียงและ หน่วยคำ  มีความสามารถในการเข้าใจและสร้างคำ  ไม่มีอวัยวะในการออกเสียง  ไม่มี  ไม่สามารถคิดค้นศัพท์ใหม่ สร้างประโยค ใหม่ ในสถานการณ์ใหม่ๆ มักใช้การ แต่งประโยค สำนวนใหม่ๆ  รับภาษาใหม่ด้วยการเรียนรู้ภาษา  สามารถสื่อสารและอ้างถึงบุคคลที่ไม่ เกี่ยวข้อง หรือ เรื่องในจิตนาการ อดีต หรือ อนาคต  แต่ละภาษามีการใช้คำศัพท์แตกต่างกัน เลียนแบบ  ระบบการสื่อสารแบบปิด ไม่สามารถเรียนรู้ ภาษาของสัตว์อื่นๆ ได้  สื่อสารได้เฉพาะเหตุการณ์เฉพาะหน้า  โต้ตอบด้วยสัญชาตญาณ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์3
  • 4. หน้าที่ของภาษา  เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร  เป็นเครื่องมือถ่ายทอดวิทยาการ  สะท้อนความคิดของมนุษย์ในแต่ละสังคมที่มีต่อโลก  สะท้อนวัฒนธรรม  บ่งบอกถึงเอกลักษณ์และลักษณะของผู้ใช้ กลุ่มสังคม หรือชนชั้น มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์4
  • 5. ภาษาเป็นเครื่องมือสื่อสาร  ภาษาพูด การใช้ภาษาแตกต่างกันตามสถานการณ์ ตามบุคคลที่ สื่อสารด้วย  ภาษาเขียน  ภภาาษษาาทท่่าาททาาง  สายตา  ท่าทาง  ระยะห่าง มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์5
  • 6. ภาษาเป็นเครื่องมือถ่ายทอดวิทยาการ  แฟกซ์ โปสต์การ์ด อีเมล์ ไลน์ โทรศัพท์ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์6
  • 7. ภาษาสะท้อนความคิดของคนในสังคม  ภาษาสะท้อนความคิด มุมมองอย่างไร  ภาษาญี่ปุ่น ภาษาไทย ภาษาเขมร มี honorific term สะท้อนเฉพาะกลุ่มคนต่างชนชั้น  ภภาาษษาาสสะะทออ้้นสสัังคม  ความสัมพันธ์ระหว่างเครือญาติ - คำเรียกญาติ  ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม  การแบ่งระดับชั้นในสังคม - คำนำหน้าชื่อ  ความแตกต่างระหว่างชาย หญิง  – master vs. mistress  -- นาง นางสาว vs. นาย มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์7
  • 8. ภาษาสะท้อนวัฒนธรรม  คำว่า ‘หิมะ’ ในภาษาอังกฤษ ให้ความหมายแตกต่างตามประเภทของ หิมะ “blizzard", “flurry", "pack", "slush", "drift", "sleet", and "powder”  ฝน ใในนภภาาษษาาไไททย  แสดงลักษณะ ฝน เช่น สายฝน ละอองฝน ฝนขาดเม็ด ฝนสั่งฟ้า พายุฝน ฝนแล้ง ฝนหลงฤดู  กริยาใช้กับ ฝน เช่น ฝนกระหน่ำ ฝนชุก ฝนปรอย ฝนพรำ ติดฝน ตากฝน  มโนทัศน์ คำว่า เกรงใจ ไม่พบในวัฒนธรรมอื่น มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์8
  • 9. ภาษาสะท้อนวัฒนธรรม สีอะไร Paul Kay, “Synchronic Variability and Diachronic Change in GRUE Basic Colour Terms,” in Language, Culture and Cognition (1975) : 257-272. วัฒนธรรมที่เรียบง่าย ไม่มีควมซับซ้อนด้านเทคโนโลยี มีจำนวนคำเรียกสีพื้นฐานน้อย http://en.wikipedia.org/wiki/Color_term มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์9
  • 10. คำเรียกสีกับวัฒนธรรม  ภาษาไทยสุโขทัยมี 5 คำ คือ ขาว ดำ แดง เหลือง เขียว  สีเขียวในภาษาไทยสมัยสุโขทัย มีขอบเขตสีกว้างกว่าปัจจุบัน คือ ครอบคลุม เขียว น้ำเงิน ม่วง -- เขียวดังดอกผักตบ -- เขียวดังดอกอินทนิล -- เขียวดังดอกอัญชัน  ในภาษาไทยปัจจุบันมี 12 คำ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์ 10
  • 11. คำเรียกสีในภาษาไทย  สีกับประสบการณ์ -- สีช็อกกิ งพิ ง สีดอกไลแล็ก  สีจากสิง#ของ สัตว์ หรือสิง#ใกลตั้ว -- สีแดงเลือดหมู สีแดงกำมะหยี #สีแดงเลือดนก สีชมพูบานเย็น สีกะปิ สีอิฐ http://thorfun.com/oazth/story/51a8a870aeeb59372800c47e มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์ 11 ม
  • 12. ภาษาสะท้อนสังคม วัฒนธรรม  สาเหตุของการยืมคำ  สภาพภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์ใกล้ชิดทางสังคม - ลาว เขมร พม่า มาเลย์  กกาารยย้้าายถถิิ่่นฐฐาาน ตตัั้้งรกรราากของคนใในนปรระะววััตติิศศาาสตรร์์ –– เเขขมร ละว้า มอญ จีน  การค้าขาย - อังกฤษ ฝรั่งเศส จีน โปรตุเกส  การถ่ายทอดทางวรรณคดีและศาสนา – วรรณคดีอินเดีย และชวาใช้ภาษาสันสกฤต ศาสนาพราหมณ์ใช้ภาษา สันสกฤต ศาสนาพุทธใช้ภาษาบาลี มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์12
  • 13. ตัวอย่างคำยืมภาษาต่างๆ ในภาษาไทย  คำยืม แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างสังคม วัฒนธรรม  จีน - ก๋วยเตยี๋ว บะหมี่ เฉาก๊วย จับฉ่าย หุน้ หา้ง ก๋ง ตุ๋น  เขมร – ขนบ ตำรวจ กะทิ บำบัด เจริญ ฉงน สงบ  บาลี – กิริยา วิญญาณ อัคคี สัจจะ มัจฉา สูญ  สสัันสกฤต –– ออาาจจาารยย์์ จจุุฑฑาา กษษััตรริิยย์์ บบุุรรุุษ สตรรีี ศศููนยย์์  มาเลย์ – บูดู สเต๊ะ ซาหริ่ม ปาเต๊ะ ทุเรียน สลัด  มอญ - ประเคน  อังกฤษ - เลน แท็กซี่  โปรตุเกส – สบู่ ปิ่นโต  ทมิฬ - กุลี มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์13
  • 14. ภาษาแสดงเอกลักษณ์ของคนในสังคม  ภาษาแสดงเอกลักษณ์และภูมิหลังของผู้ใช้ เช่น เชื้อชาติ ถิ่นกำเนิด อายุ เพศ  เเสสีียงพยยััญชนนะะ  ผู้พูดภาษาไทยถิ่นเหนือ -- ฮ แทน ร ใน รัก > ฮัก  สำเนียงบ่งบอกเจ้าของภาษาแต่ละถิ่น มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์14
  • 15. ภาษาแสดงเอกลักษณ์ของคนในสังคม  ภาษาแสดงเอกลักษณ์และภูมิหลังของผู้ใช้ เช่น เชื้อชาติ ถิ่น กำเนิด อายุ เพศ  ศัพท์สแลง  ววััยรรุุ่่น ---- เเกกรรีียน แแจจ่่มๆๆ  คำลงท้าย  เพศหญิง -- นะคะ คะ ค่ะ  เพศหญิง --- เจ้า (ถิ่นเหนือ) มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์15
  • 16. ทฤษฎี/ข้อสันนิษฐานอธิบายกำเนิดของภาษา  แนวคิดทางศาสนาและความเชื่อโบราณ  แนวความคิดที่ว่ามนุษย์เป็นผู้สร้างภาษาและ กกาารเเลลีียนเเสสีียงธรรมชชาาตติิ  แนวความคิดด้านวิทยาศาสตร์ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์16
  • 17. แนวคิดทางศาสนาและความเชือโบราณ  ภาษามีกำเนิดมาจากเทพ อาจเนื่องจากภาษา มีบทบาทมากในทางศาสนา ปรากฏในบทสวด แแลละะพธธิิีีกรรม มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์17
  • 18. แนวคิดทางศาสนาและความเชื่อโบราณ  ศาสนาคริสต์  เชื่อว่าพระผู้เป็นเจ้าทรงให้อำนาจแก่อดัม ((มนนุุษยคค์์นแแรรกของโโลลก)) ใในนกกาารเเรรีียกชชืื่่อสสิิ่่ง ต่างๆที่เขาพบเห็น  เชื่อว่าแรกเริ่มมนุษย์ทุกคนพูดภาษาเดียวกัน หมด มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์18
  • 19. ศาสนาคริสต์ แรกเริ่มมนุษย์ทุกคนพูดภาษาเดียวกันหมด มนุษย์ทำบาปโดยพยายามทำตัวทัดเทียม พรระะผผูู้้เเปป็็นเเจจ้้าา โโดดยกกาารสรร้้าางหอคอยบบาาเเบบล พระผู้เป็นเจ้าสาปให้มนุษย์เกิดความลำบาก ในการสื่อสารโดยให้พูดภาษาต่างกันไป เกิดเป็นภาษาต่างๆขึ้น มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์19
  • 20. แนวคิดทางศาสนาและความเชื่อโบราณ  ชาวอียิปต์โบราณ  เทพโทท (Thoth) ประทานภาษาให้มนุษย์  ภภาาษษาาฟรรีีเเจจีียน ((PPhhrryyggiiaann)) ภภาาษษาาแแรรกของโโลลก คล้ายภาษากรีก  ศาสนาฮินดู  พระสุรัสวดี (มเหสีของพระพรหม) เป็นผู้ให้ กำเนิดภาษา มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์20
  • 21. แนวความคิดที่ว่ามนุษย์เป็นผู้สร้างภาษาและเลียนเสียงธรรมชาติ  กลุ่มธรรมชาตินิยม  ชื่อและสิ่งที่ถูกเรียกมีความสัมพันธ์ทาง ธรรมชาติกัน  ภาษาจึงมีคำเลียนเสียงธรรมชาติซึ่งเป็น หลักฐานในการสร้างคำอื่นต่อไป มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์21
  • 22. http://www.boredpanda.com/animมนุaษยl์ก-ับsภoาษuา n d s - d i f รfศe.ดrรe.กิตnิมtา -อิlนaทรnัมgพรuรยa์ges-james-chapman/ 22
  • 23. แนวความคิดที่ว่ามนุษย์เป็นผู้สร้างภาษาและเลียน เสียงธรรมชาติ  กลุ่มประเพณีนิยม  เชื่อว่าคำ / ชื่อ เกิดจากการตกลงร่วมกันของ เเจจ้้าาของภภาาษษาา  อังกฤษ table  ฝรั่งเศส la table  เยอรมัน die Tabelle  สเปน una mesa มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์23
  • 24. แนวความคิดด้านวิทยาศาสตร์  เชื่อว่ามนุษย์ออสตราโลพิเทคัส (4-5 ล้านปี ก่อนค.ศ.) ไม่น่าจะพูดได้ (หลักฐานทาง มนนุุษยวททิิยยาา))  แต่ต่อมามนุษย์มีพัฒนาการทางอวัยวะในการ ออกเสียงมากขึ้น มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์24
  • 25. http://churchofcriticalthinking.org/missing_link.html Human evolution มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์25
  • 27. เมือช่องของเสียงได้รับการพัฒนามากขึน มนุษย์สามารถออกเสียงได้ชัดเจนมากขึน แต่ สูญเสียความสามารถในการหายใจ เคียว และกลืนได้อย่างคล่องแคล่วเหมือนแต่ก่อน http://www.ling.upenn.edu/courses/ling001/com_bio.html มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์27
  • 28. ภาษากับการเขียน  อักษรภาพ  อักษรรูปลิ่ม  อักษรพยางค์และ อักษรตัวเขียน  ออัักษรใในนออิินเเดดีีย  อักษรไทย มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์28
  • 29. อักษรภาพ และ ภาพความคิด  อักษรภาพ (Pictogram)  ใช้ภาพแทนสิ่งที่เป็นรูปธรรม เช่น พระอาทิตย์ พืชผล  ภาพความคิด (Ideogram) Pictogram of Mesopotemia ใช้แทนความคิด Petroglyph Ancient Hebrew pictogram http://www.hebrew4christians.com/Grammar/Unit_One/Pictograms/pictograms.html มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์29
  • 30. Modern pictograms and ideograms American Indian pictogram Grade 4 pictogram Grade 4 pictogram มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์30
  • 31. ภาพความคิด  อักษรภาพ / ภาพความคิด ต่างไม่มีความสัมพันธ์กับ เสียงในภาษาที่พูด  ภาพความคิดในปัจจุบัน เช่น ป้ายจราจรหรือป้ายสื่อ คววาามหมมาายตต่่าางๆๆ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์31
  • 33. ฮีโรกลิฟ Hieroglyps  อักษรภาพของชาวอียิปต์  ใช้ในพิธีกรรมทางศาสนา  ผสมผสสาานรระะหววาา่่งออัักษรภภาาพ ภภาาพคววาามคดดิิ และสัญลักษณ์รูปคล้ายที่ใช้แทนพยัญชนะ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์33
  • 34. อักษรภาพอียิปต์ Hieroglyphic ภาพเขียนในยุคแรก มี ลักษณะเป็นรูปวาดที่มี ลักษณะคล้ายคลึงกับสิ่งที่ ต้องการสื่อ 12,425 birds มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์34
  • 35. อักษรรูปลิ่ม  มีความเป็นภาพน้อยลง เพิ่มความเป็นสัญลักษณ์มาก ขึ้น  เเกกิิดเเปป็็นสสััญลลัักษณณ์์รรููปคลล้้าาย  สัญลักษณ์รูปคล้ายที่รู้จักกันมากที่สุดคือ อักษรรูปลิ่ม  เรียกตามลักษณะของตัวอักษรที่ประดิษฐ์ขึ้น  ใช้เป็นสัญลักษณ์แทนคำ = เริ่มระบบเขียนอย่างจริงจัง มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์35
  • 36. อักษรรูปลิ่มหรือคูนิฟอร์ม อักษรคูนิฟอร์มหรืออักษรลิมทีชาวสุเมเรียนประดิษฐ์ขึ นเมือ 3,500 ปีก่อนคริสต์ศักราช http://board.postjung.com/531221.html มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์36
  • 37. อักษรพยางค์และ อักษรตัวเขียน  มาจากการนำอักษรรูปลิ่มไปประยุกต์ใช้แทน พยางค์หรือเสียงในภาษา จึงพัฒนาเป็นอักษร พยางค์ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์37
  • 38. Sumerian writing system development pictogram cuneiform มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์38
  • 39. อักษรพยางค์ อักษรฟินีเชียน อักษรครี มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์39
  • 40. อักษรจีน  พัฒนามาจากอักษรภาพ  http://www.pasajeen.com/อักษรจีนจำง่าย/  อักษรบางตัวใช้แทนคำ บางตัวเป็นส่วนหนึ่งของคำ  เวียดนาม - นำตัวอักษรจีนมาดัดแปลงใช้ - ต่อมาได้รับอิทธิพลจากหมอสอนศาสนา ชาวโปรตุเกส ฝรั่งเศส อิตาลี จึง เปลี่ยนมาใช้อักษรโรมัน มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์40
  • 41. 日[rì] ดวงอาทิตย์ 木[mù] ไม้ 林[lín] ป่า 森[sēn] ป่าไม้ 山[shān] ภูเขา 水[[sshhuuǐǐ]] นนํำา 田[tián] นา 夫[fū] ผูช้าย(สามี) 舍[shè] บา้นพัก, 门[mén] ประตู มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์41
  • 42. อักษรจีน  เกาหลี - ใช้อักษรจีนก่อนจะประดิษฐ์อักษรใช้ เอง  ญีีปปุุ่่น -- รรัับออัักษรจจีีน - ดัดแปลงอักษรให้เข้ากับภาษาของตน มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์42
  • 43. อักษรในอินเดีย  แบ่งเป็น 2 ยุค  ยุคแรก เป็นอักษรภาพ แต่ข้อมูลเกียวกับอักษรยุคนี ค่อนข้างจำกัด  ยยุุคททีี 22  ปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกของพระเจ้าอโศก มหาราช  มี 2 แบบ คือ อักษรขโรษฐี และ อักษรพราห์มี (ต้น กำเนิดของอักษรเขียนในสมัยต่อมา) มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์43
  • 44. อักษรพราห์มี ออัักษรพรราาหมมีีพบครรัั้้งแแรรก ใในนจจาารรึึกของพรระะเเจจ้้าาอโโศศกมหหาารราาชแแหห่่งรราาชวงศศ์์เเมมาารยยะะ อักษรพราห์มีเป็นต้นกำเนิดของอักษรเทวนาครี อักษรขอม อักษรเทวนาครีจากโปรแกรมที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสร้าง http://www.ku.ac.th/e-magazine/jun49/it/it.htm มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์44
  • 45. อักษณคฤณห์ที#พบในประเทศไทย ภาพจารึกชืองสระแจง พุทธศตวรรษที ๑๒ อักษรปัลวะ ภาษาสันสกฤต ทีมา : http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/th/m ain.php?p=ZGV0YWlsid=12 มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์45
  • 46. อักษรไทย  อักษรไทยทีประดิษฐ์โดยพ่อขุนรามคำแหง มหาราช  นน่่าาจจะะดดััดแแปปลงมมาาจจาากออัักษรขอมหววััด ((ดดััดแแปปลง มาจากอักษรคฤนท์ ของอินเดียใต้) มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์46
  • 47. ภาษาต่างๆในโลก  ภาษาในโลกมีกีภาษา  กลุ่มตระกูลภาษา  มมีีคววาามคลล้้าายคลลึึงกกััน  สืบทอดมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์47
  • 48. การแตกตัวของภาษา  ภาษา 1 ภาษา สามารถแตกตัวออกเป็น หลายภาษาได้ เเมมืือกกาาลเเววลลาาผผ่่าานไไปปยยาาวนนาาน มีการอพยพย้ายถิน กระจายตัว มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์48
  • 49. ตระกูลภาษา (Language Families)  อินโดยูโรเปียน: ละติน, อังกฤษ, ฝรัง#เศส, เยอรมัน, สันสกฤต  ไท : ไทย ลาว ผูไ้ท ไทยดำ ไทลื อ  มอญ-เขมร: เขมร มอญ ขมุ ละวา้  ไซโนทิเบตัน : จีนกลาง กวางตุง้ พม่า ทิเบต  ออสโตรนิเชียน: มาเลย์ อินโดนีเซีย ตะกะลอค  ฮามิโตซิเมติก: อาราบิค ฮีบรู มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์49
  • 50. ภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน (Indo-European)  ใช้พูดกันในยุโรป และบางส่วนในแถบเอเชีย  เชือว่าใช้พูดกันเมือ 3,000 ปี ก่อน ค.ศ.  ตต่่อมมาาแแตตกออกเเปป็็นภภาาษษาาลลููกหลลาายภภาาษษาา เเชช่่น ภาษาอังกฤษ ฝรังเศส เยอรมัน ฯลฯ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์50
  • 51. ตระกูลภาษาอินโดยูโรเปียน Celtic Latin Indo-European Italic Germanic Hellenic Slavic Indo-Iranian Scottish Welsh Irish Italian Spanish French Portuguese West German English Dutch North Swedish Danish Norwegian Ancient Greek Russian Greek Polish Old Persian Persian Sanskrit Hindi มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์51
  • 52. ภาษาตระกูลใซโน-ทิเบตัน (Sino-Tibetan)  ใช้พูดกันทางเอเชียตะวันออก  แยกเป็น 2 สาขาใหญ่  ซซิินนิิตติิก ((SSiinniittiicc))  ภาษาจีน  จีนกลาง กวางตุ้ง แคะ ไหหลำ แต้จQิว มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์52
  • 53. ภาษาตระกูลใซโน - ทิเบตัน (Sino-Tibetan)  ทิเบตัน (Tibetan)  ภาษาทิเบต ภภาาษษาาพมม่่าา ภาษาชนกลุ่มน้อยต่างๆ หลายกลุ่มใน เอเชีย เช่น กะฉิน มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์53
  • 54. ภาษาตระกูลไท (Tai)  ใช้พูดกันแพร่หลายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ในไทย ลาว และชนกลุ่มน้อยเชืSอสายไท ใในน เเววีียดนนาาม พมม่่าา ออิินเเดดีีย มมาาเเลลีียเเซซีีย แแลละะจจีีน  แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม เหนือ กลาง และ ตะวันตกเฉียงใต้  ภาษาไทย ลาว อยู่ในกลุ่มตะวันตกเฉียงใต้ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์54
  • 55. ภาษาตระกูลแอสโตร-เอเชียติก  ใช้พูดกันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทาง ตะวันออกของอินเดีย มีตระกูลย่อยแตกออกไปถึง 150 ตระกูล แบ่งเป็น 3 สาขาใหญ่  มมัันดดาา ((MMuunnddaa)) ใใชช้้พพููดกกัันททาางตตะะววัันตก  นิโคบารีส (Nicobarese) ใช้พูดกันทางหมู่เกาะนิโคบาร์ แถบอ่าวเบงกอล ทางตะวันตกของแหลมมลายู  มอญ-เขมร (Mon-Khmer) ใช้พูดกันทางเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ แบ่งเป็นหลายสาขา เช่น มอญ ขมุ เวียดนาม เขมร มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์55
  • 56. ภาษาตระกูลดราวิเดียน  ใช้พูดกันในบางส่วนของอินเดียและภาคเหนือ ของศรีลังกา  ภภาาษษาาทมมิิฬ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์56