SlideShare a Scribd company logo
1     

 

         การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิ ชาการวิ เคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ



การวิเคราะห์ (Analysis)
ปญหาและการแกปญหา (Analysis)

         ปญหา : ในการศึกษารายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ของภาควิชา
บรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตรชั้นปที่ 2 จํานวน 40 คน ปญหาที่สําคัญในรายวิชานี้คือผูเรียนยังขาดความ
เขาใจ และขาดทักษะการวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) เนื่องดวย
เนื้อหารายวิชานี้คอนขางที่จะมาก และอาศัยหลักการวิเคราะหเนื้อหาของหนังสือเพื่อเลือกใหเขาหมวดหมูตามระบบ
ทศนิยมดิวอี้ บางครั้งผูเรียนยังวิเคราะหหนังสือเพื่อใหเขาหมวดที่ถูกตองยังไมได จึงตองหาวิธีการที่จะทําใหผูเรียน
วิเคราะหหมวดหมูไดอยางถูกตอง

วิ ธีแก้ปัญหา (Need Analysis) :

         ตองการใหผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 000-900 ไดอยางถูกตอง
         ตองการใหผูเรียนใชตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง
         ตองการใหผูเรียนใชตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง
         ตองการใหผูเรียนใชดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง

การวิ เคราะห์ภารกิ จ (Task Analysis)
Job : ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง
Job Inventory :
           วิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 000-900
           ใชตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง
           ใชตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง
           ใชดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง
Sub-Job :
           วิ เคราะห์หมวดหมู่หนังสือในระบบทศนิ ยมดิ วอี้ หมวด 000-900
                    แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 000 ความรูทั่วไป
                    แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 100 ปรัชญาและจิตวิทยา
                    แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 200 ศาสนา
                    แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 300 สังคมศาสตร
                    แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 400 ภาษา
                    แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 500 วิทยาศาสตรธรรมชาตและคณิตศาสตร
                    แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 600 เทคโนโลยี (วิทยาศาสตรประยุกต)


                 การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
2    

 

            แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 700 ศิลปะ วิจิตรศิลปและมัณฑนศิลป
            แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 800 วรรณคดี
            แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร
            รูและเขาใจการแบงหมวดหมูตามลําดับของการแบงครั้งที่ 1 และการแบงครั้งที่ 2 ได

    ใช้ตารางช่วยในระบบทศนิ ยมดิ วอี้ได้อย่างถูกต้อง
            ระบุเลขตารางที่ 1 ตารางเลขแสดงวิธีเขียน
            ระบุเลขตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิภาค ยุคสมัย บุคคล
            ระบุเลขตารางที่ 3 ตารางเลขศิลปะ วรรณกรรม
            ระบุเลขตารางที่ 4 ตารางเลขทฤฎีภาษาและตระกูลภาษา
            ระบุเลขตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผาพันธุ สัญชาติ
            ระบุเลขตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา
            ระบุเลขตารางที่ 7 ตารางเลขกลุมบุคคล
    ใช้ตารางเลขหมู่ในระบบทศนิ ยมดิ วอี้ได้อย่างถูกต้อง
            รูการใชหัวเรื่องในระบบทศนิยมดิวอี้
            รูคําอธิบายขอบเขตหนังสือ
            รูการใชเลขฐาน
            รูลักษณะการใหหัวเรื่องที่ครอบคลุมหลายหมู
            รูการใชคําลั่ง Add to
            รูการใชเลขหมูอยางสรุป
            รูการใชสวนโยง (See)
            รูการใชรวมถึง (Including)
            รูการใชคําสั่ง Class here
            รูการใชคําลั่ง Class in
            รูการใชคําสั่ง Option Class in
            รูลักษณะการใชคําสั่งเลขหมูที่ปรากฏใน [ ]
            รูลักษณะเครื่องหมาย * ที่ปรากฏในบางเลขหมู
    ใช้ดรรชนี สมพันธ์ในระบบทศนิ ยมดิ วอี้ได้อย่างถูกต้อง
                 ั
            รูการเปนดรรชนีสัมพันธ
            รูการเรียงลําดับดรรชนีสัมพันธ
            รูลักษณะของรายการโยง
            รูขอบเขตเรื่องที่ปรากฏในดรรชนีสัมพันธ
            รูขอบเขตเรื่องที่ไมปรากฏในดรรชนีสัมพันธ
            รูคําอธิบายการใชอักษรยอในดรรชนีสัมพันธ




           การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
3     

 

Outline Format
        1. หมวด 000 ความรูทั่วไป
                1.1 010 บรรณานุกรม
                1.2 020 บรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร
                1.3 030 สารานุกรมทั่วไป
                1.4 040 (ไมใช)
                1.5 050 สิ่งพิมพตอเนื่องทั่วไป
                1.6 060 องคการทั่วไปและพิพิธภัณฑวทยา
                                                   ิ
                1.7 070 วารสารศาสตร การพิมพ
                1.8 080 รวมเรื่องทั่วไป
                1.9 090 ตนฉบับตัวเขียนและหนังสือหายาก
        2. หมวด 100 ปรัชญาและจิตวิทยา
                2.1 110 อภิปรัชญา
                2.2 120 ทฤษฏีความรู สาเหตุมนุษย
                2.3 130 จิตวิทยานามธรรม
                2.4 140 แนวคิดของปรัชญาเฉพาะกลุม
                2.5 150 จิตวิทยา
                2.6 160 ตรรกวิทยา
                2.7 170 จริยศาสตร
                2.8 180 ปรัชญาสมัยโบราณ ปรัชญาสมัยกลาง ปรัชญาตะวันออก
                2.9 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม
        3. หมวด 200 ศาสนา
                3.1 210 ศาสนาธรรมชาติ
                3.2 220 คัมภีรไบเบิ้ล
                3.3 230 เทววิทยาตามแนวคริสตศาสนา
                3.4 240 หลักศีลธรรมของชาวคริสต
                3.5 250 คริสตศาสนาในทองถิ่นและขอบังคับในคริสตศาสนา
                3.6 260 เทววิทยาคริสตทางสังคมและศาสนจักร
                3.7 270 ประวัติศาสนาคริสต
                3.8 280 นิกายตาง ๆ ของสาสนาคริสต
                3.9 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่น ๆ
        4. หมวด 300 สังคมศาสตร
                4.1 310 รวมเรื่องสถิติทั่วไป
                4.2 320 รัฐศาสตร
                4.3 330 เศรษฐศาสตร
                4.4 340 กฎหมาย
                4.5 350 รัฐประศาสนศาสตรและวิชาการทหาร
                4.6 360 ปญหาสังคมและบริการสังคม


             การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
4     

 

            4.7 370 การศึกษา
            4.8 380 การพาณิชย การติดตอสื่อสาร และการขนสง
            4.9 390 ขนบธรรมเนียมประเพณี และคติชาวบาน
    5. หมวด 400 ภาษา
            5.1 410 ภาษาศาสตร
            5.2 420 ภาอังกฤษและภาษาอังกฤษเกา
            5.3 430 ภาษาเยอรมัน
            5.4 440 ภาษาฝรั่งเศส
            5.5 450 ภาษาอิตาเลียน
            5.6 460 ภาษาสเปน ปอรตุเกส
            5.7 470 ภาษาละติน
            5.8 480 ภาษากรีก
            5.9 490 ภาษาอื่น ๆ
    6. หมวด 500 วิทยาศาสตรธรรมชาติและคณิตศาสตร
            6.1 510 คณิตสาสตร
            6.2 520 ดาราศาสตร
            6.3 530 ฟสิกส
            6.4 540 เคมี
            6.5 550 วิทยาศาสตรเกี่ยวกับโลก
            6.6 560 บรรพชีวินวิทยา
            6.7 570 วิทยาศาสตรของสิ่งมีชีวิต ชีววิทยา
            6.8 580 พืช
            6.9 590 สัตว
    7. หมวด 600 เทคโนโลยี (วิทยาศาสตรประยุกต)
            7.1 610 แพทยศาสตร
            7.2 620 วิศวกรรมศาสตร
            7.3 630 เกษตรศาสตร
            7.4 640 คหกรรมศาสตรและชีวิตครอบครัว
            7.5 650 การจัดการและการบริการทางธุรกิจ
            7.6 660 อุตสาหกรรมเคมี
            7.7 670 โรงงานอุตสาหกรรม
            7.8 680 โรงงานผลิตสิ่งเบ็ดเตล็ด
            7.9 690 การกอสราง
    8. หมวด 700 ศิลปะ วิจิตรศิลปและมัณฑนศิลป
            8.1 710 ศิลปะการวางผังเมือง
            8.2 720 สถาปตยกรรม
            8.3 730 ศิลปะการปน ประติมากรรม
            8.4 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป


          การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
5     

 

            8.5 750 จิตรกรรม
            8.6 760 ศิลปะการพิมพ
            8.7 770 การถายภาพและภาพถาย
            8.8 780 ดนตรี
            8.9 790 นันทนาการ และศิลปะการแสดง
    9. หมวด 800 วรรณคดี
            9.1 810 วรรณคดีอเมริกัน
            9.2 820 วรรณคดีอังกฤษและวรรณคดีอังกฤษเกา
            9.3 830 วรรณคดีเยอรมัน
            9.4 840 วรรณคดีฝรั่งเศส
            9.5 850 วรรณคดีอตาเลียน
                                ิ
            9.6 860 วรรณคดีสเปน ปอรตุเกส
            9.7 870 วรรณคดีละติน
            9.8 880 วรรณคดีกรีก
            9.9 890 วรรณคดีภาษาอื่น ๆ
    10. หมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร
            10.1 910 ภูมศาสตรทั่วไป การทองเที่ยว
                          ิ
            10.2 920 ชีวประวัติ
            10.3 930 ประวัติศาสตรของโลกสมัยโบราณ
            10.4 940 ประวัติศาสตรทั่วไปของทวีปยุโรป
            10.5 950 ประวัติศาสตรทั่วไปของทวีปเอเชีย
            10.6 960 ประวัติศาสตรทั่วไปของทวีปแอฟริกา
            10.7 970 ประวัติศาสตรทั่วไปของทวีปอเมริกาเหนือ
            10.8 980 ประวัติศาสตรทั่วไปของทวีปอเมริกาใต
            10.9 990 ประวัติศาสตรทั่วไปของดินแดนแถบอื่น ๆ
    11. ตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้
            11.1 ตารางที่ 1 ตารางเลขแสดงวิธีเขียน
            11.2 ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิภาค ยุคสมัย บุคคล
            11.3 ตารางที่ 3 ตารางเลขศิลปะ วรรณกรรม
            11.4 ตารางที่ 4 ตารางเลขทฤฎีภาษาและตระกูลภาษา
            11.5 ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผาพันธุ สัญชาติ
            11.6 ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา
            11.7 ตารางที่ 7 ตารางเลขกลุมบุคคล
    12. ตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้
            12.1 การใชหัวเรื่องในระบบทศนิยมดิวอี้
            12.2 คําอธิบายขอบเขตหนังสือ
            12.3 การใชเลขฐาน
            12.4 ลักษณะการใหหัวเรื่องที่ครอบคลุมหลายหมู


           การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
6     

 

                 12.5 การใชคาลั่ง Add to
                                ํ
                 12.6 การใชเลขหมูอยางสรุป
                 12.7 การใชสวนโยง (See)
                 12.8 การใชรวมถึง (Including)
                 12.9 การใชคาสั่ง Class here
                                  ํ
                 12.10 การใชคําลั่ง Class in
                 12.11 การใชคําสั่ง Option Class in
         13. ดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้
                 13.1 การเปนดรรชนีสมพันธ
                                        ั
                 13.2 การเรียงลําดับดรรชนีสัมพันธ
                 13.3 ลักษณะของรายการโยง
                 13.4 ขอบเขตเรื่องที่ปรากฏในดรรชนีสัมพันธ
                 13.5 ขอบเขตเรื่องที่ไมปรากฏในดรรชนีสัมพันธ
                 13.6 คําอธิบายการใชอักษรยอในดรรชนีสัมพันธ

การวิ เคราะห์การสอน (Instructional Analysis)
            การสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดยใชรูปแบบการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศระบบ
ทศนิยมดิวอี้ (Dewey decimal classification) ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ของภาควิชาบรรณารักษศาสตรและ
สารสนเทศศาสตรนั้น โดยเลือกใชทฤษฎีการเรียนรูแบบพุทธิปญญา (Cognitive Theory) ในการเรียนรูคือผลของการ
เรียนรูที่เปนความสามารถทางสมองโดยใหความสําคัญกับความรูความเขาใจ หรือการรูคิดของมนุษย โดยบทบาท
แนวคิดนี้ผูเรียนเปนเพียงผูรับสารสนเทศ ในขณะที่ครูจะเปนผูนําเสนอสารสนเทศ เชนการบรรยาย นอกจากนี้การ
เรียนโดยใชทฤษฎีการเรียนรูแบบพุทธิปญญา ยังสามารถที่จะใหผูเรียนถายโยงความรู และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู
มาแลวไปสูบริบทและปญญาใหม การเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศสอนโดยใชรูปแบบการ
สอนแบบการบรรยาย โดยเนนใหผูเรียนทําแบบฝกหัด เมื่อจบ 1 หมวดของระบบทศนิยมดิวอี้




                การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
7     

 

การอออกแบบ (Design)
วัตถุประสงคปลายทาง (TPO)
         ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง
วัตถุประสงคนําทาง (Eos)

        1. ผูเรียนมีความรูและเขาใจเกี่ยวกับความสําคัญและลักษณะของระบบทศนิยมดิวอี้
                   1.1 ผูเรียนสามารถอธิบายความสําคัญของระบบทศนิยมดิวอี้ตอหองสมุดไดอยางนอย 3 ขอ
                   1.2 ผูเรียนสามารถบอกลักษณะของระบบทศนิยมดิวอี้ได
        2. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 000 ความรูทั่วไป ไดอยางถูกตอง
                   2.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 000 ความรูทั่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบาง
                   อยางนอย 7 เรื่อง
                   2.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 000 ความรูทั่วไปไดถูกตองอยางนอย 4
                   เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที
        3. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 100 ปรัชญาและจิตวิทยา ไดอยาง
        ถูกตอง
                   3.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 100 ปรัชญาและจิตวิทยาของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใด
                   เกี่ยวของบางอยางนอย 7 เรื่อง
                   3.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 100 ปรัชญาและจิตวิทยาไดถูกตองอยาง
                   นอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที
        4. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 200 ศาสนา ไดอยางถูกตอง
                   4.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 200 ศาสนาของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบางอยาง
                   นอย 7 เรื่อง
                   4.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 200 ศาสนาไดถูกตองอยางนอย 4 เลม
                   จาก 5 เลมในเวลา 30 นาที
        5. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 300 สังคมศาสตร ไดอยางถูกตอง
                   5.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 300 สังคมศาสตรของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบาง
                   อยางนอย 7 เรื่อง
                   5.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 300 สังคมศาสตรไดถูกตองอยางนอย 4
                   เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที
        6. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 400 ภาษา ไดอยางถูกตอง
                   6.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 400 ภาษาของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบางอยาง
                                                   
                   นอย 7 เรื่อง
                   6.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 400 ภาษาไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก
                   5 เลมในเวลา 30 นาที
        7. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 500 วิทยาศาสตรธรรมชาติและ
        คณิตศาสตร ไดอยางถูกตอง
                   7.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 500 วิทยาศาสตรธรรมชาติและคณิตศาสตร ของระบบทศนิยม
                                                     
                   ดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบางัอยางนอย 7 เรื่อง

                การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
8    

 

                    7.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 500 วิทยาศาสตรธรรมชาติและ
                    คณิตศาสตร ไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที
         8. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 600 เทคโนโลยี (วิทยาศาสตร
ประยุกต) ไดอยางถูกตอง
                    8.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 600 เทคโนโลยี (วิทยาศาสตรประยุกต)ของระบบทศนิยมดิวอี้มี
                    เรื่องใดเกี่ยวของบางอยางนอย 7 เรื่อง
                    8.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 600 เทคโนโลยี (วิทยาศาสตรประยุกต)ได
                    ถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที
         9. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 700 ศิลปะ วิจิตรศิลปและ
มัณฑนศิลป ไดอยางถูกตอง
                    9.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 700 ศิลปะ วิจิตรศิลปและมัณฑนศิลปของระบบทศนิยมดิวอี้มี
                    เรื่องใดเกี่ยวของบางอยางนอย 7 เรื่อง
                    9.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 700 ศิลปะ วิจิตรศิลปและมัณฑนศิลปได
                    ถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที
         10. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 800 วรรณคดี ไดอยางถูกตอง
                    10.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 800 วรรณคดีของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบาง
                    อยางนอย 7 เรื่อง
                    10.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 800 วรรณคดีไดถูกตองอยางนอย 4 เลม
                    จาก 5 เลมในเวลา 30 นาที
         11. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร
ไดอยางถูกตอง
                    11.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัตศาสตรของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่อง
                                                                               ิ
                    ใดเกี่ยวของบางอยางนอย 7 เรื่อง
                    11.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัตศาสตรได
                                                                                                   ิ
                    ถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที
         12. ผูเรียนสามารถใชตารางชวย ตารางเลขหมู และดรรชนีสัมพันธ ในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง
                    12.1 ผูเรียนสามารถใชตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง
                    12.2 ผูเรียนสามารถใชตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง
                    12.3 ผูเรียนสามารถใชดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง




                การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
9      

 

                                             ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือ
                                                 ในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง 




           1                  2                  3                          4                     5                       6 



    1.1         1.2    2.1         2.2    3.1         3.2            4.1           4.2     5.1           5.2       6.1          6.2 



           7                  8                  9                          10                    11                            12 



    7.1         7.2    8.1         8.2    9.1         9.2           10.1          10.2    11.1          11.2      12.1         12.2      12.3 




                                                        การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
10    

 

การประเมิ นผลการเรียนรู้ (Assessment Learning)
         การประเมินผลการเรียนรูรายวิชาวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ของ
ภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตรชั้นปที่ 2 จํานวน 40 คน ประเมินโดยใชแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน (Achievement test) ประเภท แบบทดสอบองเกณฑ (Criterion referenced assessment : CRT) โดยใชรูปแบบ
ขอสอบแบบเติมคํา/ขอความใหสมบูรณ ซึ่งสัมพันธกับพิสัยการเรียนรูแบบพุทธิพิสัย




              การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
11    

 

ตารางรายละเอียดข้อกําหนดข้อสอบ (Table of Specification)
ตารางขอกําหนดสําหรับขอทดสอบเรื่องการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศดวยระบบทศนิยมดิวอี้
                                         ผลลัพธ์ของพฤติ กรรม
        เนื้อหา                 รูหลักการ          เขาใจหลักการ       ระบุเลขหมูทศนิยม             รวม
                                                                               ดิวอี้

    ความรูทั่วไปของ                3                     3                      -                     6
    ระบบทศนิยมดิวอี้
       หมวด 000                     2                     2                      5                     9

       หมวด 100                     2                     2                      5                     9

       หมวด 200                     2                     2                      5                     9

       หมวด 300                     2                     2                      5                     9

       หมวด 400                     2                     2                      5                     9

       หมวด 500                     2                     2                      5                     9

       หมวด 600                     2                     2                      5                     9

       หมวด 700                     2                     2                      5                     9

       หมวด 800                     2                     2                      5                     9

       ตารางชวย                    4                     7                      5                     16

      ตารางเลขหมู                  5                     13                     5                     23

     ดรรชนีสัมพันธ                 3                     6                      5                     14

          รวม                      33                     47                    60                    140



                     การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
12    

 

การเลือกระบบถ่ายทอด (Delivery System Option)
          เทคโนโลยีที่นํามาถายทอดความรูใหกับผูเรียนในการเรียนรายวิชาวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศคือ
เทคโนโลยีการพิมพ (Print Technology) ซึ่งเทคโนโลยีการพิมพมีคุณประโยชนที่ใหผูเรียนใชสามารถจัดระบบระเบียบ
ใหม จัดโครงสรางใหม และสามารถควบคุมการเรียนรูตามอัตราความสามารถในการเรียนของแตละคน และสามารถทํา
สําเนาซ้ําไดงาย โดยการเรียนรายวิชาวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ เปนกลุมคอนขางที่ใหญจํานวน 40 คน มี
              
อายุ การศึกษา ใกลเคียงกัน เทคโนโลยีการพิมพ เปนการลดปญหาของสภาพเศรษฐกิจของผูเรียน เพราะใชคาใชจาย
นอยมากเมื่อเทียบกับเทคโนโลยีชนิดอื่นๆ การเลือกระบบการถายทอด โดยใชแบบจําลองการเลือกระบบถายทอด
(Delivery System Model) ของ Seel และ Glasgow

          1. ระบุคณสมบัติของผูเรียน
                   ุ           ้
          การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศโดยระดับการศึกษาของ
ผูเรียนอยูในระดับการศึกษาปริญญาตรี ชั้นปท่ี 2 อายุโดยเฉลี่ย 20 ป รายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศเปน
วิชาแกนของภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร โดยเปนวิชาที่ผูเรียนจะตองเรียนและจะตองผานไมต่ํา
กวาเกรด C ความสามารถทางภาษาของผูเรียนสามารถอานออกเขียนได และระดับภาษาอังกฤษของผูเรียนอยูใน
ระดับพอใช โดยการเรียนในรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศผูเรียนจะตองใช คูมือระบบทศนิยมดิวอี้ฉบับ
ภาษาอังกฤษ พิมพครั้งที่ 21

         2. ระบุคณสมบัติทางด้านช่องทาง
                 ุ
         การระบุชองทางจะตองสอดคลองกับการวิเคราะหคุณสมบัติผูเรียนเบื้องตนที่ไดวิเคราะหไปแลว โดยระดับ
การศึกษา อายุ การใชภาษา ซึ่งจะตองเลือกชองทางใหสัมพันธกันการเรียนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ
ระตองใช 3 ชองทางในการเรียนรู คือ ทางโสตเพื่อฟงการบรรยาย ทางทัศนะเพื่อดูหนังสือและเอกสารการบรรยาย
ทางการเคลื่อนไหวเพื่อใชจดบันทึก และกิจกรรมในการเรียนการสอน ดังนั้นการเรียนการสอนจะใช เอกสารในการสอน
การบรรยายจากครู และการฝกปฏิบัติวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศโดยใชระบบทศนิยมดิวอี้

           3. การระบุสถานการณ์การเรียน
           การเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ เปนการเรียนกลุมใหญ จํานวนผูเรียน 40 คน
การเรียนการสอนอยูในระบบการศึกษา โดยเทคโนโลยีที่เลือกนํามาใชในการเรียนการสอนรายวิชานี้คือเทคโนโลยี
สิ่งพิมพ (Printed Technology) เพราะการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีสิ่งพิมพ สามารถควบคุมการเรียนไดตาม
อัธยาศัย ผูเรียนสามารถเรียนรูไดเร็วชาตามความตองการของผูเรียน สามารถทบทวนซ้ําได สามารถอัดสําเนาได
ราคาและคาใชจายคอนขางต่ําสอดคลองกับการเรียนการสอนกลุมใหญจํานวน 40 คน

       4. ระบุเงื่อนไขบังคับและทรัพยากร
       การเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ เรียนดวยการบรรยายและการเรียนแบบปฏิบัติ
โดยการระบุ ทรัพยากรบุคคล งบประมาณ อุปกรณการสอน ดังนี้
       ทรัพยากรบุคคล ประกอบดวย อาจารย จํานวน 1 ทาน ทําหนาที่สอนและบรรยายในชั้นเรียน
       ผูชวยสอน จํานวน 1 ทาน ทําหนาที่ควบคุมการเรียนปฏิบัติของผูเรียน


               การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
13    

 

       ผูเรียน จํานวน 40 คน ทําหนาที่ ศึกษารายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ และฝกปฏิบัติการวิเคราะห
ทรัพยากรสารสนเทศ
       งบประมาณ ใชงบประมาณการจัดการเรียนสอนของมหาวิทยาลัย
       อุปกรณการสอน ประกอบดวย
                  1. จอโปรเจคเตอร 1 จอ
                  2. คอมพิวเตอร 1 เครื่อง
                  3. คูมือปฎิบัติระบบทศนิยมดิวอี้ 20 ชุด ชุดละ 4 เลม
                  4. กระดานไวทบอรด แปรง และ ไวทบอรด 1 ชุด

          5. วิ นิจฉัยระบบการถ่ายทอด
          จากการระบุ ระบุคุณสมบัติของผูเรียน ระบุคุณสมบัติทางดานชองทาง การระบุสถานการณการเรียน ระบุ
เงื่อนไขบังคับและทรัพยากร จึงวินิจฉัยระบบการถายทอดเปนวัสดุสิ่งพิมพ เพราะลดการคาใชจาย สามารถอัดสําเนาได
ในปริมาณมาก เหมาะสําหรับผูเรียนที่เรียนรูดวยตนเอง สนองการตอบสนองในการเรียนชา เร็ว ของผูเรียน สามารถ
ทบทวนซ้ําได ตามความสามารถของบุคคล โดยผลิตภัณฑการออกแบบระบบการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากร
สารสนเทศ จะไดเปนเอกสารการสอน ใบงาน และแบบฝกหัด
          หลังจากที่ระบุผูเรียนและวินิจฉัยระบบการถายทอดแลววาเปนเทคโนโลยีสิ่งพิมพ รายวิชาการวิเคราะห
ทรัพยากรสารสนเทศ ผูสอนจะตองผลิตเอกสารการสอนและสื่อประกอบการสอนเอง เมื่อเขาสูระบบการผลิตเปนสื่อ
ตนแบบแลว และนําไปประเมินผลการตัดสินใจการออกแบบการสอน กอนที่จะนําสื่อไปใชจริง เปนการประเมินผลเพื่อ
พัฒนา (Formative Evaluation)




                การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
14    

 

การนําไปใช้ (Impliment)
         ในขั้นตอนนี้ ยังไมไดนาสื่อไปใช
                                ํ



การประเมิน (Evaluation)
            ในขั้นตอนของการประเมินนี้ คําถามที่ตองตอบใหไดคือ
- เราไดแกปญหาไดแลวใชไหม
- ผลที่ไดคืออะไร
- สิ่งจําเปนที่ตองเปลี่ยนแปลงคืออะไร
            เนื่องดวยสื่อยังไมไดรับการนําไปใช ทําใหไมทราบผลของทั้ง 3 คําถามได




                 การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
15    

 




                             แผนการจัดการเรียนรู้




    การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
16     

 

        แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ความรู้ทวไปเกี่ยวการจัดหมวดหมู่หนังสือด้วยระบบทศนิ ยมดิ วอี้
                                            ั่

นักศึกษาชั้นปที่ 2 ภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร                                               เวลา 3 ชั่วโมง


สาระสําคัญ
          ความหมายของการจัดหมวดหมู่หนังสือ
          การจัดหมวดหมูหนังสือ คือการจัดกลุมหนังสือ โดยพิจารณาจากเนื้อหาสาระของหนังสือเปนสําคัญ หรือ
ลักษณะการประพันธอยางเดียวกันไวดวยกัน โดยมีสัญลักษณแสดงเนื้อหา ของหนังสือแตละประเภทโดยจะเขียน
สัญลักษณแทนประเภทของหนังสือไวที่สันหนังสือแตละเลม เพื่อจะเปนการบอกตําแหนงของหนังสือที่อยูในหองสมุด
หนังสือที่เนื้อหาเหมือนกัน หรือคลายคลึงกันจะจัดวางไวดวยกันหรือใกลๆ กัน

          ความสําคัญของการจัดหมู่หนังสือระบบทศนิ ยมดิ วอี้
          1. ผูใชหองสมุดและเจาหนาที่หองสมุดสามารถคนหาหนังสือที่ตองการไดงายและประหยัดเวลาเพราะเมื่อมี
การจัดหมูหนังสืออยางเปนระบบที่สันหนังสือทุกเลมจะมีเลขหมูหนังสือ ผูใชหองสมุดสามารถคนหนังสือไดโดยเปดดู
เลขจากบัตรรายการ แลวตรงไปหาหนังสือจากชั้นไดอยางรวดเร็ว เจาหนาที่หองสมุดก็สามารถจัดเก็บหนังสือขึ้นได
ถูกตองและรวดเร็ว
          2. หนังสือที่มีเนื้อหาวิชาอยางเดียวกัน หรือคลายคลึงกันจะรวมอยูในหมวดหมูเดียวกัน ชวยใหผูใชหองสมุด
มีโอกาสเลือกหนังสือเนื้อเรื่องที่ตองการจากหนังสือหลาย ๆ เลมไดอยางรวดเร็ว
          3. หนังสือที่มเนื้อเรื่องเกี่ยวเนื่องกัน หรือสัมพันธกันจะอยูใกลๆ กัน ซึ่งจะชวยใหผูอานสามารถหาหนังสือที่
                         ี
มีเรื่องราวเหมือนกันมาประกอบเนื้อหาใหสมบูรณยิ่งขึ้น4. ชวยใหทราบวามีจํานวนหนังสือในแตละหมวดมากนอย
เพียงใด
          5. เมื่อไดหนังสือใหมเขามาในหองสมุดก็สามารถจัดหมวดหมูแลวน าออกขึ้นชั้นรวมกับหนังสือที่มีอยูกอน
แลว
เพื่อใหบริการไดอยางรวดเร็ว

         ประโยชน์ ของการจัดหมวดหมู่หนังสือ
         1. หนังสือแตละเลมจะมีสัญลักษณแทนเนื้อหาของหนังสือ
         2. หนังสือที่มีเนื้อหาวิชาอยางเดียวกัน หรือคลายคลึงกันจะรวมอยูในหมวดหมูเดียวกัน ชวยใหผูใชมีโอกาส
         เลือกหนังสือหรือเนื้อเรื่องตามที่ตองการจากหนังสือไดหลายเลม
         3. หนังสือที่มีเนื้อเรื่องเกี่ยวเนื่องกัน หรือสัมพันธกันจะอยูใกลๆ กัน ซึ่งจะชวยใหผูอานสามารถหาหนังสือที่มี
         เรื่องราวเหมือนกันมาใชประกอบเนื้อหาไดสมบูรณยิ่งขึ้น
         4. หนังสือที่มีลักษณะคําประพันธแบบเดียวกันจะอยูรวมกันตามภาษาของคําประพันธนั้น ๆ
         5. ชวยใหผูใชหองสมุดสามารถคนหาหนังสือไดอยางสะดวกและรวดเร็ว และชวยประหยัดเวลาเพราะที่สัน
         หนังสือทุกเลมจะปรากฏเลขเรียกหนังสือ เจาหนาที่สามารถจัดเก็บเขาที่ไดถูกตองถูกรวดเร็ว
         6. ชวยใหทราบจํานวนหนังสือแตละสาขาวิชาวามีจํานวนมากนอยเทาใด หากวิชาใดยังมีจํานวนนอยไม

                 การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
17    

 

           เพียงพอกับความตองการจะไดจัดหาเพิ่มเติมใหเหมาะสม
           7. เพิ่มประสิทธิภาพในการสืบคนวัสดุหองสมุด ลดความผิดพลาดในการสืบคน สามารถคนไดอยาง
           ถูกตอง สมบูรณ รวดเร็วและประหยัดเวลา
           ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือที่ควรทราบ
           ระบบการจัดหมวดหมูหนังสือที่ส าคัญ การจัดหมวดหมูหนังสือในปจจุบันมีการจัดในระบบตางๆ ดังนี้
           1. ระบบเอ็กซแพนซีพ (Expansive Classification) ของชารลส แอมมิ คัดเตอร (Chartes Ammi Cutter)
           2. ระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) หรือ DC หรือ DDC ของเมลวิล ดิวอี้ (Melvil
           Dewey)
           3. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classification) หรือ LC ของเฮอรเบิรท พุทนัม
           (Derbert Putnam) และคระบรรณารักษหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
           4. ระบบทศนิยมสากล (Universal Decimal Classification) หรือ UDC ของพอล ออต เล็ต (Paul Otlet) และ
           อองรีลา ฟอนแตน (Henri La Fontaine)
           5. ระบบซับเจค(Subject Classification) หรือ SC ของเจมส ดัฟฟ บราวน(James Duff Brown)
           6. ระบบโคลอน (Colon Classification) หรือ CC ของเอส. อาร. แรงกานาธาน (S.R. Ranganathan)
           7. ระบบบรรณานุกรม (Bibliographic Classification) หรือ BC ของเฮนรี่ เอฟเวลิน บลิสส (Henry Evelyn
           Bliss)
           8. ระบบกลิดเดน (Glidden Classification) หรือ GC ของวิลเลียม แอนเดอรสัน (William Anderson)9.
           ระบบหอสมุดแพทยแหงชาติอเมริกัน (National Library of Medicine ) หรือ NLM ของแมรี่ หลุยส
           มารแชล (Mary Louise Marshall)
           10. การจัดหมูหนังสือที่ไมใชตัวเลขเปนสัญลักษณ
           ระบบการจัดหมวดหมูหนังสือทั้ง 9 ระบบ บางระบบมีการนํามาใชนอยมาก แตบางระบบมีการนํามาใช
แพรหลายในประเทศตางๆ รวมทั้งประเทศไทยดวย ไดแก ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และระบบทศนิยมของดิว
อี้ ทั้งสองระบบนี้หองสมุดไดนํามาใชแตกตางกันตามลักษณะและขนาดของหองสมุด ซึ่งนับวาเปนระบบการจัด
                    
หมวดหมูท่สําคัญ และเปนที่นิยมใชมากที่สุด
             ี

ระบบทศนิ ยมดิ วอี้

      การจัดหมวดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้(Dewey Decimal Classification) เรียกยอๆวา ระบบ D.C. หรือ
D.D.C. ระบบนี้ตั้งชื่อตามผูคิดคน คือนายเมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษชาวอเมริกัน ดิวอี้มีความสนใจงาน
หองสมุดเปนพิเศษ ในขณะที่เปนนักศึกษาชั้นปที่ 3 ในวิทยาลัยแอมเฮิรสต ในรัฐแมสซาซูเสตต ไดสมัครเขาทํางาน
หองสมุดของวิทยาลัยนั้น ในตําแหนงผูชวยบรรณารักษดิวอี้ไดไปดูงานดานการจัดหนังสือใหสะดวกแกการใชใน
หองสมุดตางๆถึง 50 แหง แลวจึงไดเริ่มคิดระบบการจัดหมวดหมูแบบทศนิยมขึ้นใน เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2416
(ค.ศ. 1873) ไดนําเสนอตอคณะกรรมการหองสมุดของวิทยาลัยนั้น จัดพิมพเปนรูปเลมครั้งแรกเมื่อปค.ศ. 1876 และได
มีการปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมเลขหมูใหทันสมัยอยูเสมอ และจัดพิมพใหมครั้งหลังสุดเมื่อปพ.ศ. 2534 เปนการพิมพครั้งที่
20 ระบบนี้ใชตัวเลขเปนสัญลักษณแทนชนิดของหนังสือ โดยใชตัวเลขสามหลัก และยังสามารถใชจุดทศนิยมหลังเลข
หลักรอย ชวยในการแบงยอยเนื้อหาวิชาไดอีกดวย ระบบนี้ใชงาย เขาใจและจําไดงาย จึงเปนระบบการจัดหมูท่ีนิยมใช


                 การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
18    

 

กันแพรหลายในหองสมุดโรงเรียน หองสมุดประชาชน ในทุกๆ ประเทศทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยเราดวย ระบบ
ทศนิยมของดิวอี้แบงหนังสือเปนหมวดหมูใหญไปหาหมวดยอยๆ ดังนี้
          2.1 หมวดใหญ่ (Classes) หรือการแบงครั้งที่ 1 คือ การแบงความรูตางๆออกเปน 10 หมวดใหญ โดย
ใชตัวเลขหลักรอยเปนสัญลักษณ ดังตอไปนี้
             หมวด 000 เบ็ดเตล็ด ความรูทั่วไป บรรณารักษศาสตร
             หมวด 100 ปรัชญา จิตวิทยา
             หมวด 200 ศาสนา
             หมวด 300 สังคมศาสตร
             หมวด 400 ภาษาศาสตร
             หมวด 500 วิทยาศาสตร คณิตศาสตร
             หมวด 600 เทคโนโลยี หรือวิทยาศาสตรประยุกต
             หมวด 700 ศิลปกรรม และนันทนาการ
             หมวด 800 วรรณคดี
             หมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร
          2.2 หมวดย่อย (Division) หรือการแบงครั้งที่ 2 คือการแบงหมวดใหญแตละหมวดออกเปน 10 หมวด
ยอย โดยใชตัวเลขหลักสิบแทนสาขาวิชาตางๆ ดังตอไปนี้
000 เบ็ดเตล็ด
010 บรรณานุกรมและแค็ตตาล็อกหนังสือ
020 บรรณารักษศาสตรและสารนิเทศศาสตร
030 สารานุกรมทั่วไป
040 (ยังไมก าหนด)
050 สิ่งพิมพตอเนื่องและดรรชนี
060 องคกรตางๆ และพิพิธภัณฑวิทยา
070 วารสารศาสตร การพิมพ หนังสือพิมพ
080 รวมเรื่องทั่วไป
090 ตนฉบับตัวเขียนและหนังสือหายาก
      100 ปรัชญาและจิตวิทยา
                          110 อภิปรัชญา
                          120 ทฤษฎีแหงความรู ความเปนมนุษย
                          130 จิตวิทยาสาขาตางๆ ศาสตรเกี่ยวกับความลึกลับ
                          140 ปรัชญาระบบตาง ๆ
                          150 จิตวิทยา
                          160 ตรรกวิทยา
                          170 จริยศาสตร จริยธรรม ศีลธรรม
                          180 ปรัชญาสมัยโบราณ ปรัชญาสมัยกลาง และปรัชญาตะวันออก
                          190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม


              การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
19    

 

    200 ศาสนา
                    210 ศาสนาธรรมชาติ
                    220 คัมภีรไบเบิล
                    230 เทววิทยาตามแนวคริสตศาสนา
                    240 ศีลธรรมของชาวคริสเตียน
                    250 ระเบียบแบบแผนของศาสนาคริสต
                    260 สังคมของชาวคริสเตียน
                    270 ประวัติคริสตศาสนาในประเทศตาง ๆ
                    280 คริสตศาสนาและนิกายตาง ๆ
                    290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่น ๆ
         300 สังคมศาสตร
                    310 สถิติทั่วไป
                    320 รัฐศาสตร
                    330 เศรษฐศาสตร
                    340 กฎหมาย
                    350 รัฐประศาสนศาสตร การบริหารรัฐกิจ การบริหารกองทัพ
                    360 ปญหาสังคม สวัสดิภาพสังคม
                    370 การศึกษา
                    380 การพาณิชย การสื่อสาร การขนสง
                    390 ขนบธรรมเนียม ประเพณีคติชนวิทยา
        400 ภาษาศาสตร
                    410 ภาษาศาสตรเปรียบเทียบ
                    420 ภาษาอังกฤษ
                    430 ภาษาเยอรมันและภาษาในกลุมเยอรมัน
                    440 ภาษาฝรั่งเศส
                    450 ภาษาอิตาเลียน ภาษารูเมเนียน
                    460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส
                    470 ภาษาละติน
                    480 ภาษากรีก
                    490 ภาษาอื่น ๆ
         500 วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร
                    510 คณิตศาสตร
                    520 ดาราศาสตร
                    530 ฟสิกส
                    540 เคมีโลหะวิทยา
                    550 ธรณีวิทยา
                    560 บรรพชีวินวิทยา ชีวิตโบราณศึกษา

            การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
20    

 

               570 วิทยาศาสตรชีวภาพ
               580 พฤกษศาสตร
               590 สัตววิทยา
     600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตรประยุกต
               610 แพทยศาสตร
               620 วิศวกรรมศาสตร
               630 เกษตรศาสตร
               640 คหกรรมศาสตร
               650 ธุรกิจและการจัดการธุรกิจ
               660 วิศวกรรมเคมี
               670 โรงงานอุตสาหกรรม
               680 โรงงานผลิตสินคาเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ
               690 การกอสรางและวัสดุกอสราง
    700 ศิลปะและนันทนาการ
               710 สิลปะการออกแบบบริเวณพื้นที่
               720 สถาปตยกรรม
                730 ประติมากรรม และศิลปะพลาสติก
               740 มัณฑนศิลปและการวาดเขียน
               750 จิตรกรรม
               760 ศิลปะการพิมพ ศิลปะกราฟก
               770 การถายภาพ และภาพถาย
               780 ดนตรี
               790 ศิลปะการแสดง นันทนาการ การกีฬา
    800 วรรณคดี
               810 วรรณคดีอเมริกัน
               820 วรรณคดีอังกฤษ
               830 วรรณคดีเยอรมัน
               840 วรรณคดีฝรั่งเศส
               850 วรรณคดีอิตาเลียน
               860 วรรณคดีสเปน วรรณคดีโปรตุเกส
               870 วรรณคดีละติน
               880 วรรณคดีกรีก
               890 วรรณคดีภาษาอื่น ๆ
    900 ภูมิศาสตร และประวัติศาสตร
               910 ภูมิศาสตรและการทองเที่ยว
               920 ชีวประวัติและสกุลวงศ
               930 ประวัติศาสตรโลกโบราณ

       การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
21     

 

                              940 ประวัติศาสตรทวีปยุโรป
                              950 ประวัติศาสตรทวีปเอเชียตะวันออก ตะวันออกไกล
                              960 ประวัติศาสตรทวีปแอฟริกา
                              970 ประวัติศาสตรทวีปอเมริกาเหนือ
                              980 ประวัติศาสตรทวีปอเมริกาใต
                              990 ประวัติศาสตรสวนอื่น ๆ ของโลก2.3 หมูยอย (Section) หรือ
          การแบงครั้งที่ 3 คือการแบงหมวดยอยแตละหมวดออกเปน 10 หมู ยอย โดยใชเลขหลักหนวยแทนสาขาวิชา
ดังตัวอยางตอไปนี้
          หมวดยอย 640 คหกรรมศาสตร
                                641 อาหารและเครื่องดื่ม
                                642 การจัดเลี้ยง
                                643 บานพักอาศัย และอุปกรณภายในบาน
                                644 เครื่องอ านวยความสะดวกภายในบาน
                                645 เครื่องประดับบาน
                                646 การตัดเย็บเสื้อผา การตกแตงรางกาย
                                647 การจัดการบานเรือน
                                648 การสุขาภิบาลในบาน
                                649 การเลี้ยงดูเด็ก การพยาบาลในบาน
2.4 จุดทศนิ ยม หรือการแบงครั้งที่ 4 หลังจากการแบงเปนหมูยอยแลว ยังสามารถแบงยอยละเอียดเพื่อ
ระบุเนื้อหาวิชาใหเฉพาะเจาะจงลงไปไดอีก โดยการใชทศนิยมหนึ่งต าแหนงไปจนถึงหลายต าแหนง ตัวอยางเชน
           959 ประวัติศาสตรประเทศในเอเชียอาคเนย
                              959.1 ประวัติศาสตรประเทศพมา
                              959.3 ประวัติศาสตรประเทศไทย
                                                 959.31 ประวัติศาสตรไทยสมัยโบราณถึง พ.ศ. 1780
                                                 959.32 สมัยกรุงสุโขทัย
                                                 959.33 สมัยกรุงศรีอยุธยา
                                                 959.34 สมัยกรุงธนบุรี
                                                 959.35 สมัยรัตนโกสินทร – ปจจุบน          ั
     จะเห็ น ได ว า การจั ด หมู ห นั ง สื อ ระบบทศนิ ย มของดิ ว อี้ นี้ จ ะใช วิ ธี แ บ ง หนั งสื อ จากหมวดหมู ใ หญ ก ว า งๆ ไปหา
หมวดหมูยอยๆ ตอไปไดอีกโดยใชจุดทศนิยมแบบไมรูจบ ซึ่งผูอานไมจําเปนจําใหไดทั้งหมด แตควรจําใหไดเฉพาะ
หมวดใหญ 10 หมวดวาแตละหมวดเกี่ยวกับสาขาวิชาอะไร และจําเลขหมูของหนังสือบางเลมที่ผูอานใชเปนประจําก็
เพียงพอแลว เพราะผูใชหองสมุดเปนตองรูจักวิธีการใชหองสมุดเพื่อการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ


จุดประสงค์การเรียนรู้
       1. ผูเรียนสามารถอธิบายความสําคัญของระบบทศนิยมดิวอี้ตอหองสมุดไดอยางนอย 3 ขอ
       2. ผูเรียนสามารถบอกลักษณะของระบบทศนิยมดิวอี้ได

                    การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
22    

 

สื่อการเรียนรู้
         เอกสารประกอบการสอน แบบฝกหัด

กิ จกรรมการเรียนรู้
        ชัวโมงที่ 1
          ่
        - ผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง ความรูทั่วไปเกี่ยวการจัดหมวดหมูหนังสือดวยระบบทศนิยมดิวอี้
        - ใหผูเรียนแตละคนยกตัวอยางระบบการจัดหมวดหมูหองสมุดที่นักเรียนรูจัก
        - อาจารยอธิบายความหมายของการจัดหมวดหมูหนังสือ และความสําคัญของการจัดหมูหนังสือระบบ
        ทศนิยมดิวอี้

        ชัวโมงที่ 2
          ่
        - อาจารยอธิบายประโยชนของการจัดหมวดหมูหนังสือและระบบการจัดหมวดหมูหนังสือที่ควรทราบ
        - อาจารยบรรยายระบบการจัดหมวดหมูหนังสือทศนิยมดิวอี้โดยทั่วไป คือ
        1. หมวดใหญ่ (Classes) หรือการแบงครั้งที่ 1 คือ การแบงความรูตางๆออกเปน 10 หมวดใหญ  


        ชัวโมงที่ 3
          ่
        2. หมวดย่อย (Division) หรือการแบงครั้งที่ 2 คือการแบงหมวดใหญแตละหมวดออกเปน 10 หมวดยอย  
        3. การแบ่งครังที่ 3 คือการแบงหมวดยอยแตละหมวดออกเปน 10 หมู ยอย โดยใชเลขหลักหนวยแทน
                       ้
        สาขาวิชา  
        4. จุดทศนิ ยม หรือการแบงครั้งที่ 4 หลังจากการแบงเปนหมูยอยแลว ยังสามารถแบงยอยละเอียดเพื่อ
        ระบุเนื้อหาวิชาใหเฉพาะเจาะจงลงไปไดอีก
        - อาจารยและนักศึกษารวมกันสรุปความรูเรื่องระบบทศนิยมดิวอี้ โดยใหนักเรียนเขียนสรุปสาระสําคัญที่ไดใน
        การเรียนวันนี้ใชเวลา 15 นาที

การวัดและประเมิ นผล
                วิ ธีการ                              เครื่องมือ                            เกณฑ์
นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน                      แบบทดสอบกอนเรียน                           -
งานที่ไดมอบหมายใหเขียนสรุปสาระสําคัญ                     -                       6 ประเด็น จาก 8 ประเด็น




                การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
23    

 

      แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การวิ เคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศด้วยระบบทศนิ ยมดิ วอี้ หมวด 000

นักศึกษาชั้นปที่ 2 ภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร                                      เวลา 3 ชั่วโมง
หมายเหตุ : ใชแผนการจัดการเรียนรูนี้ตั้งแต หมวด 000-900 หมวดละ 3 ชั่วโมง

สาระสําคัญ
       การวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศเปนการระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้ หมวด 000-900
               000 ความรูท่วไป
                            ั
               100 ปรัชญา
               200 ศาสนา
               300 สังคมศาสตร
               400 ภาษาศาสตร
               500 วิทยาศาสตร
               600 วิทยาศาสตรประยุกต และเทคโนโลยี
               700 ศิลปกรรม
               800 วรรณคดี
               900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร

จุดประสงค์การเรียนรู้
       1. ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 000 ความรูท่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของอยางนอย 7
                                                     ั
       เรื่อง
       2. ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 000 ความรูทั่วไปไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5
       เลมในเวลา 30 นาที

สื่อการเรียนรู้
         เอกสารประกอบการสอน คูมือระบบทศนิยมดิวอี้ฉบับพิมพครั้งที่ 21 และใบงานการวิเคราะหเลขหมู หมวด
000

กิ จกรรมการเรียนรู้
        ชัวโมงที่ 1
            ่
        - อาจารยอธิบายถึงสาระสังเขปของหมวด 000
        - อาจารยใหผูเรียนแปลคําศัพทที่เนนพบบอยของหมวด 000 (เอกสารเปนเอกสารภาษาอังกฤษ : คูมอระบบ
                                                                                                  ื
ทศนิยมดิวอี้)
        ชัวโมงที่ 2 และ 3
          ่
        - อาจารยแจกชุดคูมือระบบทศนิยมดิวอี้ใหกับนักศึกษา
        - อาจารยแนะนําคูมือระบบทศนิยมดิวอี้ใหกับผูเรียน

                การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
24    

 

         - อาจารยแจกใบงานการวิเคราะหเลขหมูหมวด 000 ใหกับผูเรียน
         - อาจารยใหผูเรียนทําใบงานในการวิเคราะหเลขหมู หมวด 000 ที่อาจารยไดมอบหมายให โดยระบุเลขหมูให
         ถูกตองกับ ชื่อเรื่อง และสาระสังเขป ของหนังสือที่มอบหมายให

การวัดและประเมิ นผล
         วิ ธีการ                            เครื่องมือ                                 เกณฑ์
                                                                        ถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลม
ผูเรียนทําใบงาน                ใบงานการวิเคราะหเลขหมู หมวด 000       ในเวลา 30 นาที




                   การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
25    

 

                             แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ตารางช่วยในระบบทศนิ ยมดิ วอี้

นักศึกษาชั้นปที่ 2 ภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร                                      เวลา 3 ชั่วโมง


สาระสําคัญ
       ใชตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง
       ตารางที่ 1 ตารางเลขแสดงวิธีเขียน
       ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิภาค ยุคสมัย บุคคล
       ตารางที่ 3 ตารางเลขศิลปะ วรรณกรรม
       ตารางที่ 4 ตารางเลขทฤฎีภาษาและตระกูลภาษา
       ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผาพันธุ สัญชาติ
       ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา
       ตารางที่ 7 ตารางเลขกลุมบุคคล

จุดประสงค์การเรียนรู้
       1. อธิบายลักษณะทั่วไปของตารางชวยไดถูกตอง
       2. จําแนกหลักเกณฑในการใชตารางที่ 1 ไดถูกตอง
       3. อธิบายวิธีใชตารางที่ 2 ไดถูกตอง
       4. สรุปขั้นตอนในการใชตารางที่ 4 ไดถูกตอง
       5. บอกวิธีการใชตารางที่ 5 ไดถูกตอง
       6. เปรียบเทียบความแตกตางระหวางตารางที่ 6 และตารางที่ 4 ไดถูกตอง
       7. อธิบายลักษณะและวิธีใชตารางที่ 7 ไดถูกตอง

สื่อการเรียนรู้
         เอกสารประกอบการสอน คูมือระบบทศนิยมดิวอี้ฉบับพิมพครั้งที่ 21 และใบงานเรื่องตารางชวย

กิ จกรรมการเรียนรู้
        ชัวโมงที่ 1 และ 2
          ่
        - อาจารยอธิบายตารางชวย ตารางที่ 1 ในระบบทศนิยมดิวอี้
        - อาจารยแจกแบบฝกหัดตารางชวยที่ 1 ใหผูเรียนทําใชเวลา 10 นาที
        - อาจารยอธิบายตารางชวย ตารางที่ 2 ในระบบทศนิยมดิวอี้
        - อาจารยแจกแบบฝกหัดตารางชวยที่ 2 ใหผูเรียนทําใชเวลา 10 นาที
        - อาจารยอธิบายตารางชวย ตารางที่ 3 ในระบบทศนิยมดิวอี้
        - อาจารยแจกแบบฝกหัดตารางชวยที่ 3 ใหผูเรียนทําใชเวลา 10 นาที
        - อาจารยอธิบายตารางชวย ตารางที่ 4 ในระบบทศนิยมดิวอี้

                การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

More Related Content

What's hot

ตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริงตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริงMim Kaewsiri
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
Sukanya Nak-on
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศLibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
Ploykarn Lamdual
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ARM ARM
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
พัน พัน
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
oraneehussem
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุดLibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
Ploykarn Lamdual
 
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดทับทิม เจริญตา
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
Ploykarn Lamdual
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
Suphot Chaichana
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
Khunnawang Khunnawang
 

What's hot (20)

ตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริงตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศLibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมแรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุดLibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
 
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
 

Similar to ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

book532
book532book532
book532
Lib Rru
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
Lib Rru
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
Librru Phrisit
 
สรุปสถิติ2553
สรุปสถิติ2553สรุปสถิติ2553
สรุปสถิติ2553
Humanities Information Center
 
Annual report oct53sept54
Annual report oct53sept54Annual report oct53sept54
Annual report oct53sept54
Humanities Information Center
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯsupanyasaengpet
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
kruthailand
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Tanakorn Pansupa
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
ศุภกรณ์ วัฒนศรี
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freewareตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
Boonlert Aroonpiboon
 
Bliography
BliographyBliography
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]teacherhistory
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นAon Narinchoti
 

Similar to ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ (20)

book532
book532book532
book532
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
สรุปสถิติ2553
สรุปสถิติ2553สรุปสถิติ2553
สรุปสถิติ2553
 
Annual report oct53sept54
Annual report oct53sept54Annual report oct53sept54
Annual report oct53sept54
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯ
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freewareตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
 
Bliography
BliographyBliography
Bliography
 
เอกสารโบราณอีสาน
เอกสารโบราณอีสานเอกสารโบราณอีสาน
เอกสารโบราณอีสาน
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 

More from codexstudio

เอกสารอบรม Ipad2
เอกสารอบรม Ipad2เอกสารอบรม Ipad2
เอกสารอบรม Ipad2codexstudio
 
Social Learning Theory version Thailand
Social Learning Theory version ThailandSocial Learning Theory version Thailand
Social Learning Theory version Thailandcodexstudio
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet educationcodexstudio
 
แบบฝึกหัดที่ 2
แบบฝึกหัดที่ 2แบบฝึกหัดที่ 2
แบบฝึกหัดที่ 2codexstudio
 
แบบฝึกหัดที่ 2 1
แบบฝึกหัดที่ 2 1 แบบฝึกหัดที่ 2 1
แบบฝึกหัดที่ 2 1 codexstudio
 
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิงเอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิงcodexstudio
 
วลัยลักษณ์วิจัย
วลัยลักษณ์วิจัยวลัยลักษณ์วิจัย
วลัยลักษณ์วิจัยcodexstudio
 
Munuscript wu. virtual exhibition
Munuscript wu. virtual exhibitionMunuscript wu. virtual exhibition
Munuscript wu. virtual exhibitioncodexstudio
 
Simenar IM3
Simenar IM3Simenar IM3
Simenar IM3
codexstudio
 
Simenar Project
Simenar ProjectSimenar Project
Simenar Project
codexstudio
 

More from codexstudio (13)

เอกสารอบรม Ipad2
เอกสารอบรม Ipad2เอกสารอบรม Ipad2
เอกสารอบรม Ipad2
 
SCORM STANDARD
 SCORM STANDARD SCORM STANDARD
SCORM STANDARD
 
Pbl multimedia
Pbl multimediaPbl multimedia
Pbl multimedia
 
Social Learning Theory version Thailand
Social Learning Theory version ThailandSocial Learning Theory version Thailand
Social Learning Theory version Thailand
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet education
 
Cp10
Cp10Cp10
Cp10
 
แบบฝึกหัดที่ 2
แบบฝึกหัดที่ 2แบบฝึกหัดที่ 2
แบบฝึกหัดที่ 2
 
แบบฝึกหัดที่ 2 1
แบบฝึกหัดที่ 2 1 แบบฝึกหัดที่ 2 1
แบบฝึกหัดที่ 2 1
 
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิงเอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง
 
วลัยลักษณ์วิจัย
วลัยลักษณ์วิจัยวลัยลักษณ์วิจัย
วลัยลักษณ์วิจัย
 
Munuscript wu. virtual exhibition
Munuscript wu. virtual exhibitionMunuscript wu. virtual exhibition
Munuscript wu. virtual exhibition
 
Simenar IM3
Simenar IM3Simenar IM3
Simenar IM3
 
Simenar Project
Simenar ProjectSimenar Project
Simenar Project
 

ตัวอย่าง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

  • 1. 1     การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิ ชาการวิ เคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ การวิเคราะห์ (Analysis) ปญหาและการแกปญหา (Analysis) ปญหา : ในการศึกษารายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ของภาควิชา บรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตรชั้นปที่ 2 จํานวน 40 คน ปญหาที่สําคัญในรายวิชานี้คือผูเรียนยังขาดความ เขาใจ และขาดทักษะการวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) เนื่องดวย เนื้อหารายวิชานี้คอนขางที่จะมาก และอาศัยหลักการวิเคราะหเนื้อหาของหนังสือเพื่อเลือกใหเขาหมวดหมูตามระบบ ทศนิยมดิวอี้ บางครั้งผูเรียนยังวิเคราะหหนังสือเพื่อใหเขาหมวดที่ถูกตองยังไมได จึงตองหาวิธีการที่จะทําใหผูเรียน วิเคราะหหมวดหมูไดอยางถูกตอง วิ ธีแก้ปัญหา (Need Analysis) : ตองการใหผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 000-900 ไดอยางถูกตอง ตองการใหผูเรียนใชตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง ตองการใหผูเรียนใชตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง ตองการใหผูเรียนใชดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง การวิ เคราะห์ภารกิ จ (Task Analysis) Job : ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง Job Inventory : วิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 000-900 ใชตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง ใชตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง ใชดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง Sub-Job : วิ เคราะห์หมวดหมู่หนังสือในระบบทศนิ ยมดิ วอี้ หมวด 000-900 แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 000 ความรูทั่วไป แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 100 ปรัชญาและจิตวิทยา แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 200 ศาสนา แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 300 สังคมศาสตร แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 400 ภาษา แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 500 วิทยาศาสตรธรรมชาตและคณิตศาสตร แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 600 เทคโนโลยี (วิทยาศาสตรประยุกต) การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 2. 2     แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 700 ศิลปะ วิจิตรศิลปและมัณฑนศิลป แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 800 วรรณคดี แยกหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร รูและเขาใจการแบงหมวดหมูตามลําดับของการแบงครั้งที่ 1 และการแบงครั้งที่ 2 ได ใช้ตารางช่วยในระบบทศนิ ยมดิ วอี้ได้อย่างถูกต้อง ระบุเลขตารางที่ 1 ตารางเลขแสดงวิธีเขียน ระบุเลขตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิภาค ยุคสมัย บุคคล ระบุเลขตารางที่ 3 ตารางเลขศิลปะ วรรณกรรม ระบุเลขตารางที่ 4 ตารางเลขทฤฎีภาษาและตระกูลภาษา ระบุเลขตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผาพันธุ สัญชาติ ระบุเลขตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา ระบุเลขตารางที่ 7 ตารางเลขกลุมบุคคล ใช้ตารางเลขหมู่ในระบบทศนิ ยมดิ วอี้ได้อย่างถูกต้อง รูการใชหัวเรื่องในระบบทศนิยมดิวอี้ รูคําอธิบายขอบเขตหนังสือ รูการใชเลขฐาน รูลักษณะการใหหัวเรื่องที่ครอบคลุมหลายหมู รูการใชคําลั่ง Add to รูการใชเลขหมูอยางสรุป รูการใชสวนโยง (See) รูการใชรวมถึง (Including) รูการใชคําสั่ง Class here รูการใชคําลั่ง Class in รูการใชคําสั่ง Option Class in รูลักษณะการใชคําสั่งเลขหมูที่ปรากฏใน [ ] รูลักษณะเครื่องหมาย * ที่ปรากฏในบางเลขหมู ใช้ดรรชนี สมพันธ์ในระบบทศนิ ยมดิ วอี้ได้อย่างถูกต้อง ั รูการเปนดรรชนีสัมพันธ รูการเรียงลําดับดรรชนีสัมพันธ รูลักษณะของรายการโยง รูขอบเขตเรื่องที่ปรากฏในดรรชนีสัมพันธ รูขอบเขตเรื่องที่ไมปรากฏในดรรชนีสัมพันธ รูคําอธิบายการใชอักษรยอในดรรชนีสัมพันธ การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 3. 3     Outline Format 1. หมวด 000 ความรูทั่วไป 1.1 010 บรรณานุกรม 1.2 020 บรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร 1.3 030 สารานุกรมทั่วไป 1.4 040 (ไมใช) 1.5 050 สิ่งพิมพตอเนื่องทั่วไป 1.6 060 องคการทั่วไปและพิพิธภัณฑวทยา ิ 1.7 070 วารสารศาสตร การพิมพ 1.8 080 รวมเรื่องทั่วไป 1.9 090 ตนฉบับตัวเขียนและหนังสือหายาก 2. หมวด 100 ปรัชญาและจิตวิทยา 2.1 110 อภิปรัชญา 2.2 120 ทฤษฏีความรู สาเหตุมนุษย 2.3 130 จิตวิทยานามธรรม 2.4 140 แนวคิดของปรัชญาเฉพาะกลุม 2.5 150 จิตวิทยา 2.6 160 ตรรกวิทยา 2.7 170 จริยศาสตร 2.8 180 ปรัชญาสมัยโบราณ ปรัชญาสมัยกลาง ปรัชญาตะวันออก 2.9 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม 3. หมวด 200 ศาสนา 3.1 210 ศาสนาธรรมชาติ 3.2 220 คัมภีรไบเบิ้ล 3.3 230 เทววิทยาตามแนวคริสตศาสนา 3.4 240 หลักศีลธรรมของชาวคริสต 3.5 250 คริสตศาสนาในทองถิ่นและขอบังคับในคริสตศาสนา 3.6 260 เทววิทยาคริสตทางสังคมและศาสนจักร 3.7 270 ประวัติศาสนาคริสต 3.8 280 นิกายตาง ๆ ของสาสนาคริสต 3.9 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่น ๆ 4. หมวด 300 สังคมศาสตร 4.1 310 รวมเรื่องสถิติทั่วไป 4.2 320 รัฐศาสตร 4.3 330 เศรษฐศาสตร 4.4 340 กฎหมาย 4.5 350 รัฐประศาสนศาสตรและวิชาการทหาร 4.6 360 ปญหาสังคมและบริการสังคม การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 4. 4     4.7 370 การศึกษา 4.8 380 การพาณิชย การติดตอสื่อสาร และการขนสง 4.9 390 ขนบธรรมเนียมประเพณี และคติชาวบาน 5. หมวด 400 ภาษา 5.1 410 ภาษาศาสตร 5.2 420 ภาอังกฤษและภาษาอังกฤษเกา 5.3 430 ภาษาเยอรมัน 5.4 440 ภาษาฝรั่งเศส 5.5 450 ภาษาอิตาเลียน 5.6 460 ภาษาสเปน ปอรตุเกส 5.7 470 ภาษาละติน 5.8 480 ภาษากรีก 5.9 490 ภาษาอื่น ๆ 6. หมวด 500 วิทยาศาสตรธรรมชาติและคณิตศาสตร 6.1 510 คณิตสาสตร 6.2 520 ดาราศาสตร 6.3 530 ฟสิกส 6.4 540 เคมี 6.5 550 วิทยาศาสตรเกี่ยวกับโลก 6.6 560 บรรพชีวินวิทยา 6.7 570 วิทยาศาสตรของสิ่งมีชีวิต ชีววิทยา 6.8 580 พืช 6.9 590 สัตว 7. หมวด 600 เทคโนโลยี (วิทยาศาสตรประยุกต) 7.1 610 แพทยศาสตร 7.2 620 วิศวกรรมศาสตร 7.3 630 เกษตรศาสตร 7.4 640 คหกรรมศาสตรและชีวิตครอบครัว 7.5 650 การจัดการและการบริการทางธุรกิจ 7.6 660 อุตสาหกรรมเคมี 7.7 670 โรงงานอุตสาหกรรม 7.8 680 โรงงานผลิตสิ่งเบ็ดเตล็ด 7.9 690 การกอสราง 8. หมวด 700 ศิลปะ วิจิตรศิลปและมัณฑนศิลป 8.1 710 ศิลปะการวางผังเมือง 8.2 720 สถาปตยกรรม 8.3 730 ศิลปะการปน ประติมากรรม 8.4 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 5. 5     8.5 750 จิตรกรรม 8.6 760 ศิลปะการพิมพ 8.7 770 การถายภาพและภาพถาย 8.8 780 ดนตรี 8.9 790 นันทนาการ และศิลปะการแสดง 9. หมวด 800 วรรณคดี 9.1 810 วรรณคดีอเมริกัน 9.2 820 วรรณคดีอังกฤษและวรรณคดีอังกฤษเกา 9.3 830 วรรณคดีเยอรมัน 9.4 840 วรรณคดีฝรั่งเศส 9.5 850 วรรณคดีอตาเลียน ิ 9.6 860 วรรณคดีสเปน ปอรตุเกส 9.7 870 วรรณคดีละติน 9.8 880 วรรณคดีกรีก 9.9 890 วรรณคดีภาษาอื่น ๆ 10. หมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร 10.1 910 ภูมศาสตรทั่วไป การทองเที่ยว ิ 10.2 920 ชีวประวัติ 10.3 930 ประวัติศาสตรของโลกสมัยโบราณ 10.4 940 ประวัติศาสตรทั่วไปของทวีปยุโรป 10.5 950 ประวัติศาสตรทั่วไปของทวีปเอเชีย 10.6 960 ประวัติศาสตรทั่วไปของทวีปแอฟริกา 10.7 970 ประวัติศาสตรทั่วไปของทวีปอเมริกาเหนือ 10.8 980 ประวัติศาสตรทั่วไปของทวีปอเมริกาใต 10.9 990 ประวัติศาสตรทั่วไปของดินแดนแถบอื่น ๆ 11. ตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้ 11.1 ตารางที่ 1 ตารางเลขแสดงวิธีเขียน 11.2 ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิภาค ยุคสมัย บุคคล 11.3 ตารางที่ 3 ตารางเลขศิลปะ วรรณกรรม 11.4 ตารางที่ 4 ตารางเลขทฤฎีภาษาและตระกูลภาษา 11.5 ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผาพันธุ สัญชาติ 11.6 ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา 11.7 ตารางที่ 7 ตารางเลขกลุมบุคคล 12. ตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้ 12.1 การใชหัวเรื่องในระบบทศนิยมดิวอี้ 12.2 คําอธิบายขอบเขตหนังสือ 12.3 การใชเลขฐาน 12.4 ลักษณะการใหหัวเรื่องที่ครอบคลุมหลายหมู การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 6. 6     12.5 การใชคาลั่ง Add to ํ 12.6 การใชเลขหมูอยางสรุป 12.7 การใชสวนโยง (See) 12.8 การใชรวมถึง (Including) 12.9 การใชคาสั่ง Class here ํ 12.10 การใชคําลั่ง Class in 12.11 การใชคําสั่ง Option Class in 13. ดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้ 13.1 การเปนดรรชนีสมพันธ ั 13.2 การเรียงลําดับดรรชนีสัมพันธ 13.3 ลักษณะของรายการโยง 13.4 ขอบเขตเรื่องที่ปรากฏในดรรชนีสัมพันธ 13.5 ขอบเขตเรื่องที่ไมปรากฏในดรรชนีสัมพันธ 13.6 คําอธิบายการใชอักษรยอในดรรชนีสัมพันธ การวิ เคราะห์การสอน (Instructional Analysis) การสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดยใชรูปแบบการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศระบบ ทศนิยมดิวอี้ (Dewey decimal classification) ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ของภาควิชาบรรณารักษศาสตรและ สารสนเทศศาสตรนั้น โดยเลือกใชทฤษฎีการเรียนรูแบบพุทธิปญญา (Cognitive Theory) ในการเรียนรูคือผลของการ เรียนรูที่เปนความสามารถทางสมองโดยใหความสําคัญกับความรูความเขาใจ หรือการรูคิดของมนุษย โดยบทบาท แนวคิดนี้ผูเรียนเปนเพียงผูรับสารสนเทศ ในขณะที่ครูจะเปนผูนําเสนอสารสนเทศ เชนการบรรยาย นอกจากนี้การ เรียนโดยใชทฤษฎีการเรียนรูแบบพุทธิปญญา ยังสามารถที่จะใหผูเรียนถายโยงความรู และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู มาแลวไปสูบริบทและปญญาใหม การเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศสอนโดยใชรูปแบบการ สอนแบบการบรรยาย โดยเนนใหผูเรียนทําแบบฝกหัด เมื่อจบ 1 หมวดของระบบทศนิยมดิวอี้ การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 7. 7     การอออกแบบ (Design) วัตถุประสงคปลายทาง (TPO) ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง วัตถุประสงคนําทาง (Eos) 1. ผูเรียนมีความรูและเขาใจเกี่ยวกับความสําคัญและลักษณะของระบบทศนิยมดิวอี้ 1.1 ผูเรียนสามารถอธิบายความสําคัญของระบบทศนิยมดิวอี้ตอหองสมุดไดอยางนอย 3 ขอ 1.2 ผูเรียนสามารถบอกลักษณะของระบบทศนิยมดิวอี้ได 2. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 000 ความรูทั่วไป ไดอยางถูกตอง 2.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 000 ความรูทั่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบาง อยางนอย 7 เรื่อง 2.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 000 ความรูทั่วไปไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที 3. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 100 ปรัชญาและจิตวิทยา ไดอยาง ถูกตอง 3.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 100 ปรัชญาและจิตวิทยาของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใด เกี่ยวของบางอยางนอย 7 เรื่อง 3.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 100 ปรัชญาและจิตวิทยาไดถูกตองอยาง นอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที 4. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 200 ศาสนา ไดอยางถูกตอง 4.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 200 ศาสนาของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบางอยาง นอย 7 เรื่อง 4.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 200 ศาสนาไดถูกตองอยางนอย 4 เลม จาก 5 เลมในเวลา 30 นาที 5. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 300 สังคมศาสตร ไดอยางถูกตอง 5.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 300 สังคมศาสตรของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบาง อยางนอย 7 เรื่อง 5.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 300 สังคมศาสตรไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที 6. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 400 ภาษา ไดอยางถูกตอง 6.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 400 ภาษาของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบางอยาง  นอย 7 เรื่อง 6.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 400 ภาษาไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที 7. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 500 วิทยาศาสตรธรรมชาติและ คณิตศาสตร ไดอยางถูกตอง 7.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 500 วิทยาศาสตรธรรมชาติและคณิตศาสตร ของระบบทศนิยม  ดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบางัอยางนอย 7 เรื่อง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 8. 8     7.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 500 วิทยาศาสตรธรรมชาติและ คณิตศาสตร ไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที 8. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 600 เทคโนโลยี (วิทยาศาสตร ประยุกต) ไดอยางถูกตอง 8.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 600 เทคโนโลยี (วิทยาศาสตรประยุกต)ของระบบทศนิยมดิวอี้มี เรื่องใดเกี่ยวของบางอยางนอย 7 เรื่อง 8.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 600 เทคโนโลยี (วิทยาศาสตรประยุกต)ได ถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที 9. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 700 ศิลปะ วิจิตรศิลปและ มัณฑนศิลป ไดอยางถูกตอง 9.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 700 ศิลปะ วิจิตรศิลปและมัณฑนศิลปของระบบทศนิยมดิวอี้มี เรื่องใดเกี่ยวของบางอยางนอย 7 เรื่อง 9.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 700 ศิลปะ วิจิตรศิลปและมัณฑนศิลปได ถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที 10. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 800 วรรณคดี ไดอยางถูกตอง 10.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 800 วรรณคดีของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของบาง อยางนอย 7 เรื่อง 10.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 800 วรรณคดีไดถูกตองอยางนอย 4 เลม จาก 5 เลมในเวลา 30 นาที 11. ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือในระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร ไดอยางถูกตอง 11.1 ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัตศาสตรของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่อง ิ ใดเกี่ยวของบางอยางนอย 7 เรื่อง 11.2 ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัตศาสตรได ิ ถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที 12. ผูเรียนสามารถใชตารางชวย ตารางเลขหมู และดรรชนีสัมพันธ ในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง 12.1 ผูเรียนสามารถใชตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง 12.2 ผูเรียนสามารถใชตารางเลขหมูในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง 12.3 ผูเรียนสามารถใชดรรชนีสัมพันธในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 9. 9     ผูเรียนสามารถวิเคราะหหมวดหมูหนังสือ ในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง  1  2  3  4  5  6  1.1  1.2  2.1  2.2  3.1  3.2  4.1  4.2  5.1  5.2  6.1  6.2  7  8  9  10  11  12  7.1  7.2  8.1  8.2  9.1  9.2  10.1 10.2  11.1  11.2  12.1  12.2  12.3  การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 10. 10     การประเมิ นผลการเรียนรู้ (Assessment Learning) การประเมินผลการเรียนรูรายวิชาวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ของ ภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตรชั้นปที่ 2 จํานวน 40 คน ประเมินโดยใชแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน (Achievement test) ประเภท แบบทดสอบองเกณฑ (Criterion referenced assessment : CRT) โดยใชรูปแบบ ขอสอบแบบเติมคํา/ขอความใหสมบูรณ ซึ่งสัมพันธกับพิสัยการเรียนรูแบบพุทธิพิสัย การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 11. 11     ตารางรายละเอียดข้อกําหนดข้อสอบ (Table of Specification) ตารางขอกําหนดสําหรับขอทดสอบเรื่องการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศดวยระบบทศนิยมดิวอี้ ผลลัพธ์ของพฤติ กรรม เนื้อหา รูหลักการ เขาใจหลักการ ระบุเลขหมูทศนิยม รวม ดิวอี้ ความรูทั่วไปของ 3 3 - 6 ระบบทศนิยมดิวอี้ หมวด 000 2 2 5 9 หมวด 100 2 2 5 9 หมวด 200 2 2 5 9 หมวด 300 2 2 5 9 หมวด 400 2 2 5 9 หมวด 500 2 2 5 9 หมวด 600 2 2 5 9 หมวด 700 2 2 5 9 หมวด 800 2 2 5 9 ตารางชวย 4 7 5 16 ตารางเลขหมู 5 13 5 23 ดรรชนีสัมพันธ 3 6 5 14 รวม 33 47 60 140 การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 12. 12     การเลือกระบบถ่ายทอด (Delivery System Option) เทคโนโลยีที่นํามาถายทอดความรูใหกับผูเรียนในการเรียนรายวิชาวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศคือ เทคโนโลยีการพิมพ (Print Technology) ซึ่งเทคโนโลยีการพิมพมีคุณประโยชนที่ใหผูเรียนใชสามารถจัดระบบระเบียบ ใหม จัดโครงสรางใหม และสามารถควบคุมการเรียนรูตามอัตราความสามารถในการเรียนของแตละคน และสามารถทํา สําเนาซ้ําไดงาย โดยการเรียนรายวิชาวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ เปนกลุมคอนขางที่ใหญจํานวน 40 คน มี  อายุ การศึกษา ใกลเคียงกัน เทคโนโลยีการพิมพ เปนการลดปญหาของสภาพเศรษฐกิจของผูเรียน เพราะใชคาใชจาย นอยมากเมื่อเทียบกับเทคโนโลยีชนิดอื่นๆ การเลือกระบบการถายทอด โดยใชแบบจําลองการเลือกระบบถายทอด (Delivery System Model) ของ Seel และ Glasgow 1. ระบุคณสมบัติของผูเรียน ุ ้ การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศโดยระดับการศึกษาของ ผูเรียนอยูในระดับการศึกษาปริญญาตรี ชั้นปท่ี 2 อายุโดยเฉลี่ย 20 ป รายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศเปน วิชาแกนของภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร โดยเปนวิชาที่ผูเรียนจะตองเรียนและจะตองผานไมต่ํา กวาเกรด C ความสามารถทางภาษาของผูเรียนสามารถอานออกเขียนได และระดับภาษาอังกฤษของผูเรียนอยูใน ระดับพอใช โดยการเรียนในรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศผูเรียนจะตองใช คูมือระบบทศนิยมดิวอี้ฉบับ ภาษาอังกฤษ พิมพครั้งที่ 21 2. ระบุคณสมบัติทางด้านช่องทาง ุ การระบุชองทางจะตองสอดคลองกับการวิเคราะหคุณสมบัติผูเรียนเบื้องตนที่ไดวิเคราะหไปแลว โดยระดับ การศึกษา อายุ การใชภาษา ซึ่งจะตองเลือกชองทางใหสัมพันธกันการเรียนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ ระตองใช 3 ชองทางในการเรียนรู คือ ทางโสตเพื่อฟงการบรรยาย ทางทัศนะเพื่อดูหนังสือและเอกสารการบรรยาย ทางการเคลื่อนไหวเพื่อใชจดบันทึก และกิจกรรมในการเรียนการสอน ดังนั้นการเรียนการสอนจะใช เอกสารในการสอน การบรรยายจากครู และการฝกปฏิบัติวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศโดยใชระบบทศนิยมดิวอี้ 3. การระบุสถานการณ์การเรียน การเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ เปนการเรียนกลุมใหญ จํานวนผูเรียน 40 คน การเรียนการสอนอยูในระบบการศึกษา โดยเทคโนโลยีที่เลือกนํามาใชในการเรียนการสอนรายวิชานี้คือเทคโนโลยี สิ่งพิมพ (Printed Technology) เพราะการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีสิ่งพิมพ สามารถควบคุมการเรียนไดตาม อัธยาศัย ผูเรียนสามารถเรียนรูไดเร็วชาตามความตองการของผูเรียน สามารถทบทวนซ้ําได สามารถอัดสําเนาได ราคาและคาใชจายคอนขางต่ําสอดคลองกับการเรียนการสอนกลุมใหญจํานวน 40 คน 4. ระบุเงื่อนไขบังคับและทรัพยากร การเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ เรียนดวยการบรรยายและการเรียนแบบปฏิบัติ โดยการระบุ ทรัพยากรบุคคล งบประมาณ อุปกรณการสอน ดังนี้ ทรัพยากรบุคคล ประกอบดวย อาจารย จํานวน 1 ทาน ทําหนาที่สอนและบรรยายในชั้นเรียน ผูชวยสอน จํานวน 1 ทาน ทําหนาที่ควบคุมการเรียนปฏิบัติของผูเรียน การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 13. 13     ผูเรียน จํานวน 40 คน ทําหนาที่ ศึกษารายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ และฝกปฏิบัติการวิเคราะห ทรัพยากรสารสนเทศ งบประมาณ ใชงบประมาณการจัดการเรียนสอนของมหาวิทยาลัย อุปกรณการสอน ประกอบดวย 1. จอโปรเจคเตอร 1 จอ 2. คอมพิวเตอร 1 เครื่อง 3. คูมือปฎิบัติระบบทศนิยมดิวอี้ 20 ชุด ชุดละ 4 เลม 4. กระดานไวทบอรด แปรง และ ไวทบอรด 1 ชุด 5. วิ นิจฉัยระบบการถ่ายทอด จากการระบุ ระบุคุณสมบัติของผูเรียน ระบุคุณสมบัติทางดานชองทาง การระบุสถานการณการเรียน ระบุ เงื่อนไขบังคับและทรัพยากร จึงวินิจฉัยระบบการถายทอดเปนวัสดุสิ่งพิมพ เพราะลดการคาใชจาย สามารถอัดสําเนาได ในปริมาณมาก เหมาะสําหรับผูเรียนที่เรียนรูดวยตนเอง สนองการตอบสนองในการเรียนชา เร็ว ของผูเรียน สามารถ ทบทวนซ้ําได ตามความสามารถของบุคคล โดยผลิตภัณฑการออกแบบระบบการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากร สารสนเทศ จะไดเปนเอกสารการสอน ใบงาน และแบบฝกหัด หลังจากที่ระบุผูเรียนและวินิจฉัยระบบการถายทอดแลววาเปนเทคโนโลยีสิ่งพิมพ รายวิชาการวิเคราะห ทรัพยากรสารสนเทศ ผูสอนจะตองผลิตเอกสารการสอนและสื่อประกอบการสอนเอง เมื่อเขาสูระบบการผลิตเปนสื่อ ตนแบบแลว และนําไปประเมินผลการตัดสินใจการออกแบบการสอน กอนที่จะนําสื่อไปใชจริง เปนการประเมินผลเพื่อ พัฒนา (Formative Evaluation) การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 14. 14     การนําไปใช้ (Impliment) ในขั้นตอนนี้ ยังไมไดนาสื่อไปใช ํ การประเมิน (Evaluation) ในขั้นตอนของการประเมินนี้ คําถามที่ตองตอบใหไดคือ - เราไดแกปญหาไดแลวใชไหม - ผลที่ไดคืออะไร - สิ่งจําเปนที่ตองเปลี่ยนแปลงคืออะไร เนื่องดวยสื่อยังไมไดรับการนําไปใช ทําใหไมทราบผลของทั้ง 3 คําถามได การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 15. 15     แผนการจัดการเรียนรู้ การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 16. 16     แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ความรู้ทวไปเกี่ยวการจัดหมวดหมู่หนังสือด้วยระบบทศนิ ยมดิ วอี้ ั่ นักศึกษาชั้นปที่ 2 ภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร เวลา 3 ชั่วโมง สาระสําคัญ ความหมายของการจัดหมวดหมู่หนังสือ การจัดหมวดหมูหนังสือ คือการจัดกลุมหนังสือ โดยพิจารณาจากเนื้อหาสาระของหนังสือเปนสําคัญ หรือ ลักษณะการประพันธอยางเดียวกันไวดวยกัน โดยมีสัญลักษณแสดงเนื้อหา ของหนังสือแตละประเภทโดยจะเขียน สัญลักษณแทนประเภทของหนังสือไวที่สันหนังสือแตละเลม เพื่อจะเปนการบอกตําแหนงของหนังสือที่อยูในหองสมุด หนังสือที่เนื้อหาเหมือนกัน หรือคลายคลึงกันจะจัดวางไวดวยกันหรือใกลๆ กัน ความสําคัญของการจัดหมู่หนังสือระบบทศนิ ยมดิ วอี้ 1. ผูใชหองสมุดและเจาหนาที่หองสมุดสามารถคนหาหนังสือที่ตองการไดงายและประหยัดเวลาเพราะเมื่อมี การจัดหมูหนังสืออยางเปนระบบที่สันหนังสือทุกเลมจะมีเลขหมูหนังสือ ผูใชหองสมุดสามารถคนหนังสือไดโดยเปดดู เลขจากบัตรรายการ แลวตรงไปหาหนังสือจากชั้นไดอยางรวดเร็ว เจาหนาที่หองสมุดก็สามารถจัดเก็บหนังสือขึ้นได ถูกตองและรวดเร็ว 2. หนังสือที่มีเนื้อหาวิชาอยางเดียวกัน หรือคลายคลึงกันจะรวมอยูในหมวดหมูเดียวกัน ชวยใหผูใชหองสมุด มีโอกาสเลือกหนังสือเนื้อเรื่องที่ตองการจากหนังสือหลาย ๆ เลมไดอยางรวดเร็ว 3. หนังสือที่มเนื้อเรื่องเกี่ยวเนื่องกัน หรือสัมพันธกันจะอยูใกลๆ กัน ซึ่งจะชวยใหผูอานสามารถหาหนังสือที่ ี มีเรื่องราวเหมือนกันมาประกอบเนื้อหาใหสมบูรณยิ่งขึ้น4. ชวยใหทราบวามีจํานวนหนังสือในแตละหมวดมากนอย เพียงใด 5. เมื่อไดหนังสือใหมเขามาในหองสมุดก็สามารถจัดหมวดหมูแลวน าออกขึ้นชั้นรวมกับหนังสือที่มีอยูกอน แลว เพื่อใหบริการไดอยางรวดเร็ว ประโยชน์ ของการจัดหมวดหมู่หนังสือ 1. หนังสือแตละเลมจะมีสัญลักษณแทนเนื้อหาของหนังสือ 2. หนังสือที่มีเนื้อหาวิชาอยางเดียวกัน หรือคลายคลึงกันจะรวมอยูในหมวดหมูเดียวกัน ชวยใหผูใชมีโอกาส เลือกหนังสือหรือเนื้อเรื่องตามที่ตองการจากหนังสือไดหลายเลม 3. หนังสือที่มีเนื้อเรื่องเกี่ยวเนื่องกัน หรือสัมพันธกันจะอยูใกลๆ กัน ซึ่งจะชวยใหผูอานสามารถหาหนังสือที่มี เรื่องราวเหมือนกันมาใชประกอบเนื้อหาไดสมบูรณยิ่งขึ้น 4. หนังสือที่มีลักษณะคําประพันธแบบเดียวกันจะอยูรวมกันตามภาษาของคําประพันธนั้น ๆ 5. ชวยใหผูใชหองสมุดสามารถคนหาหนังสือไดอยางสะดวกและรวดเร็ว และชวยประหยัดเวลาเพราะที่สัน หนังสือทุกเลมจะปรากฏเลขเรียกหนังสือ เจาหนาที่สามารถจัดเก็บเขาที่ไดถูกตองถูกรวดเร็ว 6. ชวยใหทราบจํานวนหนังสือแตละสาขาวิชาวามีจํานวนมากนอยเทาใด หากวิชาใดยังมีจํานวนนอยไม การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 17. 17     เพียงพอกับความตองการจะไดจัดหาเพิ่มเติมใหเหมาะสม 7. เพิ่มประสิทธิภาพในการสืบคนวัสดุหองสมุด ลดความผิดพลาดในการสืบคน สามารถคนไดอยาง ถูกตอง สมบูรณ รวดเร็วและประหยัดเวลา ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือที่ควรทราบ ระบบการจัดหมวดหมูหนังสือที่ส าคัญ การจัดหมวดหมูหนังสือในปจจุบันมีการจัดในระบบตางๆ ดังนี้ 1. ระบบเอ็กซแพนซีพ (Expansive Classification) ของชารลส แอมมิ คัดเตอร (Chartes Ammi Cutter) 2. ระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) หรือ DC หรือ DDC ของเมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) 3. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classification) หรือ LC ของเฮอรเบิรท พุทนัม (Derbert Putnam) และคระบรรณารักษหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน 4. ระบบทศนิยมสากล (Universal Decimal Classification) หรือ UDC ของพอล ออต เล็ต (Paul Otlet) และ อองรีลา ฟอนแตน (Henri La Fontaine) 5. ระบบซับเจค(Subject Classification) หรือ SC ของเจมส ดัฟฟ บราวน(James Duff Brown) 6. ระบบโคลอน (Colon Classification) หรือ CC ของเอส. อาร. แรงกานาธาน (S.R. Ranganathan) 7. ระบบบรรณานุกรม (Bibliographic Classification) หรือ BC ของเฮนรี่ เอฟเวลิน บลิสส (Henry Evelyn Bliss) 8. ระบบกลิดเดน (Glidden Classification) หรือ GC ของวิลเลียม แอนเดอรสัน (William Anderson)9. ระบบหอสมุดแพทยแหงชาติอเมริกัน (National Library of Medicine ) หรือ NLM ของแมรี่ หลุยส มารแชล (Mary Louise Marshall) 10. การจัดหมูหนังสือที่ไมใชตัวเลขเปนสัญลักษณ ระบบการจัดหมวดหมูหนังสือทั้ง 9 ระบบ บางระบบมีการนํามาใชนอยมาก แตบางระบบมีการนํามาใช แพรหลายในประเทศตางๆ รวมทั้งประเทศไทยดวย ไดแก ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และระบบทศนิยมของดิว อี้ ทั้งสองระบบนี้หองสมุดไดนํามาใชแตกตางกันตามลักษณะและขนาดของหองสมุด ซึ่งนับวาเปนระบบการจัด  หมวดหมูท่สําคัญ และเปนที่นิยมใชมากที่สุด ี ระบบทศนิ ยมดิ วอี้ การจัดหมวดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้(Dewey Decimal Classification) เรียกยอๆวา ระบบ D.C. หรือ D.D.C. ระบบนี้ตั้งชื่อตามผูคิดคน คือนายเมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษชาวอเมริกัน ดิวอี้มีความสนใจงาน หองสมุดเปนพิเศษ ในขณะที่เปนนักศึกษาชั้นปที่ 3 ในวิทยาลัยแอมเฮิรสต ในรัฐแมสซาซูเสตต ไดสมัครเขาทํางาน หองสมุดของวิทยาลัยนั้น ในตําแหนงผูชวยบรรณารักษดิวอี้ไดไปดูงานดานการจัดหนังสือใหสะดวกแกการใชใน หองสมุดตางๆถึง 50 แหง แลวจึงไดเริ่มคิดระบบการจัดหมวดหมูแบบทศนิยมขึ้นใน เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2416 (ค.ศ. 1873) ไดนําเสนอตอคณะกรรมการหองสมุดของวิทยาลัยนั้น จัดพิมพเปนรูปเลมครั้งแรกเมื่อปค.ศ. 1876 และได มีการปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมเลขหมูใหทันสมัยอยูเสมอ และจัดพิมพใหมครั้งหลังสุดเมื่อปพ.ศ. 2534 เปนการพิมพครั้งที่ 20 ระบบนี้ใชตัวเลขเปนสัญลักษณแทนชนิดของหนังสือ โดยใชตัวเลขสามหลัก และยังสามารถใชจุดทศนิยมหลังเลข หลักรอย ชวยในการแบงยอยเนื้อหาวิชาไดอีกดวย ระบบนี้ใชงาย เขาใจและจําไดงาย จึงเปนระบบการจัดหมูท่ีนิยมใช การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 18. 18     กันแพรหลายในหองสมุดโรงเรียน หองสมุดประชาชน ในทุกๆ ประเทศทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยเราดวย ระบบ ทศนิยมของดิวอี้แบงหนังสือเปนหมวดหมูใหญไปหาหมวดยอยๆ ดังนี้ 2.1 หมวดใหญ่ (Classes) หรือการแบงครั้งที่ 1 คือ การแบงความรูตางๆออกเปน 10 หมวดใหญ โดย ใชตัวเลขหลักรอยเปนสัญลักษณ ดังตอไปนี้ หมวด 000 เบ็ดเตล็ด ความรูทั่วไป บรรณารักษศาสตร หมวด 100 ปรัชญา จิตวิทยา หมวด 200 ศาสนา หมวด 300 สังคมศาสตร หมวด 400 ภาษาศาสตร หมวด 500 วิทยาศาสตร คณิตศาสตร หมวด 600 เทคโนโลยี หรือวิทยาศาสตรประยุกต หมวด 700 ศิลปกรรม และนันทนาการ หมวด 800 วรรณคดี หมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร 2.2 หมวดย่อย (Division) หรือการแบงครั้งที่ 2 คือการแบงหมวดใหญแตละหมวดออกเปน 10 หมวด ยอย โดยใชตัวเลขหลักสิบแทนสาขาวิชาตางๆ ดังตอไปนี้ 000 เบ็ดเตล็ด 010 บรรณานุกรมและแค็ตตาล็อกหนังสือ 020 บรรณารักษศาสตรและสารนิเทศศาสตร 030 สารานุกรมทั่วไป 040 (ยังไมก าหนด) 050 สิ่งพิมพตอเนื่องและดรรชนี 060 องคกรตางๆ และพิพิธภัณฑวิทยา 070 วารสารศาสตร การพิมพ หนังสือพิมพ 080 รวมเรื่องทั่วไป 090 ตนฉบับตัวเขียนและหนังสือหายาก 100 ปรัชญาและจิตวิทยา 110 อภิปรัชญา 120 ทฤษฎีแหงความรู ความเปนมนุษย 130 จิตวิทยาสาขาตางๆ ศาสตรเกี่ยวกับความลึกลับ 140 ปรัชญาระบบตาง ๆ 150 จิตวิทยา 160 ตรรกวิทยา 170 จริยศาสตร จริยธรรม ศีลธรรม 180 ปรัชญาสมัยโบราณ ปรัชญาสมัยกลาง และปรัชญาตะวันออก 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 19. 19     200 ศาสนา 210 ศาสนาธรรมชาติ 220 คัมภีรไบเบิล 230 เทววิทยาตามแนวคริสตศาสนา 240 ศีลธรรมของชาวคริสเตียน 250 ระเบียบแบบแผนของศาสนาคริสต 260 สังคมของชาวคริสเตียน 270 ประวัติคริสตศาสนาในประเทศตาง ๆ 280 คริสตศาสนาและนิกายตาง ๆ 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่น ๆ 300 สังคมศาสตร 310 สถิติทั่วไป 320 รัฐศาสตร 330 เศรษฐศาสตร 340 กฎหมาย 350 รัฐประศาสนศาสตร การบริหารรัฐกิจ การบริหารกองทัพ 360 ปญหาสังคม สวัสดิภาพสังคม 370 การศึกษา 380 การพาณิชย การสื่อสาร การขนสง 390 ขนบธรรมเนียม ประเพณีคติชนวิทยา 400 ภาษาศาสตร 410 ภาษาศาสตรเปรียบเทียบ 420 ภาษาอังกฤษ 430 ภาษาเยอรมันและภาษาในกลุมเยอรมัน 440 ภาษาฝรั่งเศส 450 ภาษาอิตาเลียน ภาษารูเมเนียน 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส 470 ภาษาละติน 480 ภาษากรีก 490 ภาษาอื่น ๆ 500 วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร 510 คณิตศาสตร 520 ดาราศาสตร 530 ฟสิกส 540 เคมีโลหะวิทยา 550 ธรณีวิทยา 560 บรรพชีวินวิทยา ชีวิตโบราณศึกษา การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 20. 20     570 วิทยาศาสตรชีวภาพ 580 พฤกษศาสตร 590 สัตววิทยา 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตรประยุกต 610 แพทยศาสตร 620 วิศวกรรมศาสตร 630 เกษตรศาสตร 640 คหกรรมศาสตร 650 ธุรกิจและการจัดการธุรกิจ 660 วิศวกรรมเคมี 670 โรงงานอุตสาหกรรม 680 โรงงานผลิตสินคาเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ 690 การกอสรางและวัสดุกอสราง 700 ศิลปะและนันทนาการ 710 สิลปะการออกแบบบริเวณพื้นที่ 720 สถาปตยกรรม 730 ประติมากรรม และศิลปะพลาสติก 740 มัณฑนศิลปและการวาดเขียน 750 จิตรกรรม 760 ศิลปะการพิมพ ศิลปะกราฟก 770 การถายภาพ และภาพถาย 780 ดนตรี 790 ศิลปะการแสดง นันทนาการ การกีฬา 800 วรรณคดี 810 วรรณคดีอเมริกัน 820 วรรณคดีอังกฤษ 830 วรรณคดีเยอรมัน 840 วรรณคดีฝรั่งเศส 850 วรรณคดีอิตาเลียน 860 วรรณคดีสเปน วรรณคดีโปรตุเกส 870 วรรณคดีละติน 880 วรรณคดีกรีก 890 วรรณคดีภาษาอื่น ๆ 900 ภูมิศาสตร และประวัติศาสตร 910 ภูมิศาสตรและการทองเที่ยว 920 ชีวประวัติและสกุลวงศ 930 ประวัติศาสตรโลกโบราณ การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 21. 21     940 ประวัติศาสตรทวีปยุโรป 950 ประวัติศาสตรทวีปเอเชียตะวันออก ตะวันออกไกล 960 ประวัติศาสตรทวีปแอฟริกา 970 ประวัติศาสตรทวีปอเมริกาเหนือ 980 ประวัติศาสตรทวีปอเมริกาใต 990 ประวัติศาสตรสวนอื่น ๆ ของโลก2.3 หมูยอย (Section) หรือ การแบงครั้งที่ 3 คือการแบงหมวดยอยแตละหมวดออกเปน 10 หมู ยอย โดยใชเลขหลักหนวยแทนสาขาวิชา ดังตัวอยางตอไปนี้ หมวดยอย 640 คหกรรมศาสตร 641 อาหารและเครื่องดื่ม 642 การจัดเลี้ยง 643 บานพักอาศัย และอุปกรณภายในบาน 644 เครื่องอ านวยความสะดวกภายในบาน 645 เครื่องประดับบาน 646 การตัดเย็บเสื้อผา การตกแตงรางกาย 647 การจัดการบานเรือน 648 การสุขาภิบาลในบาน 649 การเลี้ยงดูเด็ก การพยาบาลในบาน 2.4 จุดทศนิ ยม หรือการแบงครั้งที่ 4 หลังจากการแบงเปนหมูยอยแลว ยังสามารถแบงยอยละเอียดเพื่อ ระบุเนื้อหาวิชาใหเฉพาะเจาะจงลงไปไดอีก โดยการใชทศนิยมหนึ่งต าแหนงไปจนถึงหลายต าแหนง ตัวอยางเชน 959 ประวัติศาสตรประเทศในเอเชียอาคเนย 959.1 ประวัติศาสตรประเทศพมา 959.3 ประวัติศาสตรประเทศไทย 959.31 ประวัติศาสตรไทยสมัยโบราณถึง พ.ศ. 1780 959.32 สมัยกรุงสุโขทัย 959.33 สมัยกรุงศรีอยุธยา 959.34 สมัยกรุงธนบุรี 959.35 สมัยรัตนโกสินทร – ปจจุบน ั จะเห็ น ได ว า การจั ด หมู ห นั ง สื อ ระบบทศนิ ย มของดิ ว อี้ นี้ จ ะใช วิ ธี แ บ ง หนั งสื อ จากหมวดหมู ใ หญ ก ว า งๆ ไปหา หมวดหมูยอยๆ ตอไปไดอีกโดยใชจุดทศนิยมแบบไมรูจบ ซึ่งผูอานไมจําเปนจําใหไดทั้งหมด แตควรจําใหไดเฉพาะ หมวดใหญ 10 หมวดวาแตละหมวดเกี่ยวกับสาขาวิชาอะไร และจําเลขหมูของหนังสือบางเลมที่ผูอานใชเปนประจําก็ เพียงพอแลว เพราะผูใชหองสมุดเปนตองรูจักวิธีการใชหองสมุดเพื่อการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ผูเรียนสามารถอธิบายความสําคัญของระบบทศนิยมดิวอี้ตอหองสมุดไดอยางนอย 3 ขอ 2. ผูเรียนสามารถบอกลักษณะของระบบทศนิยมดิวอี้ได การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 22. 22     สื่อการเรียนรู้ เอกสารประกอบการสอน แบบฝกหัด กิ จกรรมการเรียนรู้ ชัวโมงที่ 1 ่ - ผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง ความรูทั่วไปเกี่ยวการจัดหมวดหมูหนังสือดวยระบบทศนิยมดิวอี้ - ใหผูเรียนแตละคนยกตัวอยางระบบการจัดหมวดหมูหองสมุดที่นักเรียนรูจัก - อาจารยอธิบายความหมายของการจัดหมวดหมูหนังสือ และความสําคัญของการจัดหมูหนังสือระบบ ทศนิยมดิวอี้ ชัวโมงที่ 2 ่ - อาจารยอธิบายประโยชนของการจัดหมวดหมูหนังสือและระบบการจัดหมวดหมูหนังสือที่ควรทราบ - อาจารยบรรยายระบบการจัดหมวดหมูหนังสือทศนิยมดิวอี้โดยทั่วไป คือ 1. หมวดใหญ่ (Classes) หรือการแบงครั้งที่ 1 คือ การแบงความรูตางๆออกเปน 10 หมวดใหญ   ชัวโมงที่ 3 ่ 2. หมวดย่อย (Division) หรือการแบงครั้งที่ 2 คือการแบงหมวดใหญแตละหมวดออกเปน 10 หมวดยอย   3. การแบ่งครังที่ 3 คือการแบงหมวดยอยแตละหมวดออกเปน 10 หมู ยอย โดยใชเลขหลักหนวยแทน ้ สาขาวิชา   4. จุดทศนิ ยม หรือการแบงครั้งที่ 4 หลังจากการแบงเปนหมูยอยแลว ยังสามารถแบงยอยละเอียดเพื่อ ระบุเนื้อหาวิชาใหเฉพาะเจาะจงลงไปไดอีก - อาจารยและนักศึกษารวมกันสรุปความรูเรื่องระบบทศนิยมดิวอี้ โดยใหนักเรียนเขียนสรุปสาระสําคัญที่ไดใน การเรียนวันนี้ใชเวลา 15 นาที การวัดและประเมิ นผล วิ ธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน แบบทดสอบกอนเรียน - งานที่ไดมอบหมายใหเขียนสรุปสาระสําคัญ - 6 ประเด็น จาก 8 ประเด็น การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 23. 23     แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การวิ เคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศด้วยระบบทศนิ ยมดิ วอี้ หมวด 000 นักศึกษาชั้นปที่ 2 ภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร เวลา 3 ชั่วโมง หมายเหตุ : ใชแผนการจัดการเรียนรูนี้ตั้งแต หมวด 000-900 หมวดละ 3 ชั่วโมง สาระสําคัญ การวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศเปนการระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้ หมวด 000-900 000 ความรูท่วไป ั 100 ปรัชญา 200 ศาสนา 300 สังคมศาสตร 400 ภาษาศาสตร 500 วิทยาศาสตร 600 วิทยาศาสตรประยุกต และเทคโนโลยี 700 ศิลปกรรม 800 วรรณคดี 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ผูเรียนสามารถบอกไดวาหมวด 000 ความรูท่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้มีเรื่องใดเกี่ยวของอยางนอย 7  ั เรื่อง 2. ผูเรียนสามารถระบุเลขหมูทศนิยมดิวอี้หนังสือหมวด 000 ความรูทั่วไปไดถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลมในเวลา 30 นาที สื่อการเรียนรู้ เอกสารประกอบการสอน คูมือระบบทศนิยมดิวอี้ฉบับพิมพครั้งที่ 21 และใบงานการวิเคราะหเลขหมู หมวด 000 กิ จกรรมการเรียนรู้ ชัวโมงที่ 1 ่ - อาจารยอธิบายถึงสาระสังเขปของหมวด 000 - อาจารยใหผูเรียนแปลคําศัพทที่เนนพบบอยของหมวด 000 (เอกสารเปนเอกสารภาษาอังกฤษ : คูมอระบบ ื ทศนิยมดิวอี้) ชัวโมงที่ 2 และ 3 ่ - อาจารยแจกชุดคูมือระบบทศนิยมดิวอี้ใหกับนักศึกษา - อาจารยแนะนําคูมือระบบทศนิยมดิวอี้ใหกับผูเรียน การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 24. 24     - อาจารยแจกใบงานการวิเคราะหเลขหมูหมวด 000 ใหกับผูเรียน - อาจารยใหผูเรียนทําใบงานในการวิเคราะหเลขหมู หมวด 000 ที่อาจารยไดมอบหมายให โดยระบุเลขหมูให ถูกตองกับ ชื่อเรื่อง และสาระสังเขป ของหนังสือที่มอบหมายให การวัดและประเมิ นผล วิ ธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ถูกตองอยางนอย 4 เลมจาก 5 เลม ผูเรียนทําใบงาน ใบงานการวิเคราะหเลขหมู หมวด 000 ในเวลา 30 นาที การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449
  • 25. 25     แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ตารางช่วยในระบบทศนิ ยมดิ วอี้ นักศึกษาชั้นปที่ 2 ภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร เวลา 3 ชั่วโมง สาระสําคัญ ใชตารางชวยในระบบทศนิยมดิวอี้ไดอยางถูกตอง ตารางที่ 1 ตารางเลขแสดงวิธีเขียน ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิภาค ยุคสมัย บุคคล ตารางที่ 3 ตารางเลขศิลปะ วรรณกรรม ตารางที่ 4 ตารางเลขทฤฎีภาษาและตระกูลภาษา ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผาพันธุ สัญชาติ ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา ตารางที่ 7 ตารางเลขกลุมบุคคล จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะทั่วไปของตารางชวยไดถูกตอง 2. จําแนกหลักเกณฑในการใชตารางที่ 1 ไดถูกตอง 3. อธิบายวิธีใชตารางที่ 2 ไดถูกตอง 4. สรุปขั้นตอนในการใชตารางที่ 4 ไดถูกตอง 5. บอกวิธีการใชตารางที่ 5 ไดถูกตอง 6. เปรียบเทียบความแตกตางระหวางตารางที่ 6 และตารางที่ 4 ไดถูกตอง 7. อธิบายลักษณะและวิธีใชตารางที่ 7 ไดถูกตอง สื่อการเรียนรู้ เอกสารประกอบการสอน คูมือระบบทศนิยมดิวอี้ฉบับพิมพครั้งที่ 21 และใบงานเรื่องตารางชวย กิ จกรรมการเรียนรู้ ชัวโมงที่ 1 และ 2 ่ - อาจารยอธิบายตารางชวย ตารางที่ 1 ในระบบทศนิยมดิวอี้ - อาจารยแจกแบบฝกหัดตารางชวยที่ 1 ใหผูเรียนทําใชเวลา 10 นาที - อาจารยอธิบายตารางชวย ตารางที่ 2 ในระบบทศนิยมดิวอี้ - อาจารยแจกแบบฝกหัดตารางชวยที่ 2 ใหผูเรียนทําใชเวลา 10 นาที - อาจารยอธิบายตารางชวย ตารางที่ 3 ในระบบทศนิยมดิวอี้ - อาจารยแจกแบบฝกหัดตารางชวยที่ 3 ใหผูเรียนทําใชเวลา 10 นาที - อาจารยอธิบายตารางชวย ตารางที่ 4 ในระบบทศนิยมดิวอี้ การออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ โดย ฉัตรพงศ ชูแสงนิล 5414600449