SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-




                                      สมัยรัตนโกสินทรตอนตน
                                           (รัชกาลที่ 1-รัชกาลที่ 4)




                                                          พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-




           เมื่อสมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึกปราบการจลาจล
      ที่เกิดขึ้นในปลายรัชกาลสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช
      จนบานเมืองอยูในความสงบเรียบรอย พวกขุนนาง
      ขาราชการและราษฎรทั้งหลายจึงเห็นพองตองกันในการ
      อัญเชิญสมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก
      ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชยสมบัติในวันที่ 6 เมษายน
      พ.ศ.2325 พระนามที่ปรากฏในพระสุพรรณบัฏ คือ                 http://www.lannatalkkhongdee.com/Admin/Fileman
                                                                ament/AllFile/UserFile/mem0000003/picture/52-

           สมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดีฯ สวนพระนาม           05-13-scoop-17.jpg




      พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก นั้น เปนพระนามที่
      พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงถวาย นับวาพระองคเปนปฐมกษัตริย
      ในพระบรมราชจักรีวงศ
                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-




          พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช
              ทรงเปนพระมหากษัตริยองคแรกแหงราชวงศจักรี มีพระนามเดิมวา ทองดวง
          ประสูติเมื่อวันพุธแรม 4 ค่ํา เดือน 4 ปมะโรง พ.ศ. 2279 เปนบุตรคนที่ 4 ของ
          หลวงพินิจอักษร ซึ่งสืบเชื้อสายมาจากเจาพระยาโกษาธิบดี (ปาน) และเจาแม
          วัดดุสิต ซึ่งเปนพระนมในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช
              เมื่อพระชนมายุได 21 ป ทรงผนวชอยูที่วัดมหาทะลาย เมื่อลาสิกขาบทออกมา
          ไดเขารับราชการเปนมหาดเล็กของพระเจาอุทุมพร เมื่อพระชนมายุได 24 พรรษา
          ทรงดํารงตําแหนงเปนหลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรี ตอมาไดแตงงานกับนางสาวนาค
          พระชนมายุได 32 พรรษา ไดเขามารับราชการในสมัยสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช
          ทรงดํารงตําแหนงเปนพระราชวรินทร เจากรมพระตํารวจนอกขวา ตอมาไดเลื่อน
          ตําแหนงเปนพระยาอภัยรณฤทธิ์ เปนพระยายามราชและเปนเจาพระยาจักรี


                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-


          ใน พ.ศ. 2320 ไดรับความดีความชอบที่ไปปราบหัวเมืองลาวได จึงไดรับ
       พระราชทานตําแหนงสมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก และใน พ.ศ.2525
       ทรงปราบดาภิเษกขึ้นเปนกษัตริย ทรงพระนามวาสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดีฯ
       หรือพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทรงครองราชยอยู 28 ป เสด็จสวรรคต
       ดวยพระโรคชรา เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ.2352
       มีพระชนมายุได 74 พรรษา ถึงสมัยรัชกาลที่ 9 ทรงไดรับพระราชสมัญญาเปน
             พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช




                                           http://ndc.prd.go.th/Sitedirectory/449/2005/176287_%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8
                                           %9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%94.gif
                                                                          พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-


               ขณะเมื่อพระองคไดสถาปนาขึ้นเปนองคปฐมกษัตริยแหงราชวงศจักรี ชวง
           ระยะเวลานั้นไดสืบเนื่องมาจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 และการรบพุงกันมาก
           ในสมัยสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช บานเมืองทรุดโทรมเสียหายมาก
               ดังนั้นพระองคจึงตองฟนฟูบานเมืองโดยมีจุดมุงหมายที่จะฟนฟูอํานาจของ
           อาณาจักรไทยขึ้นมาใหม ทั้งทางการเมืองและวัฒนธรรม โดยสืบทอดงานตอจาก
           สมัยของพระเจากรุงธนบุรีซึ่งมีระยะเวลาคอนขางสั้น เชน การฟนฟูอํานาจทาง
           การเมือง ไดแก
              สถาปนาศูนยกลางอันมั่นคงของอาณาจักร เชน การสรางเมืองหลวงขึ้นใหม
              การรักษาความสงบเรียบรอยภายในอาณาจักร
              การทําศึกสงครามปองกันเอกราชของประเทศ
              การขยายอํานาจและการรักษาอิทธิพลของไทยในเขตประเทศราช
              การฟนฟูความเจริญวัฒนธรรม เชน ขนบธรรมเนียมราชประเพณีตางๆ การฟนฟู
           ศาสนา การฟนฟูระบอบการปกครองและกฎหมาย

                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-




           การฟนฟูศิลปกรรมตางๆ ซึ่งรัชกาลที่ 1 ทรงเปนผูวางรากฐานการฟนฟูเหลานี้ไว
        และรัชกาลที่ 2 และ 3 ทรงประสานงานตอมา สําหรับนโยบายการรักษาเอกราช
        ความมั่นคงประเทศนั้น นอกจากจะตองทําสงครามกับประเทศเพื่อนบานที่ตองการ
        รุกรานไทยแลว ไทยยังตองดําเนินนโยบายทางการทูตอยางระมัดระวังกับประเทศ
        มหาอํานาจตะวันตกที่เริ่มเขามาติดตออยางใกลชิดกับไทยดวย




                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-


      การสถาปนากรุงรัตนโกสินทรเปนราชธานี
          หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงปราบจลาจล
      ภายในกรุงธนบุรีและสรางความมั่นคงภายในประเทศแลว พระองคทรงยายราชธานี
      จากกรุงธนบุรีซึ่งอยูทางฝงตะวันตกมายังฝงตะวันออกของแมน้ําเจาพระยาและตั้งชื่อ
      ใหมวากรุงเทพฯ ทั้งนี้เนื่องดวยสาเหตุหลายประการ คือ
         1. พระราชวังเดิมของกรุงธนบุรีคับแคบ มีวัดขนาบอยูทั้ง 2 ดาน คือ วัดแจง
      (วัดอรุณราชวราราม) และวัดทายตลาด
      (วัดโมลีโลกยาราม) ทําใหไมสามารถขยาย
      อาณาเขตของพระราชวังใหกวางขวางขึ้นได




                                                      วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร
                                                         http://variety.teenee.com/foodforbrain/img8/51122.jpg
                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-


            2. พระองคไมทรงเห็นดวยที่จะใหพระนครแบงออกเปน 2 สวน โดยมี
      แมน้ําเจาพระยาผากลางเปนเสมือนเมืองอกแตก ดังเชน เมืองพิษณุโลก สุพรรณบุรี
      เพราะหากขาศึกยกทัพมาตามลําน้ํา ก็สามารถบุกตีใจกลางเมืองหลวงได ทําใหยากแก
      การปองกันพระนคร ครั้นจะสรางปอมปราการทั้ง 2 ฝงแมน้ํา ก็จะเปนการสิ้นเปลืองเงิน
      ทองมาก ทําใหยากแกการเคลื่อนพลจากฝงหนึ่งไปยังอีกฝงหนึ่ง ซึ่งเปนการยากลําบาก
      มาก ดังนั้นพระองคจึงยายพระนคร
      มาอยูทางฝงตะวันออกของแมน้ํา
      เจาพระยาเพียงแหงเดียว โดยมี
      แมน้ําเปนคูเมืองทางดานตะวันตก
      และใต สวนทางดานตะวันออกและ
      ทางดานเหนือ โปรดเกลาฯ ใหขุด
      คลองขึ้นเพื่อเปนคูเมืองปองกัน
      พระนคร
                                                    http://img.kapook.com/image/travel/32.jpg

                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-


                3. พื้นที่ทางฝงตะวันออกเปนที่ราบลุม สามารถขยายเมืองใหกวางขวาง
          ออกไปไดเรื่อยๆ ตรงบริเวณที่ตั้งพระนครพื้นที่เปนแหลม โดยมีแมน้ําเปนกําแพง
          กั้นอยูเกือบครึ่งเมือง




                                            http://61.90.250.46/webboard/uploads/post-4-1150263805.jpg



                                                                พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-




                                   http://www.siangesanfanclub.com/forum/attachment.php?attachmentid=6997&stc=1&d=1214032058


                                                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-



                4. ทางฝงตะวันตกของแมน้ําเจาพระยา พื้นที่เปนทองคุง น้ํากัดเซาะ
          ตลิ่งพังทลายอยูเสมอ จึงไมเหมาะแกการสรางอาคารหรือถาวรวัตถุใดๆ ไวริมฝง
          แมน้ํา
              พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชมีรับสั่งใหสรางเมืองใหมทาง
          ฝงตะวันออกของแมน้ําเจาพระยา ตั้งแตบริเวณหัวโคงแมน้ําเจาพระยา คือ บริเวณ
          พระบรมมหาราชวังในปจจุบัน พระราชทานนามเมืองใหมนี้วา
          “กรุงเทพมหานครบวรรัตนโกสินทร มหินทรายุทธนา มหาดิลกภพนพรัตน
          ราชธานีบุรีรมย อุดมราชนิเวศน มหาสถานอมรพิมาน อวตารสถิต สักกทัตติย
          วิษณุกรรมประสิทธิ์ ตอมาในสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงเปลี่ยนจากคําวา บวร
          รัตนโกสินทร เปน อมรรัตนโกสินทร”




                                                         พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-


               ในการสรางพระมหาบรมราชวัง โปรดเกลาฯ ใหสรางวัดขึ้นภายในดวย
          คือ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือวัดพระแกว แลวใหอัญเชิญพระแกวมรกต
          ขึ้นประดิษฐาน ทรงพระราชทานนามใหมวา พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร”
          เพื่อเปนสิริมงคลแกกรุงเทพฯ




      http://www.igetweb.com/www/watvisit/gallery/90773.jpg   http://www.hamanan.com/tour/bangkok/imagewatprakeaw/dsc680.jpg



                                                                            พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-


       สภาพสังคมและการศึกษา
          1. สภาพสังคม โครงสรางของสังคมไทยในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนมีลักษณะ
       คลายคลึงกับสังคมอยุธยา ถึงแมภายในสังคมจะไมมีการแบงชั้นวรรณะอยางอินเดีย
       แตฐานะความเปนอยูของคนก็แตกตางกันอยางมาก แตละคนจะสามารถเลื่อนฐานะ
       ของตนขึ้นไดก็ตอเมื่อไดรับความดีความชอบหรือมีความสามารถ เชน สามัญจะมี
       โอกาสเลื่อนฐานะของตนจนกระทั่งเปนถึงขุนนางไดตองมไดรับการศึกษา รวมทั้งมี
       ความสามารถอยูในตัวเองดวย




                                           รัชกาลที่ 5
                                                         http://www.sahavicha.com/UserFiles/Image/3(81).jpg
                                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-



           ชนชั้นทางสังคม
              1. เจานายสูงสุด ไดแก พระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ
              2. ขุนนางและขาราชการตางๆ ที่มีศักดินาตั้งแต 400-10,000 ไร
          ซึ่งมีความเปนอยูดี ฐานะร่ํารวย มีสิทธิพิเศษหลายอยาง
              3. ไพรและสามัญชน ไดแก ชนสวนใหญของประเทศ
              4. ทาส เปนผูที่มีอิสระในตัวเอง แตสภาพความเปนอยูของทาสในเมืองไทย
          ดีกวาประเทศตางๆ มาก ถาทาสทําความดีความชอบตอบานเมือง ก็สามารถ
          เลือกฐานะตนเองเปนขุนนางได สวนขุนนางถาทําความผิดรายแรงก็อาจถูกลดฐานะ
          ลงเปนทาสไดเชนกัน
               ทาสในสังคมสมัยนั้น ไดแก ทาสเชลย ทาสในเรือนเบี้ย ทาสสินไพ ทาสไดมา
          แตบิดามารดา ทาสที่เลี้ยงไวเมื่อเกิดทุพภิกขภัย ทาสที่ชวยมาจากทัณฑโทษ ทาส
          ทานให

                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-


              กรุงรัตนโกสินทรแลวเสร็จจริงๆในป พ.ศ. 2327 มีการสมโภชพระนคร
          ครั้งใหญ มีการลอกองคประกอบของกรุงศรีอยุธยามามากมาย เชน วัดสุทัศน
          แทนวัดพนัญเชิญ มีพระบรมมหาราชวังอยูริมน้ํา เปนตน แตกรุงรัตนโกสินทร
          ถูกสรางตอมาจนสมบูรณหมดจริงๆ ในชวงรัชกาลที่ 3 และรัชกาลตอมา
          จึงขยายพระนคร




                                           http://statics.atcloud.com/files/entries/6/63441/images/1_original.jpg



                                                                                พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-




                                                                                  วัดสุทัศนเทพวราราม



      http://images.palungjit.com/attachments/263-
      %E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B8
      %E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B9%8C-
      suthat-jpg




                                           http://images.palungjit.com/attachments/2440-%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B8
                                                                          %E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B9%8C-g2919827-0-jpg

                                                                                  พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-

               การขยายพระนครนั้นเริ่มในสมัยรัชกาลที4 เมื่อมีการขุดคลองผดุงกรุงเกษม
                                                       ่
           ขึ้น พรอมสรางปอมแตไมมีกําแพง นอกจากนี้ยังมีการตัดถนนเจริญกรุงและ
           ถนนพระรามสีหรือสมัยนั้นเรียกถนนตรง ทําใหความเจริญออกไปพรอมกับ
                          ่
           ถนน สรุปไดวาในรัชกาลที่ 4 เมืองไดขยายออกไปทางตะวันออก ในรัชกาลที่ 5
           ความเจริญไดตามถนนราชดําเนินไปทางเหนือพรอมกับการสรางพระราชวังดุสิต
           ขึ้น กําแพงเมืองตางๆเริ่มถูกรื้อเนื่องจากความเจริญและศึกตางๆเริ่มไมมีแลว




                                                                                    http://upload.wikimedia.org/wikipedia/
                                                                                    th/thumb/3/3e/



                                                         พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-




                                                         ถนนเจริญกรุง
                                           http://www.skn.ac.th/skl/project/world96/rat35.jpg


                                                                                   พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-




                                                                    ถนนราชดําเนิน
                                                                   http://2.bp.blogspot.com/_Aprg4up9nek/
                                                                   SGxVkdYWvKI/AAAAAAAAAeM/E8sYO
                                                                   9FIwiE/s400/Pq2m9Gor-
                                                                   9702da8a1167f61ba6036826d7d5bd9c.j
                                                                   pg

                                           พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-

             หลังจาก ร.ศ.112 ทีฝรั่งเศสยกเรือรบมาถึงบางรัก ก็เปนแคไมกี่ครั้งที่
                                  ่
          ขาศึกตางชาติเขาถึงชานพระนครได ความเจริญไดตามไปพรอมกับวังเจานาย
          ตางๆนอกพระนคร ทุงตางๆกลายเปนเมือง และในสมัยรัชกาลที่ 6 ไดเกิดสะพาน
          ขามแมน้ําเจาพระยาแหงแรก เปนสะพานขามทางรถไฟชื่อสะพานพระรามหก




                                           http://kanchanapisek.or.th/kp8/art/lab3/photo/p054_01.gif
                                                                               พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-


             จนถึงรัชกาลที่ 7 ฝงกรุงธนบุรีกับพระนครไดถูกเชื่อมโดยสะพานปฐมบรมราชา-
        นุสรณ (สะพานพุทธ) ทําใหประชาชนเกิดความสะดวกขึ้นมามาก หลังจากนั้นเมื่อเกิด
        สงครามโลกครั้งที่สองในรัชกาลที่ 8
        พระนครถูกโจมตีทางอากาศจาก
        ฝายสัมพันธมิตรบอยครั้ง แตพระ
        บรมมหาราชวังปลอดภัยเนื่องจาก
        ทางเสรีไทยไดระบุพิกัดพระบรม
        มหาราชวังมิใหมีการยิงระเบิด
        เมื่อสิ้นสงครามแลวพระนครเริ่ม
        พัฒนาแบบไมหยุด เกิดการรวม
        จังหวัดตางๆเขาเปนกรุงเทพมหานคร
        และไดเปนเขตปกครองพิเศษหนึ่งใน
        สองแหงของประเทศไทย
        http://www.thaifilm.com/imgUpload/reply421281_%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B8%
        E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2.jpg

                                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-




       เหตุการณสําคัญในรัชกาลที่ 4




                                           http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A
                                           5%E0%B9%8C:Wax_model_of_King_Rama_IV.jpg



                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-

      พ.ศ. 2394
        - โปรดเกลาฯ ใหขุนนางสวมเสื้อเวลาเขาเฝา
        - รอยเอกอิมเปย เขามาฝกทหารแบบยุโรป
        - คณะมิชชันนารี สอนภาษาอังกฤษ ในพระบรมมหาราชวัง
        - รอยเอกนอกซ เขามาเปนครูฝกทหารวังหนา
        - คณะมิชชันนารีอเมริกัน เขามาสอนภาษา
        - กองทัพไทยไปตีเมืองเชียงตุง
        - ทรงพระราชศรัทธาปฏิสังขรวัดใหมขึ้นหลายวัด เชน วัดปทุมวนาราม วัดโสมนัส
      วิหาร วัดมกุฎกษัตริยาราม วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม และวัดราชบพิธ เปน
      ตน ตลอดจนบูรณะวัดตาง ๆ อีกมาก
        - โปรดเกลาฯ ใหมีพระราชพิธี "มาฆบูชา" ขึ้นเปนครั้งแรก ใน พ.ศ. 2394 ณ ทีวัด
                                                                                  ่
      พระศรีรัตนศาสดาราม จนไดถือปฏิบัติสืบมาจนถึงทุกวันนี้
        - โปรดเกลาฯ ใหมีการสังคายนาพระไตรปฎก
        - ทรงตั้งคณะธรรมยุตินิกายและวางรากฐานพระวินัย ทําใหพุทธศาสนายั่งยืนทุกวันนี้
                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-

          - โปรดเกลาฯ ใหขยายพระนคร โดยขุดคลองผดุงกรุงเกษมเปนคูพระนครชั้นนอก
          - โปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยนธงชาติเปนรูปชางเผือกอยูกลางธงพื้นสีแดง
       พ.ศ. 2395
         - โปรดเกลาฯ ใหสรางปอมตามแนวคลองผดุงกรุงเกษมขึ้น 8 ปอม
         - สงราชทูตอัญเชิญพระราชสาสนและเครื่องราชบรรณาการไปถวายพระเจาฮําฮอง
       จักรพรรดิจีน
         - สงคณะสงฆไปลังกา
       พ.ศ. 2396
        - พ.ศ. 2396 โปรดเกลาฯ ใหบูรณะพระปฐมเจดียใหมีลักษณะดังปรากฏในปจจุบัน
        - โปรดเกลาฯ ให บูรณะปฏิสังขรณพระปฐมเจดีย
        - โปรดเกลาฯ ใหราษฎรที่ไดรับเดือดรอนถวายฎีกาแกพระองคได
        - โปรดเกลาฯ ใหใช "หมาย" แทนเงินตรา
        - ไทยรบพมาที่เมืองเชียงตุง (เปนสงครามครั้งสุดทายระหวาง ไทย-พมา)
                                                  พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-

       พ.ศ. 2398
        - เซอร จอหน เบาริง ขอเขามาเจริญพระราชไมตรี ทําสนธิสัญญาใหมกับอังกฤษ
       พ.ศ. 2399
        - ไทยทําสนธิสัญญาทางการทูตกับอเมริกาและฝรั่งเศส




                                                                                    เซอร จอหน เบาริง
                               http://image.dek-d.com/1/contentimg/pr/image.jpg

                                                                                  พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-

      พ.ศ. 2400
        - ดารานพรัตน เปนเครื่องราชอิสริยาภรณชนิดแรก ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา
      เจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้น เพื่อเปนบําเหน็จความชอบในราชการแผนดิน แทนการ
      พระราชทานเครื่องยศ ดาราดวงนี้นับไดวาเปนตนเคาของเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปน
      โบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ และเครื่องราชอิสริยาภรณตระกูลอื่นๆ ของประเทศไทย
        - โปรดเกลาฯ ใหสงคณะทูตไปเจริญทาง
      พระราชไมตรีกับสมเด็จพระราชินีวิกตอเรีย
      แหงอังกฤษ
        - โปรดเกลาฯ ใหสรางเครื่องราชอิสริยาภรณ
      ไทย ขึ้นเปนครั้งแรก
        - โปรดเกลาฯ ใหขุดคลองมหาสวัสดิ์
      และคลองถนนตรง
        - เริ่มสรางกําปนเรือกลไฟ
        - ทรงประกาศใหพสกนิกรเขาเฝาขางทางขบวนเสด็จพระราชดําเนินได
                          http://images.sanshan.multiply.com/image/1:nhyclub/photos/8/500x500/1/mahasawas01.JPEG?et=C4wcliw2I7SNE109cGzMWA&nmid=283899259

                                                                                           พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-


    พ.ศ.2401
     - ทําสนธิสัญญาทางการคากับโปรตุเกส
     - โปรดเกลาฯ ใหปฏิสังขรณพระนารายณราชนิเวศน ลพบุรี
     - โปรดเกลาฯ ใหออกประกาศราชการที่เรียกวา หนังสือราชกิจจานุเบกษา
    พ.ศ. 2402
      - พระนครคีรี สรางขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2402
      - โปรดเกลาฯ ใหสรางพระนครคีรี
    (เขาวัง) ขึ้นบนยอดเขาที่เพชรบุรี
      - โปรดเกลาฯ ใหสรางพระที่นั่ง
    ประพาสพิพิธภัณฑ
    พ.ศ. 2403
       โปรดเกลาฯ ใหสรางโรงกษาปณ
    ผลิตเหรียญ
                                                          พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
                                                           พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
                                              http://welovephuwai.com/img_article/904921235691218916691746889341.jpg
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-

    พ.ศ. 2404
      - คณะราชทูตสยามภายใตการนําของเจาพระยาศรีพิพัฒนรัตนราชโกษา
    (แพ บุนนาค) ทูลเกลาฯ ถวายพระราชสาสนเจริญพระราชไมตรี แดจักรพรรดิ
    นโปเลียนที่ 3 แหงฝรั่งเศส ณ พระราชวังฟองแตนโบล เมื่อวันที่ 27
    มิถุนายน พ.ศ. 2404 (ผลงานการวาดของ ฌอง เลออง เจโรม
    ปจจุบันจัดแสดง ณ พิพิธภัณฑพระราชวังฟองแตนโบล)
      - โปรดเกลาฯ ใหสงทูตไปเจริญทางพระราชไมตรีกับประเทศฝรั่งเศส
      - เริ่มมีตํารวจนครบาลเปนครั้งแรก
      - เริ่มสรางถนนเจริญกรุง
    พ.ศ. 2405
      - นางแอนนา ลีโอโนเวนส เขามารับราชการเปน
    ครูสอนภาษาอังกฤษในพระราชสํานัก
    พ.ศ. 2406
      - สรางถนนบํารุงเมือง ถนนเฟองนคร                                                            http://www.bloggang.
                                                                                                    com/data/rattanakosi
                                                                                                    n225/picture/118423

      - สรางพระบรมบรรพต (ภูเขาทอง)
                                                                                                    2295.jpg


                                               พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-




       พ.ศ. 2407
         - โปรดเกลาฯ ใหสรางวัดราชประดิษฐ     http://www.reurnthai.com/rtimages/RW2584x11.jpg



       พ.ศ. 2408
         - พระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัวเสด็จสวรรคต
       พ.ศ. 2411
         - พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว เสด็จพระราชดําเนินทอดพระเนตร
       สุริยุปราคาที่บานหวากอ เมืองประจวบคีรีขันธ พ.ศ. 2411
                                                   พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4
                                  .1-


            แหลงที่มาของขอมูล
            http://2.bp.blogspot.com/                   http://www.hamanan.com/
            http://61.90.250.46/                        http://www.igetweb.com/
            http://image.dek-d.com/                     http://www.lannatalkkhongdee.com
            http://images.palungjit.com/                http://www.reurnthai.com/
            http://images.palungjit.com/                http://www.sahavicha.com/
            http://images.sanshan.multiply.com/         http://www.siangesanfanclub.com/
            http://img.kapook.com/image/travel/32       http://www.skn.ac.th/
            http://kanchanapisek.or.th/                 http://www.thaifilm.com/
            http://ndc.prd.go.th/Sitedirectory/449/20
            05/176287
            http://statics.atcloud.com/
            http://th.wikipedia.org/
            http://upload.wikimedia.org/
            http://variety.teenee.com/
            http://www.bloggang.com/




                                                         พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

More Related Content

What's hot

หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
Ning Rommanee
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
JulPcc CR
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
banlangkhao
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
fernbamoilsong
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
JulPcc CR
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
JulPcc CR
 
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยาแผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
naipingpun
 

What's hot (12)

อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
 
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยาแผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
แผ่นพับทัศนศึกษาอยุธยา
 

Viewers also liked

Dreams of the Mango People - The Entrepreneurial Dream
Dreams of the Mango People - The Entrepreneurial DreamDreams of the Mango People - The Entrepreneurial Dream
Dreams of the Mango People - The Entrepreneurial Dream
Leadstart Publishing
 

Viewers also liked (7)

A solution for entrepreneur gap
A solution for entrepreneur gapA solution for entrepreneur gap
A solution for entrepreneur gap
 
My experiences in Agile Noida Conference
My experiences in Agile Noida ConferenceMy experiences in Agile Noida Conference
My experiences in Agile Noida Conference
 
Dreams of the Mango People - The Entrepreneurial Dream
Dreams of the Mango People - The Entrepreneurial DreamDreams of the Mango People - The Entrepreneurial Dream
Dreams of the Mango People - The Entrepreneurial Dream
 
How to lose a job?
How to lose a job?How to lose a job?
How to lose a job?
 
Marriages Sets & Upsets
Marriages Sets & UpsetsMarriages Sets & Upsets
Marriages Sets & Upsets
 
Retrospectives reinvented -- RallyON Conference, Phoenix, Arizona, US
Retrospectives reinvented -- RallyON Conference, Phoenix, Arizona, USRetrospectives reinvented -- RallyON Conference, Phoenix, Arizona, US
Retrospectives reinvented -- RallyON Conference, Phoenix, Arizona, US
 
The Smell of Agile Culture
The Smell of Agile CultureThe Smell of Agile Culture
The Smell of Agile Culture
 

Similar to 09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร

08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
JulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
JulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
JulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
JulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
JulPcc CR
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
JulPcc CR
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
JulPcc CR
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
JulPcc CR
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
JulPcc CR
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
JulPcc CR
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
JulPcc CR
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
JulPcc CR
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
JulPcc CR
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
Ning Rommanee
 

Similar to 09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร (20)

08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.
 

More from JulPcc CR

16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
JulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
JulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
JulPcc CR
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
JulPcc CR
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
JulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
JulPcc CR
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
JulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
JulPcc CR
 

More from JulPcc CR (8)

16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 

09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร

  • 1. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- สมัยรัตนโกสินทรตอนตน (รัชกาลที่ 1-รัชกาลที่ 4) พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 2. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- เมื่อสมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึกปราบการจลาจล ที่เกิดขึ้นในปลายรัชกาลสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช จนบานเมืองอยูในความสงบเรียบรอย พวกขุนนาง ขาราชการและราษฎรทั้งหลายจึงเห็นพองตองกันในการ อัญเชิญสมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชยสมบัติในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ.2325 พระนามที่ปรากฏในพระสุพรรณบัฏ คือ http://www.lannatalkkhongdee.com/Admin/Fileman ament/AllFile/UserFile/mem0000003/picture/52- สมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดีฯ สวนพระนาม 05-13-scoop-17.jpg พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก นั้น เปนพระนามที่ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงถวาย นับวาพระองคเปนปฐมกษัตริย ในพระบรมราชจักรีวงศ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 3. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงเปนพระมหากษัตริยองคแรกแหงราชวงศจักรี มีพระนามเดิมวา ทองดวง ประสูติเมื่อวันพุธแรม 4 ค่ํา เดือน 4 ปมะโรง พ.ศ. 2279 เปนบุตรคนที่ 4 ของ หลวงพินิจอักษร ซึ่งสืบเชื้อสายมาจากเจาพระยาโกษาธิบดี (ปาน) และเจาแม วัดดุสิต ซึ่งเปนพระนมในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช เมื่อพระชนมายุได 21 ป ทรงผนวชอยูที่วัดมหาทะลาย เมื่อลาสิกขาบทออกมา ไดเขารับราชการเปนมหาดเล็กของพระเจาอุทุมพร เมื่อพระชนมายุได 24 พรรษา ทรงดํารงตําแหนงเปนหลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรี ตอมาไดแตงงานกับนางสาวนาค พระชนมายุได 32 พรรษา ไดเขามารับราชการในสมัยสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช ทรงดํารงตําแหนงเปนพระราชวรินทร เจากรมพระตํารวจนอกขวา ตอมาไดเลื่อน ตําแหนงเปนพระยาอภัยรณฤทธิ์ เปนพระยายามราชและเปนเจาพระยาจักรี พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 4. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- ใน พ.ศ. 2320 ไดรับความดีความชอบที่ไปปราบหัวเมืองลาวได จึงไดรับ พระราชทานตําแหนงสมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก และใน พ.ศ.2525 ทรงปราบดาภิเษกขึ้นเปนกษัตริย ทรงพระนามวาสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดีฯ หรือพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทรงครองราชยอยู 28 ป เสด็จสวรรคต ดวยพระโรคชรา เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ.2352 มีพระชนมายุได 74 พรรษา ถึงสมัยรัชกาลที่ 9 ทรงไดรับพระราชสมัญญาเปน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช http://ndc.prd.go.th/Sitedirectory/449/2005/176287_%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8 %9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%94.gif พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 5. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- ขณะเมื่อพระองคไดสถาปนาขึ้นเปนองคปฐมกษัตริยแหงราชวงศจักรี ชวง ระยะเวลานั้นไดสืบเนื่องมาจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 และการรบพุงกันมาก ในสมัยสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช บานเมืองทรุดโทรมเสียหายมาก ดังนั้นพระองคจึงตองฟนฟูบานเมืองโดยมีจุดมุงหมายที่จะฟนฟูอํานาจของ อาณาจักรไทยขึ้นมาใหม ทั้งทางการเมืองและวัฒนธรรม โดยสืบทอดงานตอจาก สมัยของพระเจากรุงธนบุรีซึ่งมีระยะเวลาคอนขางสั้น เชน การฟนฟูอํานาจทาง การเมือง ไดแก สถาปนาศูนยกลางอันมั่นคงของอาณาจักร เชน การสรางเมืองหลวงขึ้นใหม การรักษาความสงบเรียบรอยภายในอาณาจักร การทําศึกสงครามปองกันเอกราชของประเทศ การขยายอํานาจและการรักษาอิทธิพลของไทยในเขตประเทศราช การฟนฟูความเจริญวัฒนธรรม เชน ขนบธรรมเนียมราชประเพณีตางๆ การฟนฟู ศาสนา การฟนฟูระบอบการปกครองและกฎหมาย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 6. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- การฟนฟูศิลปกรรมตางๆ ซึ่งรัชกาลที่ 1 ทรงเปนผูวางรากฐานการฟนฟูเหลานี้ไว และรัชกาลที่ 2 และ 3 ทรงประสานงานตอมา สําหรับนโยบายการรักษาเอกราช ความมั่นคงประเทศนั้น นอกจากจะตองทําสงครามกับประเทศเพื่อนบานที่ตองการ รุกรานไทยแลว ไทยยังตองดําเนินนโยบายทางการทูตอยางระมัดระวังกับประเทศ มหาอํานาจตะวันตกที่เริ่มเขามาติดตออยางใกลชิดกับไทยดวย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 7. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- การสถาปนากรุงรัตนโกสินทรเปนราชธานี หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงปราบจลาจล ภายในกรุงธนบุรีและสรางความมั่นคงภายในประเทศแลว พระองคทรงยายราชธานี จากกรุงธนบุรีซึ่งอยูทางฝงตะวันตกมายังฝงตะวันออกของแมน้ําเจาพระยาและตั้งชื่อ ใหมวากรุงเทพฯ ทั้งนี้เนื่องดวยสาเหตุหลายประการ คือ 1. พระราชวังเดิมของกรุงธนบุรีคับแคบ มีวัดขนาบอยูทั้ง 2 ดาน คือ วัดแจง (วัดอรุณราชวราราม) และวัดทายตลาด (วัดโมลีโลกยาราม) ทําใหไมสามารถขยาย อาณาเขตของพระราชวังใหกวางขวางขึ้นได วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร http://variety.teenee.com/foodforbrain/img8/51122.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 8. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- 2. พระองคไมทรงเห็นดวยที่จะใหพระนครแบงออกเปน 2 สวน โดยมี แมน้ําเจาพระยาผากลางเปนเสมือนเมืองอกแตก ดังเชน เมืองพิษณุโลก สุพรรณบุรี เพราะหากขาศึกยกทัพมาตามลําน้ํา ก็สามารถบุกตีใจกลางเมืองหลวงได ทําใหยากแก การปองกันพระนคร ครั้นจะสรางปอมปราการทั้ง 2 ฝงแมน้ํา ก็จะเปนการสิ้นเปลืองเงิน ทองมาก ทําใหยากแกการเคลื่อนพลจากฝงหนึ่งไปยังอีกฝงหนึ่ง ซึ่งเปนการยากลําบาก มาก ดังนั้นพระองคจึงยายพระนคร มาอยูทางฝงตะวันออกของแมน้ํา เจาพระยาเพียงแหงเดียว โดยมี แมน้ําเปนคูเมืองทางดานตะวันตก และใต สวนทางดานตะวันออกและ ทางดานเหนือ โปรดเกลาฯ ใหขุด คลองขึ้นเพื่อเปนคูเมืองปองกัน พระนคร http://img.kapook.com/image/travel/32.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 9. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- 3. พื้นที่ทางฝงตะวันออกเปนที่ราบลุม สามารถขยายเมืองใหกวางขวาง ออกไปไดเรื่อยๆ ตรงบริเวณที่ตั้งพระนครพื้นที่เปนแหลม โดยมีแมน้ําเปนกําแพง กั้นอยูเกือบครึ่งเมือง http://61.90.250.46/webboard/uploads/post-4-1150263805.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 10. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- http://www.siangesanfanclub.com/forum/attachment.php?attachmentid=6997&stc=1&d=1214032058 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 11. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- 4. ทางฝงตะวันตกของแมน้ําเจาพระยา พื้นที่เปนทองคุง น้ํากัดเซาะ ตลิ่งพังทลายอยูเสมอ จึงไมเหมาะแกการสรางอาคารหรือถาวรวัตถุใดๆ ไวริมฝง แมน้ํา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชมีรับสั่งใหสรางเมืองใหมทาง ฝงตะวันออกของแมน้ําเจาพระยา ตั้งแตบริเวณหัวโคงแมน้ําเจาพระยา คือ บริเวณ พระบรมมหาราชวังในปจจุบัน พระราชทานนามเมืองใหมนี้วา “กรุงเทพมหานครบวรรัตนโกสินทร มหินทรายุทธนา มหาดิลกภพนพรัตน ราชธานีบุรีรมย อุดมราชนิเวศน มหาสถานอมรพิมาน อวตารสถิต สักกทัตติย วิษณุกรรมประสิทธิ์ ตอมาในสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงเปลี่ยนจากคําวา บวร รัตนโกสินทร เปน อมรรัตนโกสินทร” พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 12. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- ในการสรางพระมหาบรมราชวัง โปรดเกลาฯ ใหสรางวัดขึ้นภายในดวย คือ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือวัดพระแกว แลวใหอัญเชิญพระแกวมรกต ขึ้นประดิษฐาน ทรงพระราชทานนามใหมวา พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร” เพื่อเปนสิริมงคลแกกรุงเทพฯ http://www.igetweb.com/www/watvisit/gallery/90773.jpg http://www.hamanan.com/tour/bangkok/imagewatprakeaw/dsc680.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 13. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- สภาพสังคมและการศึกษา 1. สภาพสังคม โครงสรางของสังคมไทยในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนมีลักษณะ คลายคลึงกับสังคมอยุธยา ถึงแมภายในสังคมจะไมมีการแบงชั้นวรรณะอยางอินเดีย แตฐานะความเปนอยูของคนก็แตกตางกันอยางมาก แตละคนจะสามารถเลื่อนฐานะ ของตนขึ้นไดก็ตอเมื่อไดรับความดีความชอบหรือมีความสามารถ เชน สามัญจะมี โอกาสเลื่อนฐานะของตนจนกระทั่งเปนถึงขุนนางไดตองมไดรับการศึกษา รวมทั้งมี ความสามารถอยูในตัวเองดวย รัชกาลที่ 5 http://www.sahavicha.com/UserFiles/Image/3(81).jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 14. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- ชนชั้นทางสังคม 1. เจานายสูงสุด ไดแก พระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ 2. ขุนนางและขาราชการตางๆ ที่มีศักดินาตั้งแต 400-10,000 ไร ซึ่งมีความเปนอยูดี ฐานะร่ํารวย มีสิทธิพิเศษหลายอยาง 3. ไพรและสามัญชน ไดแก ชนสวนใหญของประเทศ 4. ทาส เปนผูที่มีอิสระในตัวเอง แตสภาพความเปนอยูของทาสในเมืองไทย ดีกวาประเทศตางๆ มาก ถาทาสทําความดีความชอบตอบานเมือง ก็สามารถ เลือกฐานะตนเองเปนขุนนางได สวนขุนนางถาทําความผิดรายแรงก็อาจถูกลดฐานะ ลงเปนทาสไดเชนกัน ทาสในสังคมสมัยนั้น ไดแก ทาสเชลย ทาสในเรือนเบี้ย ทาสสินไพ ทาสไดมา แตบิดามารดา ทาสที่เลี้ยงไวเมื่อเกิดทุพภิกขภัย ทาสที่ชวยมาจากทัณฑโทษ ทาส ทานให พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 15. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- กรุงรัตนโกสินทรแลวเสร็จจริงๆในป พ.ศ. 2327 มีการสมโภชพระนคร ครั้งใหญ มีการลอกองคประกอบของกรุงศรีอยุธยามามากมาย เชน วัดสุทัศน แทนวัดพนัญเชิญ มีพระบรมมหาราชวังอยูริมน้ํา เปนตน แตกรุงรัตนโกสินทร ถูกสรางตอมาจนสมบูรณหมดจริงๆ ในชวงรัชกาลที่ 3 และรัชกาลตอมา จึงขยายพระนคร http://statics.atcloud.com/files/entries/6/63441/images/1_original.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 16. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- วัดสุทัศนเทพวราราม http://images.palungjit.com/attachments/263- %E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B8 %E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B9%8C- suthat-jpg http://images.palungjit.com/attachments/2440-%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B8 %E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B9%8C-g2919827-0-jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 17. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- การขยายพระนครนั้นเริ่มในสมัยรัชกาลที4 เมื่อมีการขุดคลองผดุงกรุงเกษม ่ ขึ้น พรอมสรางปอมแตไมมีกําแพง นอกจากนี้ยังมีการตัดถนนเจริญกรุงและ ถนนพระรามสีหรือสมัยนั้นเรียกถนนตรง ทําใหความเจริญออกไปพรอมกับ ่ ถนน สรุปไดวาในรัชกาลที่ 4 เมืองไดขยายออกไปทางตะวันออก ในรัชกาลที่ 5 ความเจริญไดตามถนนราชดําเนินไปทางเหนือพรอมกับการสรางพระราชวังดุสิต ขึ้น กําแพงเมืองตางๆเริ่มถูกรื้อเนื่องจากความเจริญและศึกตางๆเริ่มไมมีแลว http://upload.wikimedia.org/wikipedia/ th/thumb/3/3e/ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 18. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- ถนนเจริญกรุง http://www.skn.ac.th/skl/project/world96/rat35.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 19. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- ถนนราชดําเนิน http://2.bp.blogspot.com/_Aprg4up9nek/ SGxVkdYWvKI/AAAAAAAAAeM/E8sYO 9FIwiE/s400/Pq2m9Gor- 9702da8a1167f61ba6036826d7d5bd9c.j pg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 20. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- หลังจาก ร.ศ.112 ทีฝรั่งเศสยกเรือรบมาถึงบางรัก ก็เปนแคไมกี่ครั้งที่ ่ ขาศึกตางชาติเขาถึงชานพระนครได ความเจริญไดตามไปพรอมกับวังเจานาย ตางๆนอกพระนคร ทุงตางๆกลายเปนเมือง และในสมัยรัชกาลที่ 6 ไดเกิดสะพาน ขามแมน้ําเจาพระยาแหงแรก เปนสะพานขามทางรถไฟชื่อสะพานพระรามหก http://kanchanapisek.or.th/kp8/art/lab3/photo/p054_01.gif พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 21. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- จนถึงรัชกาลที่ 7 ฝงกรุงธนบุรีกับพระนครไดถูกเชื่อมโดยสะพานปฐมบรมราชา- นุสรณ (สะพานพุทธ) ทําใหประชาชนเกิดความสะดวกขึ้นมามาก หลังจากนั้นเมื่อเกิด สงครามโลกครั้งที่สองในรัชกาลที่ 8 พระนครถูกโจมตีทางอากาศจาก ฝายสัมพันธมิตรบอยครั้ง แตพระ บรมมหาราชวังปลอดภัยเนื่องจาก ทางเสรีไทยไดระบุพิกัดพระบรม มหาราชวังมิใหมีการยิงระเบิด เมื่อสิ้นสงครามแลวพระนครเริ่ม พัฒนาแบบไมหยุด เกิดการรวม จังหวัดตางๆเขาเปนกรุงเทพมหานคร และไดเปนเขตปกครองพิเศษหนึ่งใน สองแหงของประเทศไทย http://www.thaifilm.com/imgUpload/reply421281_%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B8% E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 22. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- เหตุการณสําคัญในรัชกาลที่ 4 http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A 5%E0%B9%8C:Wax_model_of_King_Rama_IV.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 23. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- พ.ศ. 2394 - โปรดเกลาฯ ใหขุนนางสวมเสื้อเวลาเขาเฝา - รอยเอกอิมเปย เขามาฝกทหารแบบยุโรป - คณะมิชชันนารี สอนภาษาอังกฤษ ในพระบรมมหาราชวัง - รอยเอกนอกซ เขามาเปนครูฝกทหารวังหนา - คณะมิชชันนารีอเมริกัน เขามาสอนภาษา - กองทัพไทยไปตีเมืองเชียงตุง - ทรงพระราชศรัทธาปฏิสังขรวัดใหมขึ้นหลายวัด เชน วัดปทุมวนาราม วัดโสมนัส วิหาร วัดมกุฎกษัตริยาราม วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม และวัดราชบพิธ เปน ตน ตลอดจนบูรณะวัดตาง ๆ อีกมาก - โปรดเกลาฯ ใหมีพระราชพิธี "มาฆบูชา" ขึ้นเปนครั้งแรก ใน พ.ศ. 2394 ณ ทีวัด ่ พระศรีรัตนศาสดาราม จนไดถือปฏิบัติสืบมาจนถึงทุกวันนี้ - โปรดเกลาฯ ใหมีการสังคายนาพระไตรปฎก - ทรงตั้งคณะธรรมยุตินิกายและวางรากฐานพระวินัย ทําใหพุทธศาสนายั่งยืนทุกวันนี้ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 24. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- - โปรดเกลาฯ ใหขยายพระนคร โดยขุดคลองผดุงกรุงเกษมเปนคูพระนครชั้นนอก - โปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยนธงชาติเปนรูปชางเผือกอยูกลางธงพื้นสีแดง พ.ศ. 2395 - โปรดเกลาฯ ใหสรางปอมตามแนวคลองผดุงกรุงเกษมขึ้น 8 ปอม - สงราชทูตอัญเชิญพระราชสาสนและเครื่องราชบรรณาการไปถวายพระเจาฮําฮอง จักรพรรดิจีน - สงคณะสงฆไปลังกา พ.ศ. 2396 - พ.ศ. 2396 โปรดเกลาฯ ใหบูรณะพระปฐมเจดียใหมีลักษณะดังปรากฏในปจจุบัน - โปรดเกลาฯ ให บูรณะปฏิสังขรณพระปฐมเจดีย - โปรดเกลาฯ ใหราษฎรที่ไดรับเดือดรอนถวายฎีกาแกพระองคได - โปรดเกลาฯ ใหใช "หมาย" แทนเงินตรา - ไทยรบพมาที่เมืองเชียงตุง (เปนสงครามครั้งสุดทายระหวาง ไทย-พมา) พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 25. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- พ.ศ. 2398 - เซอร จอหน เบาริง ขอเขามาเจริญพระราชไมตรี ทําสนธิสัญญาใหมกับอังกฤษ พ.ศ. 2399 - ไทยทําสนธิสัญญาทางการทูตกับอเมริกาและฝรั่งเศส เซอร จอหน เบาริง http://image.dek-d.com/1/contentimg/pr/image.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 26. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- พ.ศ. 2400 - ดารานพรัตน เปนเครื่องราชอิสริยาภรณชนิดแรก ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้น เพื่อเปนบําเหน็จความชอบในราชการแผนดิน แทนการ พระราชทานเครื่องยศ ดาราดวงนี้นับไดวาเปนตนเคาของเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปน โบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ และเครื่องราชอิสริยาภรณตระกูลอื่นๆ ของประเทศไทย - โปรดเกลาฯ ใหสงคณะทูตไปเจริญทาง พระราชไมตรีกับสมเด็จพระราชินีวิกตอเรีย แหงอังกฤษ - โปรดเกลาฯ ใหสรางเครื่องราชอิสริยาภรณ ไทย ขึ้นเปนครั้งแรก - โปรดเกลาฯ ใหขุดคลองมหาสวัสดิ์ และคลองถนนตรง - เริ่มสรางกําปนเรือกลไฟ - ทรงประกาศใหพสกนิกรเขาเฝาขางทางขบวนเสด็จพระราชดําเนินได http://images.sanshan.multiply.com/image/1:nhyclub/photos/8/500x500/1/mahasawas01.JPEG?et=C4wcliw2I7SNE109cGzMWA&nmid=283899259 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 27. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- พ.ศ.2401 - ทําสนธิสัญญาทางการคากับโปรตุเกส - โปรดเกลาฯ ใหปฏิสังขรณพระนารายณราชนิเวศน ลพบุรี - โปรดเกลาฯ ใหออกประกาศราชการที่เรียกวา หนังสือราชกิจจานุเบกษา พ.ศ. 2402 - พระนครคีรี สรางขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2402 - โปรดเกลาฯ ใหสรางพระนครคีรี (เขาวัง) ขึ้นบนยอดเขาที่เพชรบุรี - โปรดเกลาฯ ใหสรางพระที่นั่ง ประพาสพิพิธภัณฑ พ.ศ. 2403 โปรดเกลาฯ ใหสรางโรงกษาปณ ผลิตเหรียญ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร http://welovephuwai.com/img_article/904921235691218916691746889341.jpg
  • 28. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- พ.ศ. 2404 - คณะราชทูตสยามภายใตการนําของเจาพระยาศรีพิพัฒนรัตนราชโกษา (แพ บุนนาค) ทูลเกลาฯ ถวายพระราชสาสนเจริญพระราชไมตรี แดจักรพรรดิ นโปเลียนที่ 3 แหงฝรั่งเศส ณ พระราชวังฟองแตนโบล เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2404 (ผลงานการวาดของ ฌอง เลออง เจโรม ปจจุบันจัดแสดง ณ พิพิธภัณฑพระราชวังฟองแตนโบล) - โปรดเกลาฯ ใหสงทูตไปเจริญทางพระราชไมตรีกับประเทศฝรั่งเศส - เริ่มมีตํารวจนครบาลเปนครั้งแรก - เริ่มสรางถนนเจริญกรุง พ.ศ. 2405 - นางแอนนา ลีโอโนเวนส เขามารับราชการเปน ครูสอนภาษาอังกฤษในพระราชสํานัก พ.ศ. 2406 - สรางถนนบํารุงเมือง ถนนเฟองนคร http://www.bloggang. com/data/rattanakosi n225/picture/118423 - สรางพระบรมบรรพต (ภูเขาทอง) 2295.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 29. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- พ.ศ. 2407 - โปรดเกลาฯ ใหสรางวัดราชประดิษฐ http://www.reurnthai.com/rtimages/RW2584x11.jpg พ.ศ. 2408 - พระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัวเสด็จสวรรคต พ.ศ. 2411 - พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว เสด็จพระราชดําเนินทอดพระเนตร สุริยุปราคาที่บานหวากอ เมืองประจวบคีรีขันธ พ.ศ. 2411 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 30. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร ร.1-ร.4 .1- แหลงที่มาของขอมูล http://2.bp.blogspot.com/ http://www.hamanan.com/ http://61.90.250.46/ http://www.igetweb.com/ http://image.dek-d.com/ http://www.lannatalkkhongdee.com http://images.palungjit.com/ http://www.reurnthai.com/ http://images.palungjit.com/ http://www.sahavicha.com/ http://images.sanshan.multiply.com/ http://www.siangesanfanclub.com/ http://img.kapook.com/image/travel/32 http://www.skn.ac.th/ http://kanchanapisek.or.th/ http://www.thaifilm.com/ http://ndc.prd.go.th/Sitedirectory/449/20 05/176287 http://statics.atcloud.com/ http://th.wikipedia.org/ http://upload.wikimedia.org/ http://variety.teenee.com/ http://www.bloggang.com/ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร