SlideShare a Scribd company logo
ตื่นนอนปั๊บจับพุทโธตลอดเวลา
กิริยาเคลื่อนไหวไปไหนๆในเวลาที่ตั้งจิต จิตยังหารากฐานไม่ได้
เอาขนาดนั้นเทียวนะ ตั้งใจลงกับคาบริกรรม
ไปไหนไม่ให้เคลื่อนคลาดไปเลยทีเดียว ตื่นนอนปั๊บพุทโธ ติดเลย
จนกระทั่งได้เห็นชัดเจนว่าจิตของเรานี้
เวลามันละเอียดจริงๆนี้คาบริกรรมไม่ปรากฏนะ
นั่นมันเกิดขึ้นแล้วในตัวของเรา เวลามันยุ่งเหยิงวุ่นวาย
เอาคาบริกรรมติดแนบไว้เลย ไม่ยอมให้มันคิด
ไม่เสียดายความคิดใดๆทั้งนั้น ให้มีแต่ความคิดคือว่า พุทโธ ๆ
ซึ่งเป็นความคิดทางด้านธรรมะอยู่กับใจ
หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
นี่สอนให้บรรดาลูกหลานมีหลักใจ..
โดยอาศัยหลักธรรม เข้าเป็นเครื่องสนับสนุน
เป็นเครื่องป้องกันตัว เป็นเครื่องรักษาตัว เป็นธรรมอบอุ่นใจ
เวลาก่อนนอนอย่างน้อยให้ไหว้พระ
อิติปิโส ฯ สฺวากฺขาโต หรือ อรห สวากฺโต ฯ สุปฏิปนฺโน ฯ
แล้วเวลานอนให้ระลึกถึง คาบริกรรมภาวนา
เพื่อให้เป็นพลังของจิต เช่น "พุทโธ ๆ ๆ" เป็นต้น
เรานั่งสมาธิอย่างน้อยได้สักห้านาที
ให้นั่งนึกอยู่กับ "พุทโธ ๆ ๆ"
ที่นี้เวลานอนลงไป ก็ให้นึก "พุทโธ ๆ ๆ" จนกระทั่งหลับ
นี่ใจเราก็แช่มชื่นเบิกบาน หลับฝันไปก็ไม่ฝันร้าย
ฝันน่ากลัวต่าง ๆ นานา จิตใจก็มีพลัง..
การภาวนานี่ทาให้จิตมีพลัง
หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
จิต เป็นสิ่งที่ลึกลับมาก
เพราะ กิเลส พาให้ลึกลับ
กิเลสมันเอาจิต เข้าไปหมกไปซ่อนไว้
ในสถานที่ ที่เราไม่อาจเอื้อมรู้ได้ เห็นได้
ถูกกิเลสจอมปลอม ปิดบังไว้หมด
ตัวมัน ออกหน้าออกตา หลอกไว้ตลอดเวลา
จึงไม่เห็นโทษของตน ไม่เห็นโทษของกิเลส
ที่พาให้เกิด-ให้ตาย
เอาให้จริง ให้จัง นักปฏิบัติ!
อยู่ที่ไหน ให้ถือความเพียร เป็นสาคัญ
ให้ถือว่า กิเลส เป็นข้าศึกของเราอยู่เสมอ
ผู้นั้นแหละ จะพ้นจากแหล่ง
แห่งทุกข์นี้ไปได้ โดยไม่ต้องสงสัย
หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
แต่กิเลสมันไม่ค่อยมีความอิ่มมันหิวกระหายอยู่เป็นนิจ
คนเราถ้ามีกิเลสเต็มตัวแล้ว…มันก็เหมือนหมูเราดี ๆ นี่เอง
กินแล้วนอน ๆ จนอ้วนพีเขาก็นาไปขึ้นเขียงสับหั่นเท่านั้น…
ฉะนั้นผู้ปฏิบัติธรรมเขาจึงไม่เลี้ยงกิเลส เขาทาลายกิเลสกันทั้งนั้น…
พระอริยเจ้าทั้งหลายในอดีตที่ผ่านมาท่านรู้ทัน กิเลส…
เมื่อกิเลสโยนมา ธรรมะโผนไป กิเลสโหดร้าย ธรรมะโหดดี ..
อยากทราบต้องออกแนวรบ…
นักปฏิบัติคือ นักรบ เป็นต้องเป็น ตายต้องตาย จึงจะเอา กิเลสอยู่…
กิเลสมีเท่าไหร่ ธรรมะต้องมีเท่านั้น…”
ท่านั่งก็มีสติ เดินจงกรมก็มีสติ อิริยาบถทั้ง ๔ มีสติ
นั้นชื่อว่าเป็นผู้มีความเพียรตลอดเวลา
และยิ่งนั่งภาวนาที่จะเอาจริงเอาจังต่อกันแล้ว
สติยิ่งเป็นของสาคัญมากทีเดียว มีเหตุมีผลอย่างไร
จะแสดงขึ้นมาให้เราเห็นในเวลานั่ง นั่งนานเป็นอย่างไร
ไม่ใช่นั่งทนเอาเฉยๆ นะ"
หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
ธรรมะ..ท่านสอนให้ดูตัวเอง ระวังตัวเอง
จะได้เห็นความบกพร่องของตนเอง
แล้วแก้ไขตัวเองไปเรื่อยๆจนสมบูรณ์ได้”
หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
หลักพุทธศาสนาจริงๆ อยู่กับภาวนานะ…
ภาวนาน่ะ ต้องภาวนา..และ..
การให้ทาน รักษาศีลนี้เป็นบริวารของการภาวนา
เมื่อจิตมีความหนักแน่นในภาวนาเป็นหลักเป็นเกณฑ์แล้ว
การให้ทานก็หนักแน่นขึ้นเรื่อยๆ รักษาศีล
การกุศลอย่างใดก็ตามจะมีความหนักแน่นขึ้นเป็นลาดับ
เพราะอานาจแห่งการภาวนาเป็นแม่เหล็กเครื่องดึงดูด
ให้มีกาลังในการสร้างความดี
หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
"ท่านผู้ให้ศีลให้พรตามขั้นของภูมิจิตภูมิธรรมจะพุ่งออกมาในเวลานั้นนะ
เพราะฉะนั้นเวลาให้พรจึงไม่อยากให้อะไรเข้ามายุ่งนะ เวลาท่านให้พร
จิตที่พุ่งด้วยอานาจแห่งความเมตตาทุกสิ่งทุกอย่างจะออกมาพร้อมกันหมด
สาหรับผู้ทาบุญให้ทานมากน้อยก็เป็นภาชนะสาหรับรับรองพรที่ท่านให้
เพราะฉะนั้นเวลาให้พรจึงไม่ให้อะไรเข้ามายุ่ง ให้จาเอาไว้นะ
นี่ละธรรมแท้เป็นอย่างงั้นนะ ไม่เป็นอย่างอื่นว่างั้นเถอะ นี่จะให้พรละนะ"
หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน…
เพราะฉะนั้นการเดินจงกรมจึงเป็นท่าแห่งความเพียรท่าหนึ่ง
ขอให้มีสติเป็นสาคัญ เดินมากเดินน้อยสติติดแนบอยู่นั้น
นั่งก็เหมือนกัน นี่เราพูดถึงขั้นเริ่มแรกของสติ
และขั้นต่อไปสติก็สาคัญจนกระทั่งวาระสุดท้าย
สติยิ่งแก่กล้าสามารถถึงกับที่ท่านพูดว่ามหาสติมหาปัญญา
คือเป็นตัวของตัวเต็มที่แล้ว สามารถที่จะฟัดฟันกับกิเลสได้ทุกประเภท
ไม่มีข้อยกเว้นเลย ลงสติได้ก้าวขึ้นสู่ความเป็นมหาสติเป็นมหาปัญญาแล้ว
กิเลสมีเท่าไรพังลงๆ โดยไม่เหลือ แต่ที่มันยังไม่ถึงขั้นนั้น
เราต้องได้ใช้ความพยายามให้เต็มเม็ดเต็มหน่วย"
หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
“ผู้มีสติปัญญาย่อมรู้ธรมชั้นละเอียดอ่อนได้ไม่ยากนัก
สามารถรู้เล่ห์เหลี่ยมกิเลสภายในจิตใจไม่ว่าซอกไหนมุมใด
ท่านจะจับออกมาสับโขกอย่างไม่ปราณี…”
กิเลสเป็นตัวโรคร้ายและไม่สามารถมองมันเห็นด้วยตาเปล่า หรือกล้องส่อง
เมื่อใครมีกิเลสส่วนใดชนิดใดแล้ว ภายในตัวกิเลสมันจะกัดกินใจของบุคคลนั้น
อย่างไม่มีวันพอ จนตายนั่นแหละมันจึงจะปล่อย”
ธรรมะเป็นอาวุธสาคัญที่กิเลสหวั่นไหวเกรงกลัว เพราะรู้ทันกลอุบายของมัน
..ผู้ปฏิบัติจะมีความอิ่มแห้งธรรมเหมือนอิ่มอาหารจะเข้าใจกันเองไม่ต้องถาม
…เพราะธรรมเป็นของอิ่มของพอ…
หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน

More Related Content

What's hot

01.ทำไม ต้องทอดผ้าบังสุกุล
01.ทำไม ต้องทอดผ้าบังสุกุล01.ทำไม ต้องทอดผ้าบังสุกุล
01.ทำไม ต้องทอดผ้าบังสุกุล
25Sura
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
 
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธตเธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
Gawewat Dechaapinun
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้นbmcweb072
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
Padvee Academy
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาOnpa Akaradech
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
哲学者カントの知情意と匠Methodの関係性
哲学者カントの知情意と匠Methodの関係性哲学者カントの知情意と匠Methodの関係性
哲学者カントの知情意と匠Methodの関係性
Hagimoto Junzo
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
Taraya Srivilas
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
niralai
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทยสถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
Padvee Academy
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
Padvee Academy
 

What's hot (20)

01.ทำไม ต้องทอดผ้าบังสุกุล
01.ทำไม ต้องทอดผ้าบังสุกุล01.ทำไม ต้องทอดผ้าบังสุกุล
01.ทำไม ต้องทอดผ้าบังสุกุล
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธตเธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทา
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
哲学者カントの知情意と匠Methodの関係性
哲学者カントの知情意と匠Methodの関係性哲学者カントの知情意と匠Methodの関係性
哲学者カントの知情意と匠Methodの関係性
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิตบาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทยสถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 

Similar to คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน

คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
Songsarid Ruecha
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
Padvee Academy
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์duangdee tung
 
Kamnamtham 5
Kamnamtham 5Kamnamtham 5
Kamnamtham 5
Songsarid Ruecha
 
Luangpoo kumdee
Luangpoo kumdeeLuangpoo kumdee
Luangpoo kumdee
MI
 
Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2
MI
 
Luangta mahabua
Luangta mahabuaLuangta mahabua
Luangta mahabua
MI
 
Luangpoo suwat
Luangpoo suwatLuangpoo suwat
Luangpoo suwat
MI
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตTaweedham Dhamtawee
 
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
Songsarid Ruecha
 
Luangpor intawai13
Luangpor intawai13Luangpor intawai13
Luangpor intawai13
MI
 
Pra ajarn boonchan
Pra ajarn boonchanPra ajarn boonchan
Pra ajarn boonchan
MI
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
freelance
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
Padvee Academy
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
ธรรม
ธรรมธรรม
ธรรมaon04937
 

Similar to คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (20)

คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
Kamnamtham 5
Kamnamtham 5Kamnamtham 5
Kamnamtham 5
 
Luangpoo kumdee
Luangpoo kumdeeLuangpoo kumdee
Luangpoo kumdee
 
Dharma Framework For Geek
Dharma Framework For GeekDharma Framework For Geek
Dharma Framework For Geek
 
Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2
 
Luangta mahabua
Luangta mahabuaLuangta mahabua
Luangta mahabua
 
Luangpoo suwat
Luangpoo suwatLuangpoo suwat
Luangpoo suwat
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
 
One Pointed Mind
One Pointed MindOne Pointed Mind
One Pointed Mind
 
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
 
Luangpor intawai13
Luangpor intawai13Luangpor intawai13
Luangpor intawai13
 
Pra ajarn boonchan
Pra ajarn boonchanPra ajarn boonchan
Pra ajarn boonchan
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
ธรรม
ธรรมธรรม
ธรรม
 

More from MI

คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
MI
 
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
MI
 
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตคำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
MI
 
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญคำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
MI
 
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำคำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
MI
 
คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์
MI
 
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
MI
 
Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo lar
MI
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarm
MI
 
Luangta 11
Luangta 11Luangta 11
Luangta 11
MI
 
Buddha's quotes
Buddha's quotesBuddha's quotes
Buddha's quotes
MI
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
MI
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
MI
 
Luangpor intawai113
Luangpor intawai113Luangpor intawai113
Luangpor intawai113
MI
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112
MI
 
Great dharma masters1
Great dharma masters1Great dharma masters1
Great dharma masters1
MI
 
Luangta mahabua3
Luangta mahabua3Luangta mahabua3
Luangta mahabua3
MI
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1
MI
 
Light of buddhism1
Light of buddhism1Light of buddhism1
Light of buddhism1
MI
 
Luangpor intawai19
Luangpor intawai19Luangpor intawai19
Luangpor intawai19
MI
 

More from MI (20)

คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
 
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
 
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตคำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
 
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญคำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
 
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำคำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
 
คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์
 
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
 
Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo lar
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarm
 
Luangta 11
Luangta 11Luangta 11
Luangta 11
 
Buddha's quotes
Buddha's quotesBuddha's quotes
Buddha's quotes
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai113
Luangpor intawai113Luangpor intawai113
Luangpor intawai113
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112
 
Great dharma masters1
Great dharma masters1Great dharma masters1
Great dharma masters1
 
Luangta mahabua3
Luangta mahabua3Luangta mahabua3
Luangta mahabua3
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1
 
Light of buddhism1
Light of buddhism1Light of buddhism1
Light of buddhism1
 
Luangpor intawai19
Luangpor intawai19Luangpor intawai19
Luangpor intawai19
 

คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน