SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
1
โครงงานรายวิชาชีววิทยา
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูงของลาต้นผักหวาน
นาเสนอ
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สมาชิกกลุ่มนาเสนอ
นายกชณัฐ ระวังสุข เลขที่ 22
นายกิตติกานต์ โลว์ เลขที่ 24
นายภูคิน รัตนเมธาชาติ เลขที่ 31
นายอมรเศรษฐ์ สอนนิยม เลขที่ 39
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ห้อง143
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา5(ว 30245)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
2
คำนำ
ในปัจจุบันนั้นแม้มีการนาเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์เข้ามาพัฒนาคุณภาพชีวิตเป็นจานวน
มากแล้วนั้น แต่ก็ยังมีอีกสิ่งหนึ่งที่เราไม่อาจสามารถลืมไปได้เลยนั้นก็คือพืชผักสวนครัว ซึ่งพืชผัก
เหล่านี้บางต้นล้วนเป็นสมุนไพรชั้นดีในการที่เราจะนามาใช้ประโยชน์ในหลายๆด้าน ซึ่งผักหวานก็เป็น
หนึ่งในตัวอย่างนี้แต่ในปัจจุบันผลผลิตอาจจะไม่ได้ตามต้องการ คณะผู้จัดทาจึงหาวิธีในการเร่ง
ให้ผักหวานสูงขึ้นเพื่อให้ได้ผลผลิตตามต้องการ จนได้พบทางเลือกหนึ่งนั้นคือการใช้ฮอร์โมน ผู้จัดทา
จึงจัดทาโครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินว่าจะสามารถมีผลทาให้ลาต้น
ผักหวานสูงขึ้นได้หรือไม่ โดยหวังว่าโครงงานนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ต้องการนาไปศึกษาค้นคว้าให้เกิด
ประโยชน์ในภายภาคหน้า และประยุกต์เข้าใช้ได้กับพืชชนิดอื่น หากผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทา
ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
3
สำรบัญ
เรื่อง หน้า
ที่มาและความสาคัญ 4
ข้อมูลของพืชและรายละเอียดฮอร์โมนที่ใช้ในการทดลอง 5
สมมติฐานในการทดลอง 7
จุดประสงค์ในการทดลอง 7
ตัวแปรในการทดลอง 7
รายละเอียดอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง 8
ระยะเวลาในการทดลอง 9
วิธีการเก็บข้อมูลผลการทดลอง 10
ขั้นตอนการทดลอง 11
ผลการทดลอง 14
สรุปผลการทดลอง 16
บรรณานุกรม 17
ภาคผนวก 18
4
ปัญหำ ที่มำและควำมสำคัญ
แม้ในปัจจุบันประเทศไทยจะมีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการและการแพทย์มากแล้ว แต่
ภูมิปัญญาชาวบ้านในการใช้พืชสมุนไพรก็ยังเป็นสิ่งที่คู่กับชาวบ้านและยังใช้ประโยชน์ได้หลายด้าน ต้น
ผักหวานบ้านก็เป็นหนึ่งในพืชที่มีการใช้อย่างแพร่หลายและยังมีสรรพคุณมากมายเช่นใช้เป็นยาแก้โรค
ต่างๆ รวมถึงการใช้เป็นผักประกอบอาหาร แต่การปลูกต้นไม้หนึ่งต้นในปัจจุบันโดยเฉพาะต้นไม้ที่
ได้รับความนิยมในการบริโภคอย่างมากอย่างต้นผักหวานบ้านจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเร่งการ
เจริญเติบโตของต้นไม้เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด
คณะผู้จัดทาจึงได้ทาการทดลองในการศึกษาเพื่อหาวิธีการเพิ่มความสูงของต้นผักหวานบ้าน
โดยใช้ฮอร์โมนในการเร่งความสูง ในปริมาณที่ต่างกันเพื่อหาปริมาณที่เหมาะสมที่สุด ในที่นี้ทางคณะ
ผู้จัดทาได้เลือกฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมาใช้ในการทดลอง โดยตั้งปัญหาโครงงานนี้ว่า ฮอร์โมนจิบเบอ
เรลลิน มีผลต่อความสูงของต้นผักหวานบ้านหรือไม่
5
ข้อมูลของพืชและรำยละเอียดฮอร์โมนที่ใช้ในกำรทดลอง
1. ต้นผักหวาน
ชื่อวิทยาศาสตร์ Sauropus androgynus
สกุล Sauropus
วงศ์ Phyllanthaceae
ผักหวานบ้าน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Sauropus androgynus) ภาษากะเหรี่ยงเรียก ตาเชอเด๊าะ เป็น
ผักพื้นเมืองที่เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง แตกกิ่งโน้มลงด้านล่าง ใบเดี่ยว ก้านใบสั้น ดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ
ก้านดอกห้อยลง ดอกแยกเพศ กลีบรวมอวบน้า ใบผักหวานบ้านนั้นมีส่วนที่คล้ายใบมะยม แต่ว่าแตกต่าง
จากใบมะยมตรงที่ผักหวานบ้าน จะมีนวลสีขาว ๆ บนหน้าใบผักหวานบ้านเป็นผักชนิดหนึ่งที่มีคุณค่าทาง
โภชนาการสูงมาก นอกจากนั้น สารสกัดด้วย เอทานอลยังมีฤทธิ์ทางอัลลีโลพาที สามารถยับยั้งการเจริญ
ของคะน้าได้ ชาวกะเหรี่ยงนายอดอ่อนและใบอ่อนลวกหรือต้ม รับประทานกับน้าพริก หรือใส่ในแกงปลา
แห้ง
6
2. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ ควบคุมการเจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อ
กระบวนการทางพัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออกดอก การแสดงเพศ การชักนาการสร้าง
เอนไซม์ รวมทั้งการชราของดอกและผล จิบเบอเรลลินถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2469 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น
Eiichi Kurosawaผู้ศึกษาโรคบากาเนะในข้าว เริ่มจากการศึกษาต้นข้าวที่เป็นโรค Bakanae ซึ่งมีลักษณะสูง ผอม เกิดจาก
เชื้อรา Gibberella fujikuroi และถูกสกัดออกมาเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2478 โดยTeijiro Yabuta จากเชื้อรา G.
fujikuroi เมื่อสกัดสารที่เชื้อรานี้สร้างขึ้นไปทดสอบกับพืชชนิดอื่น พบว่าทาให้พืชนั้นๆมีอาการอย่างเดียวกันคือต้นผอม สูง
จึงตั้งชื่อสารที่พบนี้ว่าจิบเบอเรลลิน สารที่พบชนิดแรกตั้งชื่อว่า จิบเบอเรลลิน ต่อมามีการพบอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิ
กจากราอีกหลายชนิด รวมทั้งในพืช ใน พ.ศ. 2546 พบจิบเบอเรลลินแล้ว 126 ชนิดทั้งที่แยกได้จากพืช รา และแบคทีเรีย
7
สมมติฐำนในกำรทดลอง
จากหัวข้อการทดลองที่ตั้งไว้ว่า การทดลองว่าปริมาณจิบเบอเรลลินส่งผลทาให้ความสูงเพิ่มขึ้นหรือไม่
และปริมาณจิบเบอเรลลินเท่าใดมีความเพียงพอต่อการสูงของต้นโดยที่ไม่เกิดอาการผิดปกติต่อต้น
ผักหวานบ้าน สามารถตั้งสมมติฐานได้คือ
1. เมื่อมีการใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินในการดูแลต้นผักหวานบ้าน จะทาให้ความสูงเพิ่มขึ้น
2. การใช้จิบเบอเรลลินในปริมานที่มีความเข้มข้นมาก (high dose) จะทาให้ต้นผักหวานบ้านสูงขึ้นได้
มากกว่าการใช้จิบเบอเรลลินในปริมาณที่มีความเข้มข้นน้อย (low dose)
จุดประสงค์ในกำรทดลอง
1.เพื่อทดลองการส่งผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินในการเพิ่มความสูงของต้นผักหวานบ้าน
2.เพื่อทดสอบว่าจิบเบอเรลลินปริมาณใดที่เหมาะสมที่สุดในการเพิ่มความสูงของต้นผักหวานบ้าน
ตัวแปรในกำรทดลอง
1.ตัวแปรต้น ความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ฉีดแก่ต้นผักหวานแต่ละกลุ่มการทดลอง
2.ตัวแปรควบคุม การรดน้าและพื้นที่ในการโดนแสงแดดของต้นไม้
3.ตัวแปรตาม ความสูงของลาต้นผักหวาน
8
รำยละเอียดอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรทดลอง
อุปกรณ์ในการทดลอง
1.ต้นผักหวาน แบ่งเป็น 3กลุ่ม กลุ่มละ3ต้น ได้แก่
1)กลุ่มควบคุม 2)กลุ่มความเข้มข้นต่า 3)กลุ่มความเข้มข้นสูง
2.สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 3กระบอกฉีด โดยกระบอกที่1 มีความเข้มข้น0%โดยปริมาตร
กระบอกที่2 มีความเข้มข้น 2.5%โดยปริมาตร กระบอกที่3 มีความเข้มข้น 7.5%โดยปริมาตร
สาหรับการผสมฮอร์โมน จะใช้น้าเปล่า 500 ซีซีผสม โดยแบบเข้มข้น 0% ไม่ต้องเติมฮอร์โมนเพิ่ม
แบบเข้มข้น 2.5% เติมฮอร์โมนเพิ่มลงไป 15 ซีซี และเติมฮอร์โมน 45 ซีซีสาหรับแบบเข้มข้น 7.5%
9
ระยะเวลำในกำรทดลอง
ในเวลาในการศึกษาทั้งสิ้น 4 เดือน
เริ่มการทดลองเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2560 ถึงวันที่ 28 กรกฎาคม 2560
ขั้นตอนในการเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
ขั้นตอนในการวางแผนดาเนินการทดลอง
ขั้นตอนในการดาเนินการทดลอง
ขั้นตอนในการเก็บผลการทดลอง
ขั้นตอนในการสรุปผลการทดลองและจัดทารายงาน
พฤษภำคม มิถุนำยน กรกฎำคม สิงหำคม
ตำรำงที่ 1 ตำรำงระยะเวลำในกำรดำเนินกำรทดลอง
10
วิธีกำรเก็บข้อมูลผลกำรทดลอง
เพื่อความแม่นยาในการเก็บข้อมูลผลการทดลอง ทางคณะผู้จัดทาได้เลือกใช้ไม้บรรทัดในการ
วัดความสูงของลาต้นผักหวาน 2ครั้งต่อสัปดาห์โดยวัดความสูงในหน่วยเซนติเมตรโดยวัดจาก
ขอบกระถางถึงปลายยอดของทุกต้นและเพื่อให้เห็นความละเอียดจะวัดถึงทศนิยมตาแหน่งที่ 1 และ
นามาเปรียบเทียบกันในแต่ละกลุ่มการทดลอง โดยมีการบันทึกผลลงในแบบบันทึกการทดลองทุกครั้ง
11
ขั้นตอนในกำรทดลอง
1. การซื้ออุปกรณ์และพืชที่ใช้ทดลอง
คณะผู้จัดทาได้เดินทางไปยัง ตลาดจตุจักร 2 มีนบุรีย์ ในวันเสาร์20 พฤษภาคม 2560 เพื่อไปซื้ออุปกรณ์และพืชที่ในการ
ทดลอง อันได้แก่ ต้นผักหวานบ้าน 9 ต้น กระถางต้นไม้ขนาดกลาง 9 ถาด ดินร่วน 3 กระสอบ กระบอกฉีด 3 กระบอกและ
ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 1 ขวด
2. การผสมฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
คณะผู้จัดทาได้เตรียมฮอร์โมนพืช โดยนายอมรเศรษฐ์ สอนนิยม ในวันที่ 5 มิถุนายน 2560 โดยใช้หลอดฉีดยาในการตวง
ฮอร์โมน สาหรับสารละลายจิบเบอเรลลินทั้งสามความเข้มข้นจะใช้น้าเปล่า 500 ซีซีเช่นเดียวกัน แบบเข้มข้น 0% ไม่ต้องเติม
ฮอร์โมนเพิ่ม แบบเข้มข้น 2.5% เติมฮอร์โมนเพิ่มลงไป 15 ซีซี และเติมฮอร์โมน 45 ซีซีสาหรับแบบเข้มข้น 7.5%
3. ขั้นตอนในการทาการทดลอง
คณะผู้จัดทาได้เตรียมทาการทดลอง ด้วยการฉีดฮอร์โมนให้ต้นไม้ทั้ง 9 ต้นด้วยฮอร์โมนแตกต่างกัน 3 ต้นแรกเป็น
น้าเปล่า 3 ต้นถัดมาเป็นสารละลายจิบเบอเรลลินเข้มข้น 2.5% โดยปริมาตร และ3 ต้นสุดท้ายเป็นสารละลายจิบเบอเรลลิ
นเข้มข้น 7.5% โดยปริมาตร ด้วยกระบอกฉีดต้นละ 6 ครั้งการกดกระบอกฉีด โดย 3 ครั้งแรกพ่นบริเวณใบและอีก 3 ครั้ง
12
พ่นบริเวณลาต้น วันละ 1 ครั้งตอนเช้าก่อนเคารพธงชาติ และมีการรดน้าอย่างสม่าเสมอวันละ 2 ครั้ง (ทาทุกวันยกเว้นวัน
เสาร์-อาทิตย์และวันที่โรงเรียนหยุดเรียน) เป็นเวลา 3 เดือน
4. ขั้นตอนในการบันทึกผลการทดลอง
คณะผู้จัดทาได้บันทึกทาการทดลอง ด้วยการใช้ไม้บรรทัดวัดความสูงของลาต้นผักหวานโดยทาการวัดอาทิตย์ละ2ครั้ง
(ยกเว้นวันเสาร์-อาทิตย์หรือวันที่โรงเรียนหยุดเรียน) โดยวัดจากขอบกระถางถึงปลายยอดต้นไม้ แล้วจดลงในแบบบันทึกผลการ
ทดลอง
13
ผลกำรทดลอง
14
กรำฟแสดงผลกำรทดลอง
ความสูงเฉลี่ยต้นไม้ในแต่ละ
กลุ่มการทดลอง (cm.)
0
5
10
15
20
25
30
35
สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4 สัปดาห์ที่ 5 สัปดาห์ที่ 6 สัปดาห์ที่ 7 สัปดาห์ที่ 8
Chart Title
ชุดควบคุม ชุด low dose ชุด high dose
15
สรุปผลกำรทดลอง
ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อความสูงของต้นผักหวานบ้านโดยต้นผักหวานบ้านที่ได้รับปริมาณ
ฮอร์โมนในชุด High Dose(7.5%) จะสูงที่สุด รองลงมาคือชุด Low Dose(2.5%) และชุดควบคุม
(0%)ตามลาดับ โดยทราบได้จากข้อมูลทางค่าเฉลี่ยทางความสูงของต้นผักหวานบ้านเนื่องจาก ต้น
ผักหวานบ้านในชุด High Dose(7.5%) สูงที่สุดในทุกชุดทดลอง เป็นความจริง แต่เนื่องจากหลังจากเสร็จสิ้น
การทดลองแล้วต้นผักหวานบ้านในกลุ่มนี้เกิดความผิดปกติมากที่สุด จึงสามารถสรุปได้ว่า ปริมาณฮอร์โมนที่
ใช้ในชุด High dose มีปริมาณที่มากเกินจาเป็นของต้นผักหวานและหลังจากสิ้นสุดการทดลองแล้วพบว่า ใน
ทุกชุดการทดลองจะมีอย่างน้อย 1 ต้นที่ตายจึงอาจสรุปได้ว่า เกิดจากโรคที่ติดต่อกันมากับต้นผักหวานบ้าน
จากร้านขายต้นไม้หรือการขนส่งต้นไม้
ภาพตัวอย่างต้นไม้ที่ตายในแต่ละกลุ่มการทดลอง
16
บรรณำนุกรม
www.Wikipedia.com
www.Vcharkarn.com
17
ภำคผนวก
18

More Related Content

Similar to M6 143 60_1

รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานKrupol Phato
 
Fulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัยFulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัยMayko Chan
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาDuangnapa Inyayot
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพanira143 anira143
 
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13Piboon Yasotorn
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะโรงเรียนเดชอุดม
 
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55 รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55 somdetpittayakom school
 
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐานผอ.พีระยศ บุญเพ็ง
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์tanaponboonsupa
 

Similar to M6 143 60_1 (20)

B1
B1B1
B1
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยนโครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
 
Fulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัยFulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
work
workwork
work
 
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
 
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55 รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
 
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

M6 143 60_1