SlideShare a Scribd company logo
BY: PSYCHE 08      1



บทที 9 พฤติกรรมการสืบพันธุ์
           พฤติกรรมการสืบพันธุ์เป็ นส่วนสําคัญทีสุดในพฤติกรรมทางสังคม เพราะว่าถ้ าขาดพฤติกรรมนีจะทําให้ สปี
ชีส์ไม่สามารถดํารงอยูได้
                     ่
             พฤติกรรมการสืบพันธุ์ประกอบด้ วย การเกียวพาราสี การจับคู่ พฤติกรรมการเป็ นพ่อแม่และประพฤติกรรม
ก้ าวร้ าว-นันคือ พฤติกรรมประเภทปะทะของ sexually dimorphic behaviors (พฤติกรรมทีแตกต่างกันในเพศหญิง
และชาย)
          ในเซคนีเราจะมาพิจารณารูปร่าง หน้ าตา ลักษณะ และการพัฒนาการเกียวกับเพศ
Sexually dimorphic behaviors
          เป็ นพฤติกรรมหนึงทีมีความแตกต่างหรื อเกิดขึนมาจากความแตกต่างของสภาพระหว่างชายและหญิง
Production of Gametes and Fertilization
       เซลล์ทงหลายของมนุษย์นอกเหนือจากสเปิ ร์มและไข่ ประกอบด้ วย23คู่ โครโมโซม โดยส่วนDNAเป็ นส่วน
             ั
หนึงในโครโมโซมเหล่านี มนุษย์มีความภูมิใจทีสามารถผลิตวงจรคอมพิวเตอร์ ย่อส่วน แต่ไม่สามารถบรรลุผลทีจะ
มองเห็นโครโมโซมได้ ด้วยตาเปล่า
Gametes
          เซลล์สืบพันธุ์ทีเจริญเติบโตเต็มที ได้ แก่ สเปิ ร์มและไข่
Sex chromosome
โครโมโซมเพศนันมี 2 ประเภท ได้ แก่ โครโมโซม XและY
โครโมโซมXและYเป็ นตัวกําหนดเพศ โดยเพศหญิงได้ แก่ XX(ดังนัน ไข่ คือ ผู้หญิงทีประกอบด้ วย X) เพศชายได้ แก่ XY
          เมือโครโมโซมเพศของชายแบ่งตัว ครึงหนึงประกอบด้ วย Xและอีกครึงหนึงประกอบด้ วย
จากนัน Y จะรองรับ X จากไข่ (ปฏิสนธิกน) ได้ เป็ น XY นันคือ เพศชาย
                                    ั
          Xจะรองรับ X จากไข่ (ปฏิสนธิกน) ได้ เป็ น XX นันคือ เพศหญิง
                                      ั
Development of the Sex Organ
       หญิงและชายมีความแตกต่างกันในหลายๆด้ าน ทังร่างกาย บางส่วนของสมอง และพฤติกรรมการสืบพันธุ์
ความแตกต่างนีเกิดจากโครโมโซม Y ทีเป็ นการจําแนกชายและหญิงใช่หรื อไม่????
คําตอบ คือ ไม่
BY: PSYCHE 08    2



         โครโมโซม X และ22ทีไม่ใช่โครโมโซมเพศ ถูกพบในเซลล์ทงเพศหญิงและชาย เกียวข้ องกับข้ อมูลการ
                                                           ั
พัฒนาร่างกายในแต่ละเพศ ฮอร์ โมนเพศทังก่อนและหลังเกิดตังหากทีเป็ นตัวทําให้ เกิดสภาพความแตกต่างระหว่าง
เพศ
โครโมโซม Y ควบคุมการเจริ ญเติบโตของต่อมและการผลิตฮอร์ โมนเพศชาย
Gonad = รังไข่และลูกอัณฑะ
Sry= ยีนของโครโมโซม Y ทีผลิตGonadของทารกในครรภ์ให้ สมดุลทีจะพัฒนาไปเป็ นลูกอัณฑะ
Organizational effect
       ผลของฮอร์ โมนเกียวกับความแตกต่างและการเจริญเติบโตของเนือเยือ
Activational effect
       ผลของฮอร์ โมนเป็ นส่วนพัฒนาระบบอวัยวะ
Mullerian system
       เป็ น embryonic (อวัยวะแรกเริม)ในภายในอวัยวะเพศของเพศหญิง
Wolffin system
       เป็ น embryonic (อวัยวะแรกเริม)ในภายในอวัยวะเพศของเพศชาย
Anti- Mullerian hormone
        เป็ นรหัสลับของเปปไทด์ทีทําให้ ลกอัณฑะของทารกในครรภ์ยบยังการเจริญเติบโตของระบบ Mullerian จน
                                        ู                    ั
กลายเป็ นอวัยวะภายในของเพศหญิง
Androgen = สเตรอยด์ฮอร์ โมนของเพศชาย Testosteroneคือส่วนสําคัญทีสุดของAndrogenของสัตว์เลียงลูกด้ วย
นม
Masculinizing effect = ผลของฮอร์ โมนพัฒนาเกียวกับกายวิภาควิทยาหรื อพฤติกรรมลักษณะเฉพาะของเพศชาย
Dihydrotestosterone = เป็ นAndrogenทีผลิตจากTestosteroneผ่านเอนไซม์
Androgen insensitivity syndrome = เป็ นสภาวะทีแต่กําเนิดขาดการทํางานของตัวรับAndrogen เกิดในบุคคลที
ประกอบด้ วยโครโมโซมเพศXY ซึงทําให้ เพศหญิงก็มีการเจริญเติบโตลูกอัณฑะแต่ไม่มีอวัยวะเพศภายในเฉยๆ
Persistent Mullerian duct syndrome
      เป็ นสภาวะทีแต่กําเนิดขาด Anti- Mullerian ฮอร์ โมนและตัวรับสําหรับฮอร์ โมนนีในผู้ชาย ทําให้ ในเพศชาย
และหญิงเกิดการเจริญเติบโตของอวัยวะเพศภายใน
Turner’s syndrome
BY: PSYCHE 08   3



         การมีอยูเ่ พียง1โครโมโซมเพศ (Xโครโมโซม) ลักษณะคือรังไข่ไม่สมบูรณ์ แต่อวัยวะเพศหญิงและอวัยวะ
สืบพันธุ์ปกติ คนทีมีอาการเช่นนีต้ องให้ ยาestrogen เพือเพิมการเจริญในวัยหนุมสาวและการเจริญเติบโตทางเพศ แต่
                                                                           ่
พวกเขาไม่สามารถมีลกได้ เพราะพวกเขาไม่มีรังไข่และไม่สามารถผลิตเซลล์ไข่ได้
                        ู
         การเจริญเติบโตทางเพศภายนอกคือ อวัยวะเพศทีสามารถมองเห็นได้ ประกอบด้ วย penis(องคชาต) และ
scrotum(ถุงอัณฑะ)ในเพศชาย และlabia(แคม) clitoris และส่วนนอกสุดของvaginaในเพศหญิง
           ดังนัน อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของบุคคลถูกกําหนดโดยการมีอยูหรื อการไม่มีอยูของ Androgen สิงซึง
                                                                   ่               ่
สามารถอธิบายได้ วาทําไมบุคคลทีมีอาการ Turner’s syndrome มีการเจริญเติบโตอวัยวะเพศหญิงภายนอกทังๆทีรัง
                   ่
ไข่ไม่สมบูรณ์
         บุคคลทีมีอาการAndrogenไม่ตอบสนองมีการเจริญเติบโตของอวัยวะเพศหญิงภายนอกเช่นเดียวกัน
เพราะว่าปราศจากตัวรับAndrogenในเซลล์ของพวกเขา จึงไม่สามารถตอบสนองต่อAndrogen ทีผลิตลูกอัณฑะ
Sexual Maturation
        การเปลียนแปลงลักษณะทางเพศปฐมภูมิ (primary sex characteristics) คือ อวัยวะเพศภายในและการ
เจริญเติบโตทางเพศภายนอก ซึงหมายถึงการเปลียนแปลงของอัณฑะ (testis) และองคชาติ (penis) ในเด็กชาย และ
การเปลียนแปลงของรังไข่ (ovary) มดลูก (uterus) และช่องคลอด (vagina) ในเด็กหญิง โดยสิงเหล่านีมีตงแต่เกิด
                                                                                              ั
      การเปลียนแปลงลักษณะทางเพศทุตยภูมิ (secondary sex characteristics) ซึงเป็ นลักษณะ ทางเพศ
                                         ิ
ประกอบอืน ๆ ได้ แก่ การเปลียนแปลงของเต้ านม รูปร่าง ขนตามรักแร้ หัวเหน่า และการเปลียนแปลงของเสียงในเพศ
ชาย
      Gonadotropin-releasing hormone : ฮอร์ โมนจากHypothalamusทีกระตุ้นPituitaryส่วนหน้ าให้ หลัง
Gonadotropin
Gonadotropic hormone : ฮอร์ โมนทีต่อมพิทอิตารี สวนหน้ าหลังไปกระตุ้นGonad
                                        ู       ่
FSH : ฮอร์ โมนของพิทอิตารี สวนหน้ าให้ เกิดการพัฒาของOvarian Follicle(ไม่ร้ ูวาภาษาไทยคืออะไรอ่ะ) และการ
                     ู      ่                                                 ่
เจริญเติบโตเต็มทีของไข่
LH : ฮอร์ โมนของพิทอิตารี ส่วนหน้ าทําให้ เกิดการตกไข่และพัฒนา Follicleไปเป็ น Corpus luteum
                   ู
Estrogen : ฮอร์ โมนเพศทําให้ เกิดการเจริญเติบโตของอวัยวะเพศหญิง,การเติบโตของเนือเยือหน้ าอก, การพัฒนา
สรี ระและลักษณะนิสยของผู้หญิง
                    ั


Hormonal control of Sexual beh.
      โดยธรรมชาติแล้ ว ทุกeffectมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของคนเรา โดยปกติจะมีผลมากต่อสรี ระและอวัยวะเพศ
ของชายและหญิง แต่ฮอร์ โมนไม่ได้ ให้ เราแค่ร่างกายทีเป็ นหญิงหรื อชาย แต่ยงส่งผลต่อพฤติกรรมโดยมีปฏิกิริยา
                                                                         ั
BY: PSYCHE 08   4



โดยตรงกับระบบประสาท Androgrnทีพบในระหว่างการพัฒนาก่อนจะคลอด(Prenatal Development) ส่งผลต่อการ
พัฒนาระบบประสาท ยิงไปกว่านัน ฮอร์ โมนเพศทังชายและหญิงมีผลกระตุ้นในระบบประสาทตอนทีเราโตแล้ วซึงจะมี
อิทธิพลต่อระบบสรี ระและพฤติกรรม


Hormonal control of Female Reproductive cycles
      Menstrual cycle : วงจรสืบพันธุ์เพศหญิงของPrimateและคน มีลกษณะเป็ นการเติบโตของมดลูก การตกไข่
                                                                   ั
พัฒนาการของ Corpus luteum และ การมีประจําเดือน(ถ้ าท้ องก็จะไม่เกิด)
Estrous cycle : วงจรระบบสืบพันธ์ของสัตว์เลียงลูกด้ วยนมเพศเมีย ทีนอกเหนือจากPrimate(คิดว่ามันคือลิงนะ)
Ovarian follicle : cellผิวรอบๆoocyteทีจะพัฒนาไปเป็ นไข่
Corpus luteum : แอ่งของcell พัฒนาจาก ovarian follicle หลังตกไข่
Progesterone : ผลิตโดยรังไข่ทีทําให้ ผนังมดลูกยังคงอยูในระหว่างMenstrual cycle และระหว่างตังครรภ์
                                                      ่
Hormonal control of Sexual beh. of Lab. Animals
ปฏิสมพันธ์ระหว่างฮอร์ โมนเพศกับสมองมนุษย์ยากทีจะศึกษา เราต้ องศึกษาจากแหล่งข้ อมูล2แหล่ง คือ 1.ทดลองกับ
      ั
สัตว์ 2.ความผิดปกติของพัฒนาการทีหลากหลายในมนุษย์
Males
พฤติกรรมทางเพศของชายมีหลากหลาย
มีลกษณะทีสําคัญ
   ั
intromission(การสอดอวัยวะเพศชายเข้ าไปในช่องคลอดของเพศหญิง), Pelvic thrusing(การเคลือนไหวทีทําให้
อวัยวะเพศเกิดการเสียดสี) และ Ejaculation(การปล่อยนําอสุจ) ทังหมดนีคือลักษณะของสัตว์เลียงลูกด้ วยนมเพศ
                                                        ิ
ชาย
Refractory period : ช่วงหลังการเกิดการกระทําทีเฉพาะ เช่น การหลังนําอสุจิโดยเพศชาย ระหว่างนีจะไม่มี action
เกิดขึน
Coolidge effect : ความกระปรี กระเปร่าในการได้ ร้ ูจกเพศหญิงทีจะเป็ นpartnerคนใหม่ของเพศชาย
                                                   ั
Females
ผู้หญิงเป็ นฝ่ ายทีpassiveในการ
มีเพศสัมพันธ์
Lordosis : การโค้ งงอหลังของเพศหญิงทีตอบสนองการเข้ ามาของเพศชาย(คํานีแปลไม่คอยออก ถ้ าใครแปลเข้ าใจๆ
                                                                            ่
ช่วยหน่อยๆ)
BY: PSYCHE 08    5



Organizational Effect of Androgen on Beh. : Masculinization and Defeminization
สรุปๆเลยนะ ก็คือ ถ้ าสมองสิงมีชีวิตนันๆไม่ตอบสนองต่อ Androgen ในระหว่าช่วงพัฒนา สัตว์จะมีพฤติกรรมทาง
เพศแบบหญิง
ในตอนโต
ถ้ าหนูตวผู้ถกทําหมันตังแต่เกิด โตขึนมาแล้ วฉีด EstraldiolกับProgesterone มันจะทําพฤติกรรมทางเพศเหมือนตัว
        ั ู
เมีย เวลาเจอตัวผู้ตวอืนๆ
                   ั
Effects of Pheromones
Hormones ส่งข้ อความจากส่วนหนึงของร่างกาย (secreting gland ต่อมทีหลังฮอร์ โมน) ไปยังเนือเยือเปาหมาย
                                                                                              ้

แต่สารเคมีอย่าง pheromones นันส่งข้ อความจาก สัตว์ตวหนึงไปยังอีกตัวหนึง
                                                   ั

สารเคมีบางตัวอย่างเช่น hormone มีผลต่อพฤติกรรมการสืบพันธุ์

Pheromone

- เป็ นสารเคมีทีหลังมาจากสัตว์ตวหนึงมีผลต่อพฤติกรรมและร่างกาย physiology ของสัตว์อีกตัว ส่วนใหญ่จะเป็ น
                               ั
กลิน กับ รสชาติ smelled or tasted

Lee-Boot effect

- เป็ นการชะลอรอบหรื อหยุดของ estrous cycles ในกลุมของสัตว์เพศเมียทีอยูด้วยกัน สาเหตุมาจาก pheromone ที
                                                  ่                    ่
อยูใน urine ของสัตว์
   ่

Whitten effect

- เป็ นการทีทําให้ รอบเดือนของกลุมเพศหญิงทีอยูด้วยกันมีประจําเดือนตรงกัน ซึงจะเกิดขึนต่อเมือมี pheromone ใน
                                 ่            ่
urine ของเพศชาย

Vandenbergh effect

- เป็ นช่วงเริมต้ นของการเข้ าสูวยรุ่นของสัตว์เพศเมียทีอยู่กบสัตว์ตวผู้ ซึงจะเกิดขึนต่อเมือมี pheromone ใน urine
                                ่ั                          ั      ั
ของเพศชาย

Bruce effect
BY: PSYCHE 08      6



- การระงับการตังครรภ์ มีสาเหตุมาจาก กลินของ pheromone ใน urine ของเพศผู้ไม่ใช่ในเพศหญิงทีตังครรภ์

Vomeronasal organ

- เป็ นอวัยวะรับความรู้สกทีตรวจจับสารเคมีบางอย่าง โดยเฉพาะเมือสูดดมของเหลวจะเป็ นตัวไปส่งเสริมผลของ
                        ึ
some pheromones อืนๆ

Accessory olfactory bulb

- โครงสร้ างคล้ ายปมประสาท อยู่ที main olfactory bulb รับข้ อมูลมาจาก vomeronasal organ




- เห็นได้ ว่าปรากฎการณ์ในมนุษย์นนมี pheromone มาเกียวด้ วย
                                ั

- McClintock ศึกษารอบเดือนของผู้หญิงทีเข้ าศึกษาในวิทยาลัยหญิงล้ วน พบว่าผู้หญิงทีใช้ เวลาส่วนใหญ่อยู่ด้วยกัน
จะมีรอบเดือนทีตรงกัน รอบเดือนของพวกเธอจะเริมต้ นภายใน1 หรื อ 2 วันต่อจากอีกคน

- ผู้หญิงทีทีใช้ เวลาอยูกบผู้ชายจะมีรอบสันกว่าคนทีไม่เคยเจอผู้ชายเลย
                        ่ ั

- ผู้ชายและผู้หญิงเรี ยนรู้ทีจะดึงดูดซึงกันและกันจากลักษณะกลินของคูของตน เช่นเดียวกับทีดึงดูดกันทางเสียงทีพูด
                                                                   ่
แต่กลินในทีนีเป็ นเพียง sensory cues ไม่ใช่ pheromones

                                  Human Sexual Behavior
- พฤติกรรมทางเพศของมนุษย์เหมือนสัตว์เลียงลูกด้วยนมอืนๆ คือได้ รับอิทธิพลจากการกระตุ้นของ gonadal
hormones

- hormones มีผลต่อพฤติกรรมทางเพศของมนุษย์ ซึงจะส่งผลได้ ตอเมือมีการเปลียนแปลงพัฒนาการของสมอง
                                                         ่

- แม้ จะพบว่าในช่วงตังครรภ์ถ้าสัมผัส androgens จะส่งผลต่อการพัฒนาสมองของมนุษย์ แต่เรายังสรุปไม่ได้ วาการ
                                                                                                    ่
สัมผัสกับสารจะมีผลระยะยาวกับพฤติกรรมรึเปล่า
BY: PSYCHE 08   7



- ในสัตว์เลียงลูกด้ วยนมชันสูงรวมถึงมนุษย์ มีความสามารถทีจะ mate หาคูโดยทีไม่ถกควบคุมจาก ovarian
                                                                     ่        ู
hormones เนืองจากไม่มีขอบเขตกันในการผสมพันธุ์ระหว่างช่วงใดในรอบเดือน ถ้ าเพศเมียยอมหรื อโดนเพศผู้บงคับ
                                                                                                  ั
ก็จะสามารถมีเพศสัมพันธ์เวลาใดก็ได้ จากกราฟคือเพศหญิงกับเพศชายทีเป็ นฝ่ ายเริมการมีเพศสัมพันธ์เทียบกับรอบ
เดือนของเพศหญิง




                                        Sexual Orientation
- homosexuality ไม่ได้ มีสาเหตุมาจากระดับของ sex hormones ในวัยผู้ใหญ่

- จากการศึกษาพบว่าระดับของ sex steroids ในเพศชายทีเป็ น homosexual ส่วนใหญ่พบในระดับเดียวกับ
heterosexuals (รักเพศตรงข้ าม)

- 30% ของหญิงทีรักเพศเดียวกันจะมีระดับ testosterone สูง (แต่น้อยกว่าทีพบในผู้ชาย) ความแตกต่างนีอาจมี
สาเหตุทางชีววิทยาของเพศหญิงทีรักร่วมเพศหรื อวิถีชีวิตทีจะเพิมการหลังฮอร์ โมน ยังไม่ทราบแน่ชด
                                                                                           ั

- สาเหตุทางชีววิทยาของรักร่ วมเพศนัน มาจากความแตกต่างของโครงสร้ างสมองอันเนืองมาจากระดับการสัมผัส

androgens ในช่วงตังครรภ์

- Congenital adrenal hyperplasia (CAH) สภาวะการทีหลัง androgens จํานวนมาก ทําให้ มีลกษณะเฉพาะของ
                                                                                    ั
เพศชายมีอวัยวะสืบพันธุ์อยู่ภายนอก

- เด็กจะแสดงให้ เห็นถึงความแตกต่างทางเพศในพฤติกรรมเช่น การเลือกของเล่น ผู้ชายจะเล่นกับของเล่นทีมีกิจกรรม
โดยเฉพาะทีเคลือนไหวได้ เพศหญิงจะเลือกของเล่นทีสามารถทํามาดูแลได้ และแน่นอนว่าคนดูแลเด็กหรื อเพือนในวัย
เดียวกันจะส่งเสริมให้ เล่น“sex-typical” ของเล่นทีตรงกับเพศ อย่างไรก็ตามปั จจัยทางชีววิทยาเป็ นปั จจัยทาง
BY: PSYCHE 08   8



ธรรมชาติในการเลือก เช่น ทารกทีอายุได้ หนึงวัน ทารกเพศชายชอบมองวัตถุทีเคลือนไหว ทารกเพศหญิงชอบมอง
ใบหน้ าของเพศหญิง เช่นเดียวกับในการศึกศึกของ Alexander and Hines ในลิง young vervet monkeys ทีแสดงให้
เห็นถึง sexually dimorphic preferences in choice of toys ลูกลิงตัวผู้เล่นรถ ลูกลิงตัวเมียเล่นตุ๊กตา




- ไม่มีรายงานของรักร่วมเพศว่าเป็ น XY เพศหญิงทีมี androgen insensitivity syndrome

การขาดตัวรับ androgen แสดงให้ เห็นถึงการปองกันทัง masculinizing(ความเป็ นชาย) and defeminizing(ลดความ
                                         ้
เป็ นหญิง) ในความสนใจทางเพศของบุคคล เป็ นไปได้ วาเด็กทีมี XY กับ androgen insensitivity syndrome จะแสดง
                                                ่
ตนเป็ นเพศหญิง

- สมองมนุษย์เป็ น sexually dimorphic organ (หมายถึงว่าแยกเพศรึเปล่าไม่แน่ใจ) แต่ยงไม่มีการยืนยันทางสรี ระ
                                                                                 ั
วิทยาหรื อจากการศึกษาของ regional cerebral metabolism using PET and functional MRI

เช่น จากการศึกษาของนักประสาทวิทยาพบว่า สมอง 2 ส่วนของผู้หญิง แบ่งปั นหน้ าทีมากกว่าสมองของผู้ชาย

ถ้ าผู้ชายเป็ น stroke แล้ วสมองด้ านซ้ ายถูกทําลาย เขาจะแสดงให้ เห็นถึงความบกพร่องทางภาษามากกว่าผู้หญิงที
สมองส่วนนันโดนทําลาย นักวิจยบางกลุมเชือว่าเป็ นเหตุมาจากการสัมผัสandrogen ในช่วงตังครรภ์และหลังคลอด
                           ั      ่
ช่วงแรกๆ นอกจากนีการเปลียนแปลงของ androgen ในระยะทีเข้ าสูวยหนุมสาว หรื ออาจจะเกิดจากสภาพแวดล้ อม
                                                          ่ั ่
ทางสังคมของเพศ ญ และ ช ทีแตกต่างกัน

- heredity เป็ นปั จจัยหนึงของ sexual orientation จากการศึกษาแฝดเหมือนและคล้ าย พบ 50%
BY: PSYCHE 08       9



Another factor that may play a role in is.

จากการศึกษาของ Bailey and Pillard แฝดชายถ้ าหนึงคนเป็ นรักร่วมเพศเรี ยก discordant (ไม่เห็นพ้ อง) ถ้ าแฝดทัง
สองคนเป็ นเรี ยก concordant for this trait (เห็นพ้ อง) ซึงพบว่าในแฝดเหมือน เป็ น concordance 52% และ 22% ใน
แฝดคล้ าย แสดงให้ เห็นว่าเป็ นผลมาจากพันธุกรรม นอกจากนีพันธุกรรมยังส่งผลในกลุ่มเพศหญิงทีรักร่วมเพศ พบว่า
ในแฝดเหมือน เป็ น concordance 48% และ 16% ในแฝดคล้ าย

Effects of Pheromones

นีแสดงให้ เห็นว่า อย่างน้ อยปรากฎการณ์ทีเกียวกับฟี โรโมนสามารถเกิดขึนในมนุษย์

        McClintock (1971) ศึกษาวงจรการมีประจําเดือนของสตรี ทีอยูวิทยาลัยหญิงล้ วน เธอพบว่าผู้หญิงทีใช้ เวลา
                                                                ่
อยูด้วยกันมากมีแนวโน้ มทีจะมีประจําเดือนระยะใกล้ กน : ห่างกันภายในวันหรื อสองวันของอีกคนหนึง
   ่                                              ั

        นอกจากนีผู้หญิงทีเป็ นประจําใช้ เวลาในการพบเจอผู้ชายทีมีแนวโน้ มทีจะมีรอบเดือนสันกว่าผู้ทีไม่คอยพบ
                                                                                                      ่
ผู้ชาย (กลิน?)

        หรื อไม่ฟีโรโมนมีบทบาทในการดึงดูดทางเพศในมนุษย์กลินทีคุ้นเคยของคูนอนอาจจะมีผลทางบวกต่อการมี
                                                                         ่
เพศสัมพันธ์เร้ าอารมณ์ – เช่นเดียวกับสายตาของคูนอนหรื อเสียงของเขาหรื อเสียงของเธอ
                                               ่

        มีแนวโน้ มว่าผู้ชายและผู้หญิงสามารถเรี ยนรู้ทีจะถูกดึงดูดโดยกลินอันเป็ นเอกลักษณ์ของคู่ ‘เช่นเดียวกับพวก
เขาสามารถเรี ยนรู้ทีจะดึงดูดโดยเสียงของพวกเขา

ในกรณีเช่นนี กลินเป็ นเพียงแค่เป็ นตัวชีนําทางประสาทสัมผัสไม่เป็ นฟี โรโมน



Human Sexual Behavior

        พฤติกรรมทางเพศของมนุษย์เหมือนในสัตว์เลียงลูกด้ วยนมอืน ๆ คือเป็ นผลมาจากการกระตุ้นฮอร์ โมน
อวัยวะสืบพันธุ์และเกือบจะทังหมดเป็ นผลกระทบจากจัดระเบียบ?เช่นกัน

ถ้ าฮอร์ โมนมีผลต่อการจัดระเบียบเกียวกับพฤติกรรมทางเพศของมนุษย์

พวกเขาจะต้ องออกแรงกับผลกระทบเหล่านีโดยการเปลียนแปลงการพัฒนาของสมอง
BY: PSYCHE 08   10



        แม้ วาจะมีหลักฐานทีดีวาการได้ รับandrogensก่อนคลอดส่งผลต่อการพัฒนาของสมองมนุษย์เรายังไม่
             ่                ่
สามารถจะมันใจได้ ว่าการได้ รับสารนีมีผลต่อพฤติกรรมในระยะยาว.

ในสัตว์ทีสูงขึน (รวมถึงมนุษย์เรา), ความสามารถในการจับคูไม่ได้ ถกควบคุมโดยฮอร์ โมนทีเกียวกับรังไข่
                                                       ่       ู

ไม่มีอปสรรคทางกายภาพสําหรับการมีเพศสัมพันธ์ในระหว่างส่วนหนึงของรอบเดือนใด ๆ ถ้ าผู้หญิงหรื อ primateเพศ
      ุ
เมีย อืน ๆยอมมีกิจกรรมทางเพศได้ ตลอดเวลา (หรื อถูกบังคับโดยชาย) สรุปคือ ถ้ า ญ ยอมก็ make love กันได้ เลยจ
ร้ า ผ่าไฟแดงกันโลดดด >///<

Sexual Orientation รสนิยมทางเพศ

        ถ้ ารักร่วมเพศเป็ นสาเหตุทางสรี รวิทยา มันจะไม่มีการรูปแบบระดับของฮอร์ โมนเพศในระหว่างวัยผู้ใหญ่

        งานวิจยหลายแห่งมีการตรวจสอบระดับของสเตียรอยด์ของเพศชายในรักร่วมเพศและส่วนใหญ่พบว่าพวก
              ั
เขามีระดับสเตียรอยด์คล้ ายกับพวกheterosexuals ทัวไป

        บางงานวิจยชีให้ เห็นว่าประมาณ 30 เปอร์ เซ็นต์ของหญิงรักร่วมเพศมีระดับของฮอร์ โมนเพศชาย (แต่ก็ยงตํา
                 ั                                                                                    ั
กว่าทีพบในผู้ชาย)

        ไม่วาความแตกต่างเหล่านีจะเกียวข้ องกับสาเหตุทางชีวภาพของรักร่วมเพศหญิงหรื อไม่วาจะเป็ นความ
            ่                                                                          ่
แตกต่างในการดําเนินชีวิตทีอาจจะเพิมการหลังของฮอร์ โมนเพศชายยังไม่ทราบแน่ชด
                                                                         ั

        สาเหตุทางชีวภาพทีมีโอกาสเป็ นไปได้ ของการรักร่วมเพศคือความแตกต่างทีลึกซึงในโครงสร้ างของสมองที
เกิดจากความแตกต่างในจํานวนของการได้ รับ androgens. ก่อนคลอด

Congenital adrenal hyperplasia (CAH)

        สภาวะโดย การหลังมากเกินไป ของ androgens จาก adrenal cortex หากเกิดในเพศหญิงจะเป็ นสาเหตุ
ของ masculinization คือ การทําให้ มีลกษณะของเพศชายของ ขององคชาตภายนอก สรุป ทีเค้ าคิดนะคือ ถ้ ามี CAH
                                     ั
มากก็จะเป็ นหญิงทีแมนมากแบบห้ าวๆ ถึกๆอ่ะ

        เด็กมักจะแสดงความแตกต่างทางเพศในพฤติกรรมเช่นการชอบเล่นเด็กชายมักชอบของเล่นทีสามารถใช้ งาน
ได้ วองไว โดยเฉพาะของทีสามารถขับเคลือนโดยเด็กเอง หญิงมักชอบของเล่นทีน่าทะนุถนอม แน่นอนมันคือความจริง
     ่
ทีปฏิเสธไม่ได้ วาผู้เลียงดูและเพือนๆจะแนะนําให้ เล่นของเล่นได้ ตรงตามเพศ
                ่
BY: PSYCHE 08    11



       แต่หลักฐานพบว่า ชีววิทยาอาจมีบทบาทสําคัญในการเลือกตามธรรมชาติของตัวเลือกเหล่านี

ตัวอย่างเช่น แม้ แต่เด็กทารกวัย 1 วัน จะชอบดูการเคลือนย้ ายและเด็กหญิงทารกชอบทีจะมองไปทีใบหน้ าหญิง

       Alexander และ Hines (2002) สรุปก็คือ ขนาดลิงก็ยงมีแนวโน้ มเลือกของตรงเพศมันโดย: ผู้ชายเลือกทีจะ
                                                      ั
เล่นกับรถและลูกบอลในขณะทีเพศหญิงต้ องการทีจะเล่นกับตุ๊กตาและหม้ อ

       ไม่มีรายงานของการ bisexuality หรื อรักร่วมเพศ (รสนิยมทางเพศต่อผู้หญิง) ของผู้หญิงทีมีอาการ
androgen insensitivity syndrome

       ดังนันการขาดตัวรับ androgen จะปรากฏขึนเพือปองกันไม่ให้ masculinizing และ defeminizing ของ
                                                  ้
androgens มีผลกับความสนใจทางเพศของบุคคล

       มันเป็ นไปได้ ว่าการเลียงเด็ก XY กับ androgen insensitivity syndrome ทีเป็ นหญิง มีบทบาทในการ
เบียงเบนทางเพศของบุคคลนัน

       สมองของมนุษย์เป็ นอวัยวะที dimorphic ทางเพศ ความจริงเรื องนีมีมานานแล้ ว ก่อนทีได้ รับการยืนยันจาก
งานวิจยทางกายวิภาคและงานวิจยการเผาผลาญอาหารสมองในระดับภูมิภาคโดยใช้ การทํางานของPET และ MRI
      ั                    ั

       ตัวอย่างเช่น นักประสาทวิทยา ค้ นพบว่าทังสองซีกของสมองผู้หญิงจะมีแบ่งหน้ าทีการทํางานมากขึนกว่าที
สมองของผู้ชายทํา

       หากผู้ชายได้ รับ โรคหลอดเลือดสมอง ทีทําความเสียหายแก่ด้านซ้ ายของสมอง เขามีแนวโน้ มทีจะเกิดความ
บกพร่องในภาษามากกว่าผู้หญิงทีเกิดอาการคล้ ายกัน

       นักวิจยส่วนใหญ่เชือว่าdimorphism ทางเพศจากสมองของมนุษย์เป็ นผลมาจากการสัมผัสandrogensที
             ั
แตกต่างกันไป ตลอดก่อนคลอดและในช่วงต้ นชีวิตหลังคลอด

การเปลียนแปลงเพิมเติมทีอาจเกิดขึนในช่วงเวลาของวัยแรกรุ่นเมือเกิดการพรังพรูของandrogens อืนเกิดขึน

dimorphisms ทางเพศในสมองของมนุษย์อาจเป็ นผลจากความแตกต่างในสภาพแวดล้ อมทางสังคมของเพศชายและ
หญิง

       ปั จจัยทีอาจมีบทบาทในการเบียงเบนทางเพศอีกอย่างหนึงคือการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
BY: PSYCHE 08      12



การศึกษาใช้ ประโยชน์จากแฝดตรงทีฝาแฝดเหมือนมียีนทีเหมือนกันในขณะทีความคล้ ายคลึงกันทางพันธุกรรม
ระหว่างพีน้ องฝาแฝดคือโดยเฉลียร้ อยละ 50

        Bailey และ Pillard (1991) ศึกษาคูแฝดเพศชายซึงในอย่างน้ อยหนึงสมาชิกทีระบุวาตัวเองเป็ นรักร่วมเพศถ้ า
                                         ่                                        ่
ฝาแฝดทังสองมีความรักร่วมเพศทีพวกเขาจะถูกเรี ยกว่า เป็ นมีความสัมพันธ์เหมือนกันในลักษณะนีถ้ ามีเพียงหนึงคือ
การรักร่วมเพศฝาแฝดทีมีการกล่าวว่าจะไม่ปรองดองกันดังนันหากคนรักร่วมเพศทีมีพืนฐานทางพันธุกรรม, ร้ อยละ
ของฝาแฝด monozygotic ทีมีความเหมือนสําหรับรักร่วมเพศควรจะสูงกว่าทีสําหรับฝาแฝด dizygotic ตรงนีคือสิง
Bailey และ Pillard พบ : อัตราการสอดคล้ องเป็ นร้ อยละ 52 สําหรับฝาแฝดทีเหมือนกันและเพียง 22 เปอร์ เซ็นต์
สําหรับพีน้ องฝาแฝดซึงเป็ นความแตกต่างของร้ อยละ 30

        การศึกษาอืน ๆ ได้ แสดงให้ เห็นความแตกต่างได้ ถึง 60 เปอร์ เซ็นต์ปัจจัยทางพันธุกรรมยังมีผลกระทบต่อหญิง
รักร่วมเพศด้ วย ตรวจสอบพบว่ามีอตราความสอดคล้ องของฝาแฝด monozygotic หญิงรักร่วมเพศคือร้ อยละ 48
                               ั
ในขณะทีคูแฝด dizygotic คือ 16 เปอร์ เซ็นต์
         ่

        เพศชาย

        การแข็งตัวของอวัยวะเพศชายและการปล่อยนําอสุจิ ถูกควบคุมโดยวงจรประสาทจากไขสันหลัง อย่างไรก็
ตาม กลไกของสมองจะทําหน้ าทีกระตุ้นและยับยังวงจรนี

        MPA เป็ นพืนทีของตัวเซลล์ทีอยู่ด้านหน้ าของไฮโปทาลามัส มีบทบาทสําคัญในพฤิกรรมทางเพศของเพศ
ชาย

        SDN =เป็ นนิวเคียส ใน preoptic area ใน เพศ ญ จะใหญ่กว่าของเพศ ชาย มีบทบาทในพฤติกรรมเพศชาย
PAG

        พืนทีของสมองส่วนกลางทีล้ อมรอบด้ วยนําในสมองมีบทบาทสําคัญในพฤติกรรมทัวไปของspeciesต่างๆ
รวมถึงพฤติกรรมทางเพศหญิง


nPGi

        นิวเคลียสของ medulla ทีได้ รับการปอนข้ อมูลจาก ตรงกลางของpreoptic area และมีเซลล์ประสาทaxons
                                          ้
synapses กับเซลล์ motor neuronในไขสันหลังทีมีสวนร่วมในการตอบสนองทางเพศในผู้ชาย
                                              ่
BY: PSYCHE 08    13



         ในเพศหญิง เช่นเดียวกับ MPA ทีมีบทบาทสําคัญในการทํางานเพศชายในส่วนของ ด้ านล่างforebrain อีก
บทบาททีคล้ ายกันในพฤติกรรมทางเพศหญิง คือ นิวเคลียส ventromedial ของhypothalamus (VMH)

         VMH

        นิวเคลียสขนาดใหญ่ของ hypothalamus ตังอยูใกล้ กบผนังของ third ventricle (อวัยวะกลวงๆสามอัน ?) มี
                                                ่ ั
บทบาทสําคัญในพฤติกรรมทางเพศหญิง

         Formation of Pair Bonds

        ประมาณร้ อยละ 5 ของสายพันธุ์ของสัตว์เลียงลูกด้ วยนม, คูกบเพศตรงข้ าม จะคบกับคูสมรสในระยะยาว
                                                               ่ั                     ่
พันธะดังกล่าวสามารถเกิดขึนระหว่างสมาชิกของคูร่วมเพศเช่นกัน
                                            ่

         นักธรรมชาติวิทยาและนักมานุษยวิทยาได้ ชีให้ เห็นว่า คูสมรสจะไม่ Exclusive เสมอไป: ในหลายชนิดของ
                                                              ่
สัตว์ รวมถึงมนุษย์ แต่ละคนก็ไม่ได้ ซือสัตย์ตอคูรักของตน
                                            ่ ่

         นอกจากนีบางคูสมรส - ในความสัมพันธ์ทีแนบแน่นจะใช้ เวลาอยูระยะหนึงเท่านันและจะถูกแทนทีด้ วย
                      ่                                          ่
ความสัมพันธ์ในทํานองเดียวกันนีกับคนรักใหม่

         ไม่ต้องสงสัยเลยว่าพันธะของทังคูจะเกิดขึนในสัตว์บางชนิดและคนก็ด้วย
                                        ่

         งานวิจยหลายแห่งได้ เผย ความสัมพันธ์ระหว่างคูสมรสและระดับของเปปไทด์ทงสองในสมอง :
               ั                                     ่                      ั
vasopressin and oxytocin.

        สารประกอบเหล่านีมีทงออกมาเป็ นฮอร์ โมนโดยต่อมใต้ สมองด้ านหลังและเป็ นสารสือประสาทโดยเซลล์
                           ั
ประสาทในสมองในชาย,

         vasopressin มีบทบาทสําคัญมากขึน

         นักวิจยหลายคนเชือว่า oxytocin และ vasopressin อาจมีบทบาทในการก่อตัวของพันธะในมนุษย์
               ั
ตัวอย่างเช่นหลังจากมีเพศสัมพันธ์ ในขณะนันระดับเลือดของ oxytocin จะเพิมขึน มีคนรายงานว่าเขารู้สกสงบและ
                                                                                              ึ
รู้สกดี ซึงเป็ นการก่อตัวของพันธะของทังคู่
    ึ

Parental Behavior (พฤติกรรมการเป็ นพ่อแม่?!?)
BY: PSYCHE 08   14



- สัตว์ทีเลียงลูกด้ วยนม พฤติกรรมการสืบพันธุ์นนจะเกิดขึนหลังจากทีให้ กําเนิดทายาทเช่นเดียวกับเวลาทีตังครรภ์
                                              ั

- section นีจะกล่าวถึงบทบาทของฮอร์ โมนในการก่อให้ เกิดและคงอยูของ maternal behavior (พฤติกรรมความเป็ น
                                                              ่
แม่?!) และหน้ าทีของวงจรประสาททีรับผิดชอบต่อการแสดงออก

- งานวิจยส่วนใหญ่พบว่า maternal behavior มีความเกียวข้ องกับระบบประสาทและต่อมไร้ ท่อของสัตว์เลียงลูกด้ วย
        ั
นม

- แม้ วางานวิจยทางสรี ระวิทยาของพฤติกรรมการเป็ นพ่อแม่จะสนใจ maternal behavior แต่นกวิจยบางคนพฤติกรรม
       ่      ั                                                                    ั ั
ของเพศผู้

- ใน species ของเรานันการเลียงดูบตรถือว่าสําคัญมาก แต่ยงไม่มีการศึกษาเชิงphysiology
                                 ุ                     ั

Maternal Behavior of Rodents

        - จากการศึกษายีนของสัตว์จากจํานวนทายาททีมีชีวิตรอดไปจนถึงวัยเจริญพันธุ์

        - ในขบวนการคัดสรรตามธรรมชาติเช่นเดียวกับทีช่วยในความสามารถในการเจริญพันธุ์ ก็ชวยให้ สตว์นนมี
                                                                                      ่      ั ั
เวลาดูแลลูกของมันได้ อย่างเพียงพอกับทีลูกมันต้ องการให้ ดแล เช่น ลูกหนูไม่สามารถอยูรอดได้ ถ้าไม่มีแม่คอย
                                                         ู                         ่
ตอบสนองความต้ องการของมัน

        Parturition การให้ กําเนิด

        Hormonal Control of Maternal Behavior

                ในตอนแรกไม่พบความเกียวข้ องถ้ าฮอร์ โมนเนืองจากเพศผู้ก็ดแลลูกเช่นกัน
                                                                        ู

                แม้ พฤติกรรมการเป็ นแม่จะเป็ นผลของฮอร์ โมนแต่พฤติกรรมนีไม่ถกควบคุมโดยฮอร์ โมน
                                                                            ู

                หนูตวเมียทียังบริสทธ์(Virgin) จะเริมดูแลลูกหนูหลังจากมีทารกหนูมาอยู่ด้วยหลายวัน
                    ั             ุ

        จากรูปนีคือระดับฮอร์ โมนในเลือด
BY: PSYCHE 08     15




         Neural Control of Maternal Behavior วงจรประสาททีควบคุม

                - บริเวณ medial preoptic area ทีอยูใน forebrain มีหน้ าทีสําคัญในพฤติกรรมทางเพศของเพศชาย
                                                   ่
เช่นกับกับควบคุม maternal behavior นักวิจยพบว่าถ้ าสมองส่วนนีถูกทําลายจะไม่มีการสร้ างรังและการดูแลลูก
                                         ั

แม่จะทอดทิงลูกของมัน อย่างไรก็ตามพฤติกรรมทางเพศของเพศหญิงไม่ได้ รับผลกระทบจากการทีสมองส่วนนีถูก
ทําลาย

                - ทารกทีพึงเกิดใหม่ในสัตว์เลียงลูกด้ วยนมจะถูกดูแลโดยแม่ของมัน แม่จะเป็ นผู้ทีคอยให้ อาหาร
อย่างไรก็ตามเพศผู้ในบาง specie ก็รับหน้ าทีดูแลลูกร่วมกับแม่ สมองของเพศผู้ทีทําหน้ าทีดูแลลูกด้ วยนันจะเห็นถึง
ความแตกต่างกับ nonpaternal fathers (พวกทีไม่ดแลลูก) ใน species อืน
                                             ู

บทที 10 อารมณ์
อารมณ์ประกอบด้ วยรูปแบบการตอบสนองทางสรี รและเป็ นพฤติกรรมทีเป็ นแบบฉบับของสปี ชีส์

การตอบสนองเหล่านีในมนุษย์มาพร้ อมกับความรู้สก จริ งๆแล้ วอารมณ์อ้างถึงความรู้สกนะ ไม่ใช่พฤติกรรม
                                            ึ                                 ึ
BY: PSYCHE 08   16



แต่มนเป็ นพฤติกรรม และก็ไม่ใช่ประสบการณ์สวนตัวด้ วย มันมีผลต่อการอยูรอดและการสืบพันธุ์
    ั                                    ่                          ่

ดังนันประโยชน์ก็คือ พฤติกรรมทางอารมณ์ จะเป็ นตัวชีนําวิวฒนาการสมองของเรา
                                                        ั

อารมณ์ เป็ นรูปแบบของการตอบสนอง

การตอบสนองทางอารมณ์ประกอบด้ วย 3 อย่าง : พฤติกรรม, automatic และฮอร์ โมน

ส่วนประกอบของพฤติกรรมเป็ นการเคลือนไหวของกล้ ามเนือทีเหมาะกับสถานการณ์จริง

การตอบสนองแบบอัตโนมัติมนจะรวดเร็วเป็ นแหล่งพลังงานสําหรับกล้ ามเนือแข็งขัน มันเอือกับการเคลือนไหวอย่าง
                       ั
รวดเร็ว

การตอบสนองของฮอร์ โมนเป็ นการเสริมการตอบสนองแบบอัตโนมัติ

ความกลัว

Amygdala เป็ นส่วนทีควบคุมความกลัว มีบทบาทสําคัญในด้ านสรี รและการเกิดพฤติกรรม รวมถึงเป็ นการเตือนถึง
ความเจ็บปวดหรื อสิงทีไม่นาพึงพอใจอืนๆ
                         ่

นักวิจยแลบต่างๆกันพบว่าเซลล์ประสาทแบบเดียวในหลายๆนิวเคลียสใน amygdale จะ active เมือมีการเสนอสิงเร้ า
      ั
ทีกระตุ้นทางอารมณ์

Amygdale (หรื อแบบเจาะจง amygdaloid complex) เป็ นส่วนทีอยู่บริเวณ temperal lobes ประกอบไปด้ วยกลุมนิ
                                                                                                  ่
วคลีไอทีหลากหลาย ทําหน้ าทีแตกต่างกันไป

Amygdale แบ่งเป็ น 12 บริเวณ แล้ วแต่ละทีนันก็แบ่งย่อยไปอีก

อย่างไรก็ตามเราจะดูเพียง 3 ส่วนใหญ่ นันคือ

          1. lateral nucleus
          2. basal nucleus
          3. central nucleus

          lateral nucleus (LA)
BY: PSYCHE 08   17



        นิวเคลียสของ amygdala รับข้ อมูลมาจาก neocortex ทาลามัส และฮิปโปแคมปั ส แล้ วส่งไปที basal ไปที
accessory basal และ central nucleus ของ amygdale

        Central nucleus (CE)

        บริเวณนีจะรับข้ อมูลจาก basal, lateral และ accessory basal neclei และส่งไปยังพืนทีต่างๆในสมองที
เกียวข้ องกับการตอบสนองทางอารมณ์

        Central nucleus ใน amygdale เป็ นส่วนสําคัญมากทีสุดในสมองในการทดลองการตอบสนองอารมณ์ทีถูก
กระตุ้นโดย aversive stimuli เมือได้ รับสิงเร้ าทีอันตราย จะทําให้ central nucleus ผลิตโปรตีน Fos เพิม

        หากไปทําลาย central nucleus อะ (นิวเคลียสทีเป็ นข้ อมูลประสาทสัมผัส) มันจะลดพฤติกรรมทางอารมณ์
ต่างๆและลดการตอบสนองทางร่างกาย หาก central nucleus ถูกทําลายแล้ วสัตว์จะไม่แสดงอาการกลัวเมือต้ อง
เผชิญกับสิงเร้ าในเหตุการณ์ทีไม่พงปรารถนา
                                 ึ




        รูปที 10.1 แสดงการเชือมต่อในอะมิกดาลา ทีมีบทบาทเกียวข้ องกับอารมณ์

เงือนไขการตอบสนองทางอารมณ์ Conditioned emotional response
BY: PSYCHE 08   18



        การตอบสนองการวางเงือนไขแบบคลาสสิกเกิดเมือถูกกระตุ้นด้ วย aversive stimulus สิงเร้ าทีไม่พง
                                                                                                 ึ
ปรารถนา : เกิดพฤติกรรมอัตโนมัตมีการเปลียนอัตราการเต้ นของหัวใจ, ก้ าวขาไม่ออก ตัวแข็ง (freezing) และหลัง
                              ิ
ฮอร์ โมนทีเกียวกับความเครี ยด

        นักวิจยชีแจงให้ เห็นว่าการเปลียนแปลงการตอบสนองทางกายภาพของการวางเงือนไขแบบคลาสสิกเกิดใน
              ั
lateral nucleus ทีอยูใน amygdala
                     ่




        รูปที 10.2 การเชือมต่อ amygdala : แผนภาพนีแสดงบริ เวณสําคัญของสมองทีได้ รับข้ อมูลจาก central nucleus ใน
amygdala และ การตอบสนองทางอารมณ์ทีถูกควบคุมโดยบริเวณเหล่านี
BY: PSYCHE 08   19



เซลล์ประสาทใน lateral nucleus ติดต่อกับเซลล์ประสาทใน central nucleus ซึงสือสารกับบริเวณไฮโปทาลามัส
midbrain pons และ เมดัลลา ทีมีสวนรับผิดชอบต่อพฤติกรรม แบบอัตโนมัติ และฮอร์ โมน ทีเป็ นส่วนประกอบการ
                               ่
ตอบสนองทางอารมณ์




รูปที 10.3 เงือนไขการตแบสนองทางอารมณ์ ไดอาแกรมแสดงขันตอนการเกิดเงือนไขการตอบสนองทางอารมณ์

อธิบายรูป : ได้ ยินเสียง 10 วินาที จากนันส่งกระแสไฟฟ้ าช็อกทีเท้ า หลังจากนันได้ ยอนเสียงอย่างเดียวหนูก็กลัวแล้ ว

Ventromedial prefrontal cortex

         บริเวณ prefrontal cortex เป็ นพืนฐานของ anterior frontal lobes ทีติดกับ midline : มีบทบาทยับยังการ
แสดงอารมณ์

         หลักฐานทีบ่งชีว่า amygdala มีสวนในการตอบสนองทางอารมณ์ของมนุษย์
                                       ่

         สังเกตปฏิกิริยาของคนทีผ่าตัดสมองเพือรักษาอาการลมชักแบบรุนแรง อาการชักหาย แต่คนไข้ ไม่สนองตอบ
อารมณ์

         การศึกษานีพบว่าการกระตุ้นบางส่วนของสมอง เช่น ไฮโปทาลามัส จะเกิดการตอบสนองอัตโนมัตทีเชือมโยง
                                                                                          ิ
ในเรื องความกลัวและความวิตกกังวล แต่เมือ amygdala ถูกกระตุ้น คนทีผ่าตัดสมองเพือรักษาอาการลมชักจะขาด
การรายงานความกลัว

         การศึกษาหลายๆอย่างแสดงให้ เห็นว่าบาดแผลที amygdala จะลดอาการตอบสนองอารมณ์

         ความกลัวอาจเกิดจากการเรี ยนรู้ทางสังคม
BY: PSYCHE 08   20



             การศึกษาในสัตว์แสดงให้ เห็นว่า medial prefrontal cortex มีบทบาทสําคัญในการยับยังการตอบสนองทาง
อารมณ์ซงก็เช่นเดียวกับมนุษย์
       ึ




                     กระตุ้น amygdala ให้ มการตอบสนอง
                                           ี                          กระตุ้น medial prefrontal cortex

รูปที 10.4 Control Extinction : กราฟแสดงการทํางานของ amygdala เกียวข้ องกับการแสดงออกทางอารมณ์และ medial prefrontal
cortex เกียวข้ องกับกายับยังการตอบสนอง

ความโกรธ ความก้ าวร้ าว และ impulse control
             สัตว์เกือบทุกชนิดมีพฤติกรรมก้ าวร้ าว แสดงท่าทางข่มขู่ โจมตีสตว์อืนๆ
                                                                          ั

             พฤติกรรมทีก้ าวร้ าวเป็ นสายพันธุ์ปกติ คือ เป็ นรูปแบบการเคลือนไหว (เช่น แสดงท่าทาง กัด เสียงข่มขู) มัน
                                                                                                               ่
อยูในวงจรประสาทพัฒนามาจากยีน มียีนตอบสนองความก้ าร้ าว
   ่

             การควบคุมพฤติกรรมก้ าวร้ าวเป็ นลําดับขัน

             สัตว์จะโจมตีเพือปองกันตัวเอง จะถูกวางโปรแกรมโดยเซลประสาทใน brain stem
                              ้

             การโจมตีของสัตว์มาจากหลายๆปั จจัย การกระตุ้นทางสิงแวดล้ อมและประสบการณ์ตางๆ
                                                                                     ่

             มีหลักฐานมากมายทีแสดงว่าเซลล์ประสาททีหลังสารซีโรโตนินจะยับยังความก้ าวร้ าว ซีรีโตนินน้ อยๆจะทําให้
ก้ าวร้ าว
BY: PSYCHE 08   21




รูปที 10.5 ศึกษาซีโรโตนินและพฤติกรรมเสียง

หลังน้ อยตายง่าย ซีโรโตนินน้ อย มักเสียงก้ าวร้ าว สารซีโรโตนินมีสงจะอยารอดเยอะ เพราะไม่ชอบทําอะไรเสียงๆ
                                                                  ู

         การศึกษาพันธุกรรมกับสปี ชีส์อืนๆยืนยันให้ ผลสรุปว่า ซีโรโตนิน มีบทบาทในการยับยังความก้ าวร้ าว

         มนุษย์กบความก้ าวร้ าวเป็ นปั ญหาซีเรี ยสมากในสังคม
                ั

         จากการศึกษาทีว่าซีโรโตนินมีบทบาทยับยังความก้ าวร้ าว เช่น สารตังต้ นทีสร้ างซีโรโตนินตํา มีผลเชือมโยงกับ
ความก้ าวร้ าว และพฤติกรรมต่อต้ านสังคม รวมถึงการทําร้ ายร่างกาย การลอบวางเพลิง ฆาตรกรรมและการตีเด็ก

         ถ้ าปล่อยซีโรโตนินในระดับตําจะไปสนับสนุนความก้ าวร้ าว ยาอาจช่วยลดพฤติกรรมต่อต้ านสังคม

         การศึกษาหนึงรายงานว่า fluoxetine (prozac) เป็ นยา ทีจะช่วยลดความหงุดหงิดความก้ าวร้ าว วัดโดย
แบบทดสอบทางจิตวิทยา

         ศึกษาฟั งก์ชนรูปภาพพบความเชือมโยงของยีนทีผลิตซีโรโรนินและปฏิกิริยาสนองกลับของ amygdala ของ
                     ั
คนทีแสดงอารมณ์ทางลบออกมา
BY: PSYCHE 08      22




รูปที 10.6 Serotonin Transporter Gene and Amygdala Reactivity แสดงว่า amygdala ของแต่ละคนมีการตอบสนองต่อสิงเร้ า
ต่างกัน

          มีวิจยหลายคนเชือว่า การกระตุ้นความรุนแรงเป็ นผลของความผิดปกติในการควบคุมอารมณ์ แต่เราสามารถ
               ั
ทําให้ มนสงบและระงับมันได้
        ั

          vmPFC (ventro medial prefrontal cortex) รับ direct inputs จาก dorsomedial thalamus, temporal
cortex, ventral tegmental area, olfactory system และ amygdala ส่งออกไปยังสมองส่วนต่างๆ รวมถึง
cingulated cortex ไฮโปทาลามัส และ amygdala สุดท้ ายสือสารกับบริเวณอืนๆใน frontal cortex

          ส่วนของสมองต่างๆทําหน้ าทีร่วมกัน สือข้ อมูลให้ เขารู้วาเกิดอะไรขึนในสิงแวดล้ อม ทําให้ เขารู้ว่าจะทําอะไร
                                                                 ่
ต่อไป การตอบสนองทางอารมณ์ amygdala จะมีสวนเกียวข้ อง
                                        ่
BY: PSYCHE 08      23




        รูปที 10.7 แสดงส่วนของสมอง vmPFC

        การทําลาย vmPFC เป็ นสาเหตุของการสูญเสียการควบคุมพฤติกรรมและการตัดสินใจ

        การสูญเสียนีปรากฏโดยเป็ นผลจากไม่สามารถควบคุมอารมณ์ได้




รูปที 10.8 Phineas Gage’s Accident ถูกเหล็กแหลมแทงทะลุดงภาพ หลังจากรักษา จากเป็ นคนเคยสุภาพ กลายเป็ นคนก้ าวร้ าว มี
                                                       ั
ปั ญหาเกียวกับ moral decisions
BY: PSYCHE 08      24




รูปที 10.9 Moral Decisions and the vmPFC

Communication of Emotions การสือสารของอารมณ์

        สัตว์หลายสปี ชีส์ (รวมทังตัวเราเอง) สือสารอารมณ์ไปยังผู้อืนโดยการแสดงออกทางสีหน้ า เสียงทีไม่มีคําพูด
(สัญลักษณ์ คราง คําราม)

        การแสดงออกทางอารมณ์แบบนีเป็ นประโยชน์ จะได้ บอกผู้อืนไปว่ารู้สกอย่างไร เขาอยากจะทําอะไร
                                                                      ึ




Facial Expression of Emotions: Innate Responses
BY: PSYCHE 08        25



         Charles Darwin (1872/1965) บอกว่า การแสดงอารมณ์ของมนุษย์คล้ ายกับในสัตว์อืนๆ

         เขาบอกว่าการแสดงอารมณ์มีมาตังแต่เกิด เป็ นการตอบสนองทีไม่ต้องเรี ยนรู้ ประกอบการเคลือนไหวที
ซับซ้ อนบนกล้ ามเนือใบหน้ า

         Dawin ได้ สรุปว่าการแสดงออกทางอารมณ์มีลกษณะเดียวกันในต่างวัฒนธรรมรอบโลก
                                                ั

         เขาให้ เหตุผลว่า คนทัวโลกแสดงอารมณ์เช่นเดียวกันมาจากพันธุกรรมมากกว่าการเรี ยนรู้

         งานวิจยทีทําขึนโดย Ekman และเพือนร่วมงาน (Ekman and Friesen, 1971; Ekman, 1980)มีแนวโน้ ม
               ั
สนับสนุนสมมติฐานของ Dawin เกียวกับการแสดงอารมณ์เฉพาะตามสปี ชีส์ตางๆ
                                                                ่




รูปที 10.10 Facial Expressions in a New Guinea Tribesman The tribesman made faces when told stories: (a) “Your friend
has come and you are happy.” (b) “Your child had died.” (c) “You are angry and about to fight.” (d) “You see a dead pig
that has been lying there a long time.”

ไม่วาอารมณ์ไหน เวลาดีใจก็แสดงออกมาเหมือนกัน
    ่

Neural Basis of the Communication of Emotions: Recognition

         การสือสารทีมีประสิทธิภาพมี 2 กระบวณการ

         การจําหน้ าตาคนแสดงอารมณ์เป็ นแบบอัตโนมัติ รวดเร็ ว และแม่นยํา

         คนสามารถแสดงอารมณ์ผานสีหน้ าได้
                            ่

         พวกเราเก็บความรู้สกคนโดยการดูและฟั ง ดูก็คือดูการแสดงออกทางสีหน้ า ฟั งคือได้ ยินเสียงและคํา
                           ึ

         ศึกษาหลายอย่างพบว่า right hemisphere มีบทบาทสําคัญกว่า left hemisphere ในเรื องการเข้ าใจในเรื อง
อารมณ์
BY: PSYCHE 08      26




                                                                                                               รูปที
10.11 Perception of Emotions. The PET scans indicate brain regions activated by listening to emotions expressed by
tone of voice (green) or by meanings of words (red).

        เราได้ เห็นมาแล้ วว่า amygdala มีบทบาทสําคัญในการตอบสนองทางอารมณ์ มันมีบทบาทสําคัญในการจํา
อารมณ์ทีดี เช่น จากการศึกษาทีพบบาดแผลใน amygdala (ผลจากการรักษาลมชัก) จะทําให้ คนสูญเสีย
ความสามารถในการเก็บจําอารมณ์ทางใบหน้ า โดยเฉพาะอารมณ์ทีแสดงความกลัว

        Amygdala มีบทบาทสําคัญในการสังเกตอารมณ์ ในการเก็บจําการแสดงออกทางสีหน้ าในเรื องความกลัว

        Adolphs et al. (2000) ค้ นพบสิงทีเป็ นไปได้ ระหว่าง somatosensation และ การจําอารมณ์

        ตําแหน่งของแผลสมองในคนไข้ 108 คน ทีสมองถูกทําลาย มีความสัมพันธ์กบความสามารถในการเก็บจํา
                                                                        ั
และแยกแยะอารมณ์สีหน้ าของคนไข้

        เขาพบว่ามันทําลายความสามารถนี เพราะสมองส่วน somatosensory cortex ใน right hemisphere ถูก
ทําลาย ทําให้ คนไข้ ไม่สามารถรับรู้อารมณ์ความรู้สกของผู้อืน สรุปว่าสมองซีกขวาเป็ นส่วนทีรับรู้อารมณ์ความรู้สก
                                                 ึ                                                          ึ
ของผู้อืน

Neural Basis of the Communication of Emotions: Expression

        การแสดงออกทางสีหน้ าเป็ นพฤติกรรมทีอัตโนมัตและควบคุมไม่ได้ แสดงออกตาม norm ของสังคม
                                                   ิ

        มันไม่ง่ายทีจะแสดงออกทางสีหน้ าให้ เหมือนจริง ประมาณแสร้ งว่าเราดีใจ เมือเราไม่ได้ ร้ ูสกอย่างนันจริงๆ
                                                                                                ึ

        สีหน้ าแสดงอารมณ์เป็ นการแสดงออกอย่างหนึงทีเป็ นไปตามธรรมชาติ
BY: PSYCHE 08        27




รูปที 10.13 An Artificial Smile ประมาณว่าใส่ electrode ให้ subject ยิม เพิมการหดตัวของกล้ ามเนือบริ เวณปาก ใส่ electrode ไป
กระตุ้นกล้ ามเนือบริ เวณหน้ าให้ ยม เขาจะยิมจริ งๆกล้ ามเนือบริ เวณหน้ าต้ องยิมด้ วย
                                  ิ

Volitional facial paresis

         เป็ นการยากทีจะเคลือนไหวกล้ ามเนือบนใบหน้ า เป็ นเพราะว่าทําลายสมองบริเวณ primary motor cortex
หรื อบริเวณรอบๆ

         มี lesion ทีสมองซีกขวา โชว์ฟันไม่ได้ แต่ยมได้ (โชว์ฟันได้ แต่ด้านขวา)
                                                  ิ

Emotional facial paresis

         ขาดการเคลือนไหวบนกล้ ามเนือใบหน้ าในการตอบสนอง เพราะว่า ถูกทําลายใน insular prefrontal cortex,
subcortical white matter of the frontal lobe หรื อบางส่วนของทาลามัส

Feelings of Emotions

         พวกเราพิจารณาสองเกณฑ์เกียวกับอารมณ์ : การจัดการรูปแบบของการตอบสนองในสถานการณ์ทีกระตุ้น
ทางอารมณ์ สือสารภาวะทางอารมณ์กบสมาชิกอืนในสปี ชีส์
                              ั

         เกณฑ์สดท้ ายของอารมณ์ คือพิจารณาใน subjective component ในเรื อง ความรู้สกของอารมณ์
               ุ                                                                  ึ
BY: PSYCHE 08   28



The James-Lange Theory

        William James (1842–1910) นักจิตวิทยาชาวอเมริกน และ Carl Lange (1834–1900) นักจิตวิทยาชาว
                                                      ั
เดนมาร์ ก ได้ อธิบายว่าอารมณ์เรามีสวนเหมือนหัน คล้ ายคลึงกัน
                                   ่

        พฤติกรรมและการตอบสนองทางสรี รวิทยามาจากสถานการณ์ทีมากระตุ้นโดยตรง และมี feedback กลับมา

        สมองรับความรู้สกตอบกลับมาจากกล้ ามเนือจากอวัยวะทีผลิตการตอบสนองนี และมันเป็ น feedback ก่อน
                       ึ
แล้ วค่อยรู้สกออกมา
             ึ

        James บอกว่า อารมณ์ความรู้สกเป็ นพืนฐานทีเราจะได้ รับมันด้ วยตนเอง และใน sensory feedback เรา
                                   ึ
รับมาจาก activity ของกล้ ามเนือและอวัยวะภายใน

        ดังนัน เมือเราตัวสัน และรู้สึกขีขลาด แสดงว่าเรากลัว (ประสบความกลัว) เราจะรู้สกหลังจากมีอาการทาง
                                                                                     ึ
สรี ระเกิดขึนแล้ ว มีพฤติกรรม (ตัวสัน) เราถึงรู้วาเรากลัว
                                                 ่

        ความรู้สกทางอามรมณ์เราสังเกตได้ ด้วยตนเอง self-observers
                ึ
BY: PSYCHE 08   29



รูปที 10.16 The James-Lange Theory of Emotion. This schematic diagram indicates that an event in the environment
triggers behavioral, autonomic, and endocrine responses. Feedback from these responses produces feelings of
emotions.

Feedback from Simulated Emotions

         James เน้ นความสําคัญของสองเกณฑ์ ของการตอบสนองทางอารมณ์

         ทีเห็นกันก่อนหน้ าบทนี กล้ ามเนือเฉพาะบนใบหน้ าช่วยในการสือสารอารมณ์ไปยังบุคคลอืนๆ

         การทดลองต่างๆบอกว่า feedback ของกล้ ามเนือหน้ าสามารถส่งผลต่ออารมณ์คนและหลังจากการทํา
กิจกรรม autonomic nervous system

         ศึกษารูปภาพโดย Damasio et al. (2000) ถามคนไข้ ให้ ลองระลึกถึงประสบการณ์ก่อนๆในชีวิตทีก่อให้ เกิด
อารมณ์เศร้ า มีความสุข โกรธ และกลัว

         ผู้ทดลองพบว่าการระลึกโดยกระตุ้นอารมณ์เหล่านีต่อ the subject’s somatosensory cortex and upper
brain stem nuclei นําไปสูการควบคุมของอวัยวะภายในและตรวจความรู้สกจากพวกเขา
                         ่                                     ึ

         การตอบสนองนีเข้ ากันกับทฤษฎีของ James




รูปที 10.17 Imitation in an Infant ทารกเลียนแบบสีหน้ าคนเลียง
BY: PSYCHE 08       30



บทที 11 ระบบการย่ อย
        เซลล์ตางๆทีประกอบเป็ นร่างกายเราขึนมาล้ วนค่อยๆพัฒนาขึนมา เริมตังแต่ตอนยังเป็ นเพียงสิงมีชีวิตเล็กใน
              ่
ท้ องสมุทร โดยในช่วงวิวฒนาการนัน เซลล์จะนําสารอาหารและออกซิเจนเข้ าสู้เซลล์ผ่านทางนําทีล้ อมรอบเซลล์และ
                       ั
กําจัดของเสียทีเป็ นอันตรายออกทางนันเช่นเดียวกัน

       เพือทีจะอธิบายถึงลักษณะของระบบการย่อยอาหาร ระบบการหายใจ และระบบต่อมไร้ ทอ เราจําเป็ นต้ อง
                                                                               ่
อธิบายถึงพฤติกรรมการหาอาหารและนําก่อน

Homeostasis = คือกระบวนการของร่างกายในการคงไว้ ซงระดับทีเหมาะสม เช่น อุณหมภูมิ
                                                ึ
ระดับของนําตาลในเลือด

Ingestive behavior = การกินและการดืม

Physiological Regulatory Mechanisms = กลไลในการควบคุมทีคงไว้ ซงระดับทีเหมาะสมของอวัยวะภายใน
                                                              ึ
ร่างกาย เช่นการคงไว้ ถึงระดับอุณหภูมิในร่างกาย แม้ วาสภาพแวดล้ อมจะมีอณหภูมิเปลียนแปลงไป
                                                    ่                 ุ

System variable = ตัวแปรทีถูกควบคุมโดยกลไกต่างๆเช่น ระบบการควบคุมความร้ อนในร่างกาย

Set point = ค่าทีเหมาะสมของกลไกในการควบคุม

Detector = กระบวนการควบคุม โดยกลไกจะส่งสัญญาณหากระดับต่างๆเริมเปลียนแปลงไปจาก Set point

Correctional mechanism = กลไกทีควบคุมโดยจะสามารถเปลียนค่าของระบบได้

Negative feedback = หน้ าทีหนึงของกลไกในการควบคุม ทีผลถูกสร้ างเพือลด
หรื อคงไว้ ของระดับต่างๆในร่างกายทีเหมาะสม

Satiety mechanism = กลไกการควบคุมของสมองทีหยุดความหิวหรื อความกระหาย
ทีเกิดจากการได้ รับสารอาหารเข้ ามา

Drinking = เป็ นพฤติกรรมทีคงไว้ ซงระดับทีเหมาะสมในร่างกาย
                                 ึ

ข้ อเท็จจริงของการคงไว้ ถึงความสมดุลของของเหลวในร่ างกาย

Intravascular fluid คือของเหลวทีอยูในหลอดเลือด
                                   ่
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16

More Related Content

Viewers also liked

Bilinguismopresentacion
BilinguismopresentacionBilinguismopresentacion
Bilinguismopresentacion
jmaq1997
 
Emotion and motivation osch10 image_slideshow
Emotion and motivation osch10 image_slideshowEmotion and motivation osch10 image_slideshow
Emotion and motivation osch10 image_slideshow
Lumen Learning
 
Medio Ambiente Nacimiento
Medio Ambiente NacimientoMedio Ambiente Nacimiento
Medio Ambiente Nacimiento
jmaq1997
 
The amygdala by keiffer policarpio and shannon youse
The amygdala by keiffer policarpio and shannon youseThe amygdala by keiffer policarpio and shannon youse
The amygdala by keiffer policarpio and shannon youse
keiffer171512
 
Cómo consideras la situación del medio ambiente
Cómo consideras la situación del medio ambienteCómo consideras la situación del medio ambiente
Cómo consideras la situación del medio ambiente
jmaq1997
 
Jeopardy
JeopardyJeopardy
Jeopardy
jmaq1997
 
Motivation As Per Psych.
Motivation As Per Psych.Motivation As Per Psych.
Motivation As Per Psych.
Man13
 
Jordskredsvalget 1973
Jordskredsvalget 1973Jordskredsvalget 1973
Jordskredsvalget 1973trinekaehler
 

Viewers also liked (8)

Bilinguismopresentacion
BilinguismopresentacionBilinguismopresentacion
Bilinguismopresentacion
 
Emotion and motivation osch10 image_slideshow
Emotion and motivation osch10 image_slideshowEmotion and motivation osch10 image_slideshow
Emotion and motivation osch10 image_slideshow
 
Medio Ambiente Nacimiento
Medio Ambiente NacimientoMedio Ambiente Nacimiento
Medio Ambiente Nacimiento
 
The amygdala by keiffer policarpio and shannon youse
The amygdala by keiffer policarpio and shannon youseThe amygdala by keiffer policarpio and shannon youse
The amygdala by keiffer policarpio and shannon youse
 
Cómo consideras la situación del medio ambiente
Cómo consideras la situación del medio ambienteCómo consideras la situación del medio ambiente
Cómo consideras la situación del medio ambiente
 
Jeopardy
JeopardyJeopardy
Jeopardy
 
Motivation As Per Psych.
Motivation As Per Psych.Motivation As Per Psych.
Motivation As Per Psych.
 
Jordskredsvalget 1973
Jordskredsvalget 1973Jordskredsvalget 1973
Jordskredsvalget 1973
 

Similar to Biopsychology final unit 9-16

พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
ssuser48f3f3
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54Oui Nuchanart
 
กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์shedah6381
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
1.3 endocrine system
1.3 endocrine system1.3 endocrine system
1.3 endocrine system
Piro Jnn
 
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์
Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
Wichai Likitponrak
 
กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์shedah6381
 
กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์shedah6381
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWan Ngamwongwan
 
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมRoongroeng
 
ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์passaraporn
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
Thitaree Samphao
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้าง9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้างSurasek Tikomrom
 

Similar to Biopsychology final unit 9-16 (20)

พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54
 
กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
1.3 endocrine system
1.3 endocrine system1.3 endocrine system
1.3 endocrine system
 
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์
 
กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
 
ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้าง9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้าง
 

Recently uploaded

โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
Postharvest Technology Innovation Center
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 

Recently uploaded (6)

โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 

Biopsychology final unit 9-16

  • 1. BY: PSYCHE 08 1 บทที 9 พฤติกรรมการสืบพันธุ์ พฤติกรรมการสืบพันธุ์เป็ นส่วนสําคัญทีสุดในพฤติกรรมทางสังคม เพราะว่าถ้ าขาดพฤติกรรมนีจะทําให้ สปี ชีส์ไม่สามารถดํารงอยูได้ ่ พฤติกรรมการสืบพันธุ์ประกอบด้ วย การเกียวพาราสี การจับคู่ พฤติกรรมการเป็ นพ่อแม่และประพฤติกรรม ก้ าวร้ าว-นันคือ พฤติกรรมประเภทปะทะของ sexually dimorphic behaviors (พฤติกรรมทีแตกต่างกันในเพศหญิง และชาย) ในเซคนีเราจะมาพิจารณารูปร่าง หน้ าตา ลักษณะ และการพัฒนาการเกียวกับเพศ Sexually dimorphic behaviors เป็ นพฤติกรรมหนึงทีมีความแตกต่างหรื อเกิดขึนมาจากความแตกต่างของสภาพระหว่างชายและหญิง Production of Gametes and Fertilization เซลล์ทงหลายของมนุษย์นอกเหนือจากสเปิ ร์มและไข่ ประกอบด้ วย23คู่ โครโมโซม โดยส่วนDNAเป็ นส่วน ั หนึงในโครโมโซมเหล่านี มนุษย์มีความภูมิใจทีสามารถผลิตวงจรคอมพิวเตอร์ ย่อส่วน แต่ไม่สามารถบรรลุผลทีจะ มองเห็นโครโมโซมได้ ด้วยตาเปล่า Gametes เซลล์สืบพันธุ์ทีเจริญเติบโตเต็มที ได้ แก่ สเปิ ร์มและไข่ Sex chromosome โครโมโซมเพศนันมี 2 ประเภท ได้ แก่ โครโมโซม XและY โครโมโซมXและYเป็ นตัวกําหนดเพศ โดยเพศหญิงได้ แก่ XX(ดังนัน ไข่ คือ ผู้หญิงทีประกอบด้ วย X) เพศชายได้ แก่ XY เมือโครโมโซมเพศของชายแบ่งตัว ครึงหนึงประกอบด้ วย Xและอีกครึงหนึงประกอบด้ วย จากนัน Y จะรองรับ X จากไข่ (ปฏิสนธิกน) ได้ เป็ น XY นันคือ เพศชาย ั Xจะรองรับ X จากไข่ (ปฏิสนธิกน) ได้ เป็ น XX นันคือ เพศหญิง ั Development of the Sex Organ หญิงและชายมีความแตกต่างกันในหลายๆด้ าน ทังร่างกาย บางส่วนของสมอง และพฤติกรรมการสืบพันธุ์ ความแตกต่างนีเกิดจากโครโมโซม Y ทีเป็ นการจําแนกชายและหญิงใช่หรื อไม่???? คําตอบ คือ ไม่
  • 2. BY: PSYCHE 08 2 โครโมโซม X และ22ทีไม่ใช่โครโมโซมเพศ ถูกพบในเซลล์ทงเพศหญิงและชาย เกียวข้ องกับข้ อมูลการ ั พัฒนาร่างกายในแต่ละเพศ ฮอร์ โมนเพศทังก่อนและหลังเกิดตังหากทีเป็ นตัวทําให้ เกิดสภาพความแตกต่างระหว่าง เพศ โครโมโซม Y ควบคุมการเจริ ญเติบโตของต่อมและการผลิตฮอร์ โมนเพศชาย Gonad = รังไข่และลูกอัณฑะ Sry= ยีนของโครโมโซม Y ทีผลิตGonadของทารกในครรภ์ให้ สมดุลทีจะพัฒนาไปเป็ นลูกอัณฑะ Organizational effect ผลของฮอร์ โมนเกียวกับความแตกต่างและการเจริญเติบโตของเนือเยือ Activational effect ผลของฮอร์ โมนเป็ นส่วนพัฒนาระบบอวัยวะ Mullerian system เป็ น embryonic (อวัยวะแรกเริม)ในภายในอวัยวะเพศของเพศหญิง Wolffin system เป็ น embryonic (อวัยวะแรกเริม)ในภายในอวัยวะเพศของเพศชาย Anti- Mullerian hormone เป็ นรหัสลับของเปปไทด์ทีทําให้ ลกอัณฑะของทารกในครรภ์ยบยังการเจริญเติบโตของระบบ Mullerian จน ู ั กลายเป็ นอวัยวะภายในของเพศหญิง Androgen = สเตรอยด์ฮอร์ โมนของเพศชาย Testosteroneคือส่วนสําคัญทีสุดของAndrogenของสัตว์เลียงลูกด้ วย นม Masculinizing effect = ผลของฮอร์ โมนพัฒนาเกียวกับกายวิภาควิทยาหรื อพฤติกรรมลักษณะเฉพาะของเพศชาย Dihydrotestosterone = เป็ นAndrogenทีผลิตจากTestosteroneผ่านเอนไซม์ Androgen insensitivity syndrome = เป็ นสภาวะทีแต่กําเนิดขาดการทํางานของตัวรับAndrogen เกิดในบุคคลที ประกอบด้ วยโครโมโซมเพศXY ซึงทําให้ เพศหญิงก็มีการเจริญเติบโตลูกอัณฑะแต่ไม่มีอวัยวะเพศภายในเฉยๆ Persistent Mullerian duct syndrome เป็ นสภาวะทีแต่กําเนิดขาด Anti- Mullerian ฮอร์ โมนและตัวรับสําหรับฮอร์ โมนนีในผู้ชาย ทําให้ ในเพศชาย และหญิงเกิดการเจริญเติบโตของอวัยวะเพศภายใน Turner’s syndrome
  • 3. BY: PSYCHE 08 3 การมีอยูเ่ พียง1โครโมโซมเพศ (Xโครโมโซม) ลักษณะคือรังไข่ไม่สมบูรณ์ แต่อวัยวะเพศหญิงและอวัยวะ สืบพันธุ์ปกติ คนทีมีอาการเช่นนีต้ องให้ ยาestrogen เพือเพิมการเจริญในวัยหนุมสาวและการเจริญเติบโตทางเพศ แต่ ่ พวกเขาไม่สามารถมีลกได้ เพราะพวกเขาไม่มีรังไข่และไม่สามารถผลิตเซลล์ไข่ได้ ู การเจริญเติบโตทางเพศภายนอกคือ อวัยวะเพศทีสามารถมองเห็นได้ ประกอบด้ วย penis(องคชาต) และ scrotum(ถุงอัณฑะ)ในเพศชาย และlabia(แคม) clitoris และส่วนนอกสุดของvaginaในเพศหญิง ดังนัน อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของบุคคลถูกกําหนดโดยการมีอยูหรื อการไม่มีอยูของ Androgen สิงซึง ่ ่ สามารถอธิบายได้ วาทําไมบุคคลทีมีอาการ Turner’s syndrome มีการเจริญเติบโตอวัยวะเพศหญิงภายนอกทังๆทีรัง ่ ไข่ไม่สมบูรณ์ บุคคลทีมีอาการAndrogenไม่ตอบสนองมีการเจริญเติบโตของอวัยวะเพศหญิงภายนอกเช่นเดียวกัน เพราะว่าปราศจากตัวรับAndrogenในเซลล์ของพวกเขา จึงไม่สามารถตอบสนองต่อAndrogen ทีผลิตลูกอัณฑะ Sexual Maturation การเปลียนแปลงลักษณะทางเพศปฐมภูมิ (primary sex characteristics) คือ อวัยวะเพศภายในและการ เจริญเติบโตทางเพศภายนอก ซึงหมายถึงการเปลียนแปลงของอัณฑะ (testis) และองคชาติ (penis) ในเด็กชาย และ การเปลียนแปลงของรังไข่ (ovary) มดลูก (uterus) และช่องคลอด (vagina) ในเด็กหญิง โดยสิงเหล่านีมีตงแต่เกิด ั การเปลียนแปลงลักษณะทางเพศทุตยภูมิ (secondary sex characteristics) ซึงเป็ นลักษณะ ทางเพศ ิ ประกอบอืน ๆ ได้ แก่ การเปลียนแปลงของเต้ านม รูปร่าง ขนตามรักแร้ หัวเหน่า และการเปลียนแปลงของเสียงในเพศ ชาย Gonadotropin-releasing hormone : ฮอร์ โมนจากHypothalamusทีกระตุ้นPituitaryส่วนหน้ าให้ หลัง Gonadotropin Gonadotropic hormone : ฮอร์ โมนทีต่อมพิทอิตารี สวนหน้ าหลังไปกระตุ้นGonad ู ่ FSH : ฮอร์ โมนของพิทอิตารี สวนหน้ าให้ เกิดการพัฒาของOvarian Follicle(ไม่ร้ ูวาภาษาไทยคืออะไรอ่ะ) และการ ู ่ ่ เจริญเติบโตเต็มทีของไข่ LH : ฮอร์ โมนของพิทอิตารี ส่วนหน้ าทําให้ เกิดการตกไข่และพัฒนา Follicleไปเป็ น Corpus luteum ู Estrogen : ฮอร์ โมนเพศทําให้ เกิดการเจริญเติบโตของอวัยวะเพศหญิง,การเติบโตของเนือเยือหน้ าอก, การพัฒนา สรี ระและลักษณะนิสยของผู้หญิง ั Hormonal control of Sexual beh. โดยธรรมชาติแล้ ว ทุกeffectมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของคนเรา โดยปกติจะมีผลมากต่อสรี ระและอวัยวะเพศ ของชายและหญิง แต่ฮอร์ โมนไม่ได้ ให้ เราแค่ร่างกายทีเป็ นหญิงหรื อชาย แต่ยงส่งผลต่อพฤติกรรมโดยมีปฏิกิริยา ั
  • 4. BY: PSYCHE 08 4 โดยตรงกับระบบประสาท Androgrnทีพบในระหว่างการพัฒนาก่อนจะคลอด(Prenatal Development) ส่งผลต่อการ พัฒนาระบบประสาท ยิงไปกว่านัน ฮอร์ โมนเพศทังชายและหญิงมีผลกระตุ้นในระบบประสาทตอนทีเราโตแล้ วซึงจะมี อิทธิพลต่อระบบสรี ระและพฤติกรรม Hormonal control of Female Reproductive cycles Menstrual cycle : วงจรสืบพันธุ์เพศหญิงของPrimateและคน มีลกษณะเป็ นการเติบโตของมดลูก การตกไข่ ั พัฒนาการของ Corpus luteum และ การมีประจําเดือน(ถ้ าท้ องก็จะไม่เกิด) Estrous cycle : วงจรระบบสืบพันธ์ของสัตว์เลียงลูกด้ วยนมเพศเมีย ทีนอกเหนือจากPrimate(คิดว่ามันคือลิงนะ) Ovarian follicle : cellผิวรอบๆoocyteทีจะพัฒนาไปเป็ นไข่ Corpus luteum : แอ่งของcell พัฒนาจาก ovarian follicle หลังตกไข่ Progesterone : ผลิตโดยรังไข่ทีทําให้ ผนังมดลูกยังคงอยูในระหว่างMenstrual cycle และระหว่างตังครรภ์ ่ Hormonal control of Sexual beh. of Lab. Animals ปฏิสมพันธ์ระหว่างฮอร์ โมนเพศกับสมองมนุษย์ยากทีจะศึกษา เราต้ องศึกษาจากแหล่งข้ อมูล2แหล่ง คือ 1.ทดลองกับ ั สัตว์ 2.ความผิดปกติของพัฒนาการทีหลากหลายในมนุษย์ Males พฤติกรรมทางเพศของชายมีหลากหลาย มีลกษณะทีสําคัญ ั intromission(การสอดอวัยวะเพศชายเข้ าไปในช่องคลอดของเพศหญิง), Pelvic thrusing(การเคลือนไหวทีทําให้ อวัยวะเพศเกิดการเสียดสี) และ Ejaculation(การปล่อยนําอสุจ) ทังหมดนีคือลักษณะของสัตว์เลียงลูกด้ วยนมเพศ ิ ชาย Refractory period : ช่วงหลังการเกิดการกระทําทีเฉพาะ เช่น การหลังนําอสุจิโดยเพศชาย ระหว่างนีจะไม่มี action เกิดขึน Coolidge effect : ความกระปรี กระเปร่าในการได้ ร้ ูจกเพศหญิงทีจะเป็ นpartnerคนใหม่ของเพศชาย ั Females ผู้หญิงเป็ นฝ่ ายทีpassiveในการ มีเพศสัมพันธ์ Lordosis : การโค้ งงอหลังของเพศหญิงทีตอบสนองการเข้ ามาของเพศชาย(คํานีแปลไม่คอยออก ถ้ าใครแปลเข้ าใจๆ ่ ช่วยหน่อยๆ)
  • 5. BY: PSYCHE 08 5 Organizational Effect of Androgen on Beh. : Masculinization and Defeminization สรุปๆเลยนะ ก็คือ ถ้ าสมองสิงมีชีวิตนันๆไม่ตอบสนองต่อ Androgen ในระหว่าช่วงพัฒนา สัตว์จะมีพฤติกรรมทาง เพศแบบหญิง ในตอนโต ถ้ าหนูตวผู้ถกทําหมันตังแต่เกิด โตขึนมาแล้ วฉีด EstraldiolกับProgesterone มันจะทําพฤติกรรมทางเพศเหมือนตัว ั ู เมีย เวลาเจอตัวผู้ตวอืนๆ ั Effects of Pheromones Hormones ส่งข้ อความจากส่วนหนึงของร่างกาย (secreting gland ต่อมทีหลังฮอร์ โมน) ไปยังเนือเยือเปาหมาย ้ แต่สารเคมีอย่าง pheromones นันส่งข้ อความจาก สัตว์ตวหนึงไปยังอีกตัวหนึง ั สารเคมีบางตัวอย่างเช่น hormone มีผลต่อพฤติกรรมการสืบพันธุ์ Pheromone - เป็ นสารเคมีทีหลังมาจากสัตว์ตวหนึงมีผลต่อพฤติกรรมและร่างกาย physiology ของสัตว์อีกตัว ส่วนใหญ่จะเป็ น ั กลิน กับ รสชาติ smelled or tasted Lee-Boot effect - เป็ นการชะลอรอบหรื อหยุดของ estrous cycles ในกลุมของสัตว์เพศเมียทีอยูด้วยกัน สาเหตุมาจาก pheromone ที ่ ่ อยูใน urine ของสัตว์ ่ Whitten effect - เป็ นการทีทําให้ รอบเดือนของกลุมเพศหญิงทีอยูด้วยกันมีประจําเดือนตรงกัน ซึงจะเกิดขึนต่อเมือมี pheromone ใน ่ ่ urine ของเพศชาย Vandenbergh effect - เป็ นช่วงเริมต้ นของการเข้ าสูวยรุ่นของสัตว์เพศเมียทีอยู่กบสัตว์ตวผู้ ซึงจะเกิดขึนต่อเมือมี pheromone ใน urine ่ั ั ั ของเพศชาย Bruce effect
  • 6. BY: PSYCHE 08 6 - การระงับการตังครรภ์ มีสาเหตุมาจาก กลินของ pheromone ใน urine ของเพศผู้ไม่ใช่ในเพศหญิงทีตังครรภ์ Vomeronasal organ - เป็ นอวัยวะรับความรู้สกทีตรวจจับสารเคมีบางอย่าง โดยเฉพาะเมือสูดดมของเหลวจะเป็ นตัวไปส่งเสริมผลของ ึ some pheromones อืนๆ Accessory olfactory bulb - โครงสร้ างคล้ ายปมประสาท อยู่ที main olfactory bulb รับข้ อมูลมาจาก vomeronasal organ - เห็นได้ ว่าปรากฎการณ์ในมนุษย์นนมี pheromone มาเกียวด้ วย ั - McClintock ศึกษารอบเดือนของผู้หญิงทีเข้ าศึกษาในวิทยาลัยหญิงล้ วน พบว่าผู้หญิงทีใช้ เวลาส่วนใหญ่อยู่ด้วยกัน จะมีรอบเดือนทีตรงกัน รอบเดือนของพวกเธอจะเริมต้ นภายใน1 หรื อ 2 วันต่อจากอีกคน - ผู้หญิงทีทีใช้ เวลาอยูกบผู้ชายจะมีรอบสันกว่าคนทีไม่เคยเจอผู้ชายเลย ่ ั - ผู้ชายและผู้หญิงเรี ยนรู้ทีจะดึงดูดซึงกันและกันจากลักษณะกลินของคูของตน เช่นเดียวกับทีดึงดูดกันทางเสียงทีพูด ่ แต่กลินในทีนีเป็ นเพียง sensory cues ไม่ใช่ pheromones Human Sexual Behavior - พฤติกรรมทางเพศของมนุษย์เหมือนสัตว์เลียงลูกด้วยนมอืนๆ คือได้ รับอิทธิพลจากการกระตุ้นของ gonadal hormones - hormones มีผลต่อพฤติกรรมทางเพศของมนุษย์ ซึงจะส่งผลได้ ตอเมือมีการเปลียนแปลงพัฒนาการของสมอง ่ - แม้ จะพบว่าในช่วงตังครรภ์ถ้าสัมผัส androgens จะส่งผลต่อการพัฒนาสมองของมนุษย์ แต่เรายังสรุปไม่ได้ วาการ ่ สัมผัสกับสารจะมีผลระยะยาวกับพฤติกรรมรึเปล่า
  • 7. BY: PSYCHE 08 7 - ในสัตว์เลียงลูกด้ วยนมชันสูงรวมถึงมนุษย์ มีความสามารถทีจะ mate หาคูโดยทีไม่ถกควบคุมจาก ovarian ่ ู hormones เนืองจากไม่มีขอบเขตกันในการผสมพันธุ์ระหว่างช่วงใดในรอบเดือน ถ้ าเพศเมียยอมหรื อโดนเพศผู้บงคับ ั ก็จะสามารถมีเพศสัมพันธ์เวลาใดก็ได้ จากกราฟคือเพศหญิงกับเพศชายทีเป็ นฝ่ ายเริมการมีเพศสัมพันธ์เทียบกับรอบ เดือนของเพศหญิง Sexual Orientation - homosexuality ไม่ได้ มีสาเหตุมาจากระดับของ sex hormones ในวัยผู้ใหญ่ - จากการศึกษาพบว่าระดับของ sex steroids ในเพศชายทีเป็ น homosexual ส่วนใหญ่พบในระดับเดียวกับ heterosexuals (รักเพศตรงข้ าม) - 30% ของหญิงทีรักเพศเดียวกันจะมีระดับ testosterone สูง (แต่น้อยกว่าทีพบในผู้ชาย) ความแตกต่างนีอาจมี สาเหตุทางชีววิทยาของเพศหญิงทีรักร่วมเพศหรื อวิถีชีวิตทีจะเพิมการหลังฮอร์ โมน ยังไม่ทราบแน่ชด ั - สาเหตุทางชีววิทยาของรักร่ วมเพศนัน มาจากความแตกต่างของโครงสร้ างสมองอันเนืองมาจากระดับการสัมผัส androgens ในช่วงตังครรภ์ - Congenital adrenal hyperplasia (CAH) สภาวะการทีหลัง androgens จํานวนมาก ทําให้ มีลกษณะเฉพาะของ ั เพศชายมีอวัยวะสืบพันธุ์อยู่ภายนอก - เด็กจะแสดงให้ เห็นถึงความแตกต่างทางเพศในพฤติกรรมเช่น การเลือกของเล่น ผู้ชายจะเล่นกับของเล่นทีมีกิจกรรม โดยเฉพาะทีเคลือนไหวได้ เพศหญิงจะเลือกของเล่นทีสามารถทํามาดูแลได้ และแน่นอนว่าคนดูแลเด็กหรื อเพือนในวัย เดียวกันจะส่งเสริมให้ เล่น“sex-typical” ของเล่นทีตรงกับเพศ อย่างไรก็ตามปั จจัยทางชีววิทยาเป็ นปั จจัยทาง
  • 8. BY: PSYCHE 08 8 ธรรมชาติในการเลือก เช่น ทารกทีอายุได้ หนึงวัน ทารกเพศชายชอบมองวัตถุทีเคลือนไหว ทารกเพศหญิงชอบมอง ใบหน้ าของเพศหญิง เช่นเดียวกับในการศึกศึกของ Alexander and Hines ในลิง young vervet monkeys ทีแสดงให้ เห็นถึง sexually dimorphic preferences in choice of toys ลูกลิงตัวผู้เล่นรถ ลูกลิงตัวเมียเล่นตุ๊กตา - ไม่มีรายงานของรักร่วมเพศว่าเป็ น XY เพศหญิงทีมี androgen insensitivity syndrome การขาดตัวรับ androgen แสดงให้ เห็นถึงการปองกันทัง masculinizing(ความเป็ นชาย) and defeminizing(ลดความ ้ เป็ นหญิง) ในความสนใจทางเพศของบุคคล เป็ นไปได้ วาเด็กทีมี XY กับ androgen insensitivity syndrome จะแสดง ่ ตนเป็ นเพศหญิง - สมองมนุษย์เป็ น sexually dimorphic organ (หมายถึงว่าแยกเพศรึเปล่าไม่แน่ใจ) แต่ยงไม่มีการยืนยันทางสรี ระ ั วิทยาหรื อจากการศึกษาของ regional cerebral metabolism using PET and functional MRI เช่น จากการศึกษาของนักประสาทวิทยาพบว่า สมอง 2 ส่วนของผู้หญิง แบ่งปั นหน้ าทีมากกว่าสมองของผู้ชาย ถ้ าผู้ชายเป็ น stroke แล้ วสมองด้ านซ้ ายถูกทําลาย เขาจะแสดงให้ เห็นถึงความบกพร่องทางภาษามากกว่าผู้หญิงที สมองส่วนนันโดนทําลาย นักวิจยบางกลุมเชือว่าเป็ นเหตุมาจากการสัมผัสandrogen ในช่วงตังครรภ์และหลังคลอด ั ่ ช่วงแรกๆ นอกจากนีการเปลียนแปลงของ androgen ในระยะทีเข้ าสูวยหนุมสาว หรื ออาจจะเกิดจากสภาพแวดล้ อม ่ั ่ ทางสังคมของเพศ ญ และ ช ทีแตกต่างกัน - heredity เป็ นปั จจัยหนึงของ sexual orientation จากการศึกษาแฝดเหมือนและคล้ าย พบ 50%
  • 9. BY: PSYCHE 08 9 Another factor that may play a role in is. จากการศึกษาของ Bailey and Pillard แฝดชายถ้ าหนึงคนเป็ นรักร่วมเพศเรี ยก discordant (ไม่เห็นพ้ อง) ถ้ าแฝดทัง สองคนเป็ นเรี ยก concordant for this trait (เห็นพ้ อง) ซึงพบว่าในแฝดเหมือน เป็ น concordance 52% และ 22% ใน แฝดคล้ าย แสดงให้ เห็นว่าเป็ นผลมาจากพันธุกรรม นอกจากนีพันธุกรรมยังส่งผลในกลุ่มเพศหญิงทีรักร่วมเพศ พบว่า ในแฝดเหมือน เป็ น concordance 48% และ 16% ในแฝดคล้ าย Effects of Pheromones นีแสดงให้ เห็นว่า อย่างน้ อยปรากฎการณ์ทีเกียวกับฟี โรโมนสามารถเกิดขึนในมนุษย์ McClintock (1971) ศึกษาวงจรการมีประจําเดือนของสตรี ทีอยูวิทยาลัยหญิงล้ วน เธอพบว่าผู้หญิงทีใช้ เวลา ่ อยูด้วยกันมากมีแนวโน้ มทีจะมีประจําเดือนระยะใกล้ กน : ห่างกันภายในวันหรื อสองวันของอีกคนหนึง ่ ั นอกจากนีผู้หญิงทีเป็ นประจําใช้ เวลาในการพบเจอผู้ชายทีมีแนวโน้ มทีจะมีรอบเดือนสันกว่าผู้ทีไม่คอยพบ ่ ผู้ชาย (กลิน?) หรื อไม่ฟีโรโมนมีบทบาทในการดึงดูดทางเพศในมนุษย์กลินทีคุ้นเคยของคูนอนอาจจะมีผลทางบวกต่อการมี ่ เพศสัมพันธ์เร้ าอารมณ์ – เช่นเดียวกับสายตาของคูนอนหรื อเสียงของเขาหรื อเสียงของเธอ ่ มีแนวโน้ มว่าผู้ชายและผู้หญิงสามารถเรี ยนรู้ทีจะถูกดึงดูดโดยกลินอันเป็ นเอกลักษณ์ของคู่ ‘เช่นเดียวกับพวก เขาสามารถเรี ยนรู้ทีจะดึงดูดโดยเสียงของพวกเขา ในกรณีเช่นนี กลินเป็ นเพียงแค่เป็ นตัวชีนําทางประสาทสัมผัสไม่เป็ นฟี โรโมน Human Sexual Behavior พฤติกรรมทางเพศของมนุษย์เหมือนในสัตว์เลียงลูกด้ วยนมอืน ๆ คือเป็ นผลมาจากการกระตุ้นฮอร์ โมน อวัยวะสืบพันธุ์และเกือบจะทังหมดเป็ นผลกระทบจากจัดระเบียบ?เช่นกัน ถ้ าฮอร์ โมนมีผลต่อการจัดระเบียบเกียวกับพฤติกรรมทางเพศของมนุษย์ พวกเขาจะต้ องออกแรงกับผลกระทบเหล่านีโดยการเปลียนแปลงการพัฒนาของสมอง
  • 10. BY: PSYCHE 08 10 แม้ วาจะมีหลักฐานทีดีวาการได้ รับandrogensก่อนคลอดส่งผลต่อการพัฒนาของสมองมนุษย์เรายังไม่ ่ ่ สามารถจะมันใจได้ ว่าการได้ รับสารนีมีผลต่อพฤติกรรมในระยะยาว. ในสัตว์ทีสูงขึน (รวมถึงมนุษย์เรา), ความสามารถในการจับคูไม่ได้ ถกควบคุมโดยฮอร์ โมนทีเกียวกับรังไข่ ่ ู ไม่มีอปสรรคทางกายภาพสําหรับการมีเพศสัมพันธ์ในระหว่างส่วนหนึงของรอบเดือนใด ๆ ถ้ าผู้หญิงหรื อ primateเพศ ุ เมีย อืน ๆยอมมีกิจกรรมทางเพศได้ ตลอดเวลา (หรื อถูกบังคับโดยชาย) สรุปคือ ถ้ า ญ ยอมก็ make love กันได้ เลยจ ร้ า ผ่าไฟแดงกันโลดดด >///< Sexual Orientation รสนิยมทางเพศ ถ้ ารักร่วมเพศเป็ นสาเหตุทางสรี รวิทยา มันจะไม่มีการรูปแบบระดับของฮอร์ โมนเพศในระหว่างวัยผู้ใหญ่ งานวิจยหลายแห่งมีการตรวจสอบระดับของสเตียรอยด์ของเพศชายในรักร่วมเพศและส่วนใหญ่พบว่าพวก ั เขามีระดับสเตียรอยด์คล้ ายกับพวกheterosexuals ทัวไป บางงานวิจยชีให้ เห็นว่าประมาณ 30 เปอร์ เซ็นต์ของหญิงรักร่วมเพศมีระดับของฮอร์ โมนเพศชาย (แต่ก็ยงตํา ั ั กว่าทีพบในผู้ชาย) ไม่วาความแตกต่างเหล่านีจะเกียวข้ องกับสาเหตุทางชีวภาพของรักร่วมเพศหญิงหรื อไม่วาจะเป็ นความ ่ ่ แตกต่างในการดําเนินชีวิตทีอาจจะเพิมการหลังของฮอร์ โมนเพศชายยังไม่ทราบแน่ชด ั สาเหตุทางชีวภาพทีมีโอกาสเป็ นไปได้ ของการรักร่วมเพศคือความแตกต่างทีลึกซึงในโครงสร้ างของสมองที เกิดจากความแตกต่างในจํานวนของการได้ รับ androgens. ก่อนคลอด Congenital adrenal hyperplasia (CAH) สภาวะโดย การหลังมากเกินไป ของ androgens จาก adrenal cortex หากเกิดในเพศหญิงจะเป็ นสาเหตุ ของ masculinization คือ การทําให้ มีลกษณะของเพศชายของ ขององคชาตภายนอก สรุป ทีเค้ าคิดนะคือ ถ้ ามี CAH ั มากก็จะเป็ นหญิงทีแมนมากแบบห้ าวๆ ถึกๆอ่ะ เด็กมักจะแสดงความแตกต่างทางเพศในพฤติกรรมเช่นการชอบเล่นเด็กชายมักชอบของเล่นทีสามารถใช้ งาน ได้ วองไว โดยเฉพาะของทีสามารถขับเคลือนโดยเด็กเอง หญิงมักชอบของเล่นทีน่าทะนุถนอม แน่นอนมันคือความจริง ่ ทีปฏิเสธไม่ได้ วาผู้เลียงดูและเพือนๆจะแนะนําให้ เล่นของเล่นได้ ตรงตามเพศ ่
  • 11. BY: PSYCHE 08 11 แต่หลักฐานพบว่า ชีววิทยาอาจมีบทบาทสําคัญในการเลือกตามธรรมชาติของตัวเลือกเหล่านี ตัวอย่างเช่น แม้ แต่เด็กทารกวัย 1 วัน จะชอบดูการเคลือนย้ ายและเด็กหญิงทารกชอบทีจะมองไปทีใบหน้ าหญิง Alexander และ Hines (2002) สรุปก็คือ ขนาดลิงก็ยงมีแนวโน้ มเลือกของตรงเพศมันโดย: ผู้ชายเลือกทีจะ ั เล่นกับรถและลูกบอลในขณะทีเพศหญิงต้ องการทีจะเล่นกับตุ๊กตาและหม้ อ ไม่มีรายงานของการ bisexuality หรื อรักร่วมเพศ (รสนิยมทางเพศต่อผู้หญิง) ของผู้หญิงทีมีอาการ androgen insensitivity syndrome ดังนันการขาดตัวรับ androgen จะปรากฏขึนเพือปองกันไม่ให้ masculinizing และ defeminizing ของ ้ androgens มีผลกับความสนใจทางเพศของบุคคล มันเป็ นไปได้ ว่าการเลียงเด็ก XY กับ androgen insensitivity syndrome ทีเป็ นหญิง มีบทบาทในการ เบียงเบนทางเพศของบุคคลนัน สมองของมนุษย์เป็ นอวัยวะที dimorphic ทางเพศ ความจริงเรื องนีมีมานานแล้ ว ก่อนทีได้ รับการยืนยันจาก งานวิจยทางกายวิภาคและงานวิจยการเผาผลาญอาหารสมองในระดับภูมิภาคโดยใช้ การทํางานของPET และ MRI ั ั ตัวอย่างเช่น นักประสาทวิทยา ค้ นพบว่าทังสองซีกของสมองผู้หญิงจะมีแบ่งหน้ าทีการทํางานมากขึนกว่าที สมองของผู้ชายทํา หากผู้ชายได้ รับ โรคหลอดเลือดสมอง ทีทําความเสียหายแก่ด้านซ้ ายของสมอง เขามีแนวโน้ มทีจะเกิดความ บกพร่องในภาษามากกว่าผู้หญิงทีเกิดอาการคล้ ายกัน นักวิจยส่วนใหญ่เชือว่าdimorphism ทางเพศจากสมองของมนุษย์เป็ นผลมาจากการสัมผัสandrogensที ั แตกต่างกันไป ตลอดก่อนคลอดและในช่วงต้ นชีวิตหลังคลอด การเปลียนแปลงเพิมเติมทีอาจเกิดขึนในช่วงเวลาของวัยแรกรุ่นเมือเกิดการพรังพรูของandrogens อืนเกิดขึน dimorphisms ทางเพศในสมองของมนุษย์อาจเป็ นผลจากความแตกต่างในสภาพแวดล้ อมทางสังคมของเพศชายและ หญิง ปั จจัยทีอาจมีบทบาทในการเบียงเบนทางเพศอีกอย่างหนึงคือการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
  • 12. BY: PSYCHE 08 12 การศึกษาใช้ ประโยชน์จากแฝดตรงทีฝาแฝดเหมือนมียีนทีเหมือนกันในขณะทีความคล้ ายคลึงกันทางพันธุกรรม ระหว่างพีน้ องฝาแฝดคือโดยเฉลียร้ อยละ 50 Bailey และ Pillard (1991) ศึกษาคูแฝดเพศชายซึงในอย่างน้ อยหนึงสมาชิกทีระบุวาตัวเองเป็ นรักร่วมเพศถ้ า ่ ่ ฝาแฝดทังสองมีความรักร่วมเพศทีพวกเขาจะถูกเรี ยกว่า เป็ นมีความสัมพันธ์เหมือนกันในลักษณะนีถ้ ามีเพียงหนึงคือ การรักร่วมเพศฝาแฝดทีมีการกล่าวว่าจะไม่ปรองดองกันดังนันหากคนรักร่วมเพศทีมีพืนฐานทางพันธุกรรม, ร้ อยละ ของฝาแฝด monozygotic ทีมีความเหมือนสําหรับรักร่วมเพศควรจะสูงกว่าทีสําหรับฝาแฝด dizygotic ตรงนีคือสิง Bailey และ Pillard พบ : อัตราการสอดคล้ องเป็ นร้ อยละ 52 สําหรับฝาแฝดทีเหมือนกันและเพียง 22 เปอร์ เซ็นต์ สําหรับพีน้ องฝาแฝดซึงเป็ นความแตกต่างของร้ อยละ 30 การศึกษาอืน ๆ ได้ แสดงให้ เห็นความแตกต่างได้ ถึง 60 เปอร์ เซ็นต์ปัจจัยทางพันธุกรรมยังมีผลกระทบต่อหญิง รักร่วมเพศด้ วย ตรวจสอบพบว่ามีอตราความสอดคล้ องของฝาแฝด monozygotic หญิงรักร่วมเพศคือร้ อยละ 48 ั ในขณะทีคูแฝด dizygotic คือ 16 เปอร์ เซ็นต์ ่ เพศชาย การแข็งตัวของอวัยวะเพศชายและการปล่อยนําอสุจิ ถูกควบคุมโดยวงจรประสาทจากไขสันหลัง อย่างไรก็ ตาม กลไกของสมองจะทําหน้ าทีกระตุ้นและยับยังวงจรนี MPA เป็ นพืนทีของตัวเซลล์ทีอยู่ด้านหน้ าของไฮโปทาลามัส มีบทบาทสําคัญในพฤิกรรมทางเพศของเพศ ชาย SDN =เป็ นนิวเคียส ใน preoptic area ใน เพศ ญ จะใหญ่กว่าของเพศ ชาย มีบทบาทในพฤติกรรมเพศชาย PAG พืนทีของสมองส่วนกลางทีล้ อมรอบด้ วยนําในสมองมีบทบาทสําคัญในพฤติกรรมทัวไปของspeciesต่างๆ รวมถึงพฤติกรรมทางเพศหญิง nPGi นิวเคลียสของ medulla ทีได้ รับการปอนข้ อมูลจาก ตรงกลางของpreoptic area และมีเซลล์ประสาทaxons ้ synapses กับเซลล์ motor neuronในไขสันหลังทีมีสวนร่วมในการตอบสนองทางเพศในผู้ชาย ่
  • 13. BY: PSYCHE 08 13 ในเพศหญิง เช่นเดียวกับ MPA ทีมีบทบาทสําคัญในการทํางานเพศชายในส่วนของ ด้ านล่างforebrain อีก บทบาททีคล้ ายกันในพฤติกรรมทางเพศหญิง คือ นิวเคลียส ventromedial ของhypothalamus (VMH) VMH นิวเคลียสขนาดใหญ่ของ hypothalamus ตังอยูใกล้ กบผนังของ third ventricle (อวัยวะกลวงๆสามอัน ?) มี ่ ั บทบาทสําคัญในพฤติกรรมทางเพศหญิง Formation of Pair Bonds ประมาณร้ อยละ 5 ของสายพันธุ์ของสัตว์เลียงลูกด้ วยนม, คูกบเพศตรงข้ าม จะคบกับคูสมรสในระยะยาว ่ั ่ พันธะดังกล่าวสามารถเกิดขึนระหว่างสมาชิกของคูร่วมเพศเช่นกัน ่ นักธรรมชาติวิทยาและนักมานุษยวิทยาได้ ชีให้ เห็นว่า คูสมรสจะไม่ Exclusive เสมอไป: ในหลายชนิดของ ่ สัตว์ รวมถึงมนุษย์ แต่ละคนก็ไม่ได้ ซือสัตย์ตอคูรักของตน ่ ่ นอกจากนีบางคูสมรส - ในความสัมพันธ์ทีแนบแน่นจะใช้ เวลาอยูระยะหนึงเท่านันและจะถูกแทนทีด้ วย ่ ่ ความสัมพันธ์ในทํานองเดียวกันนีกับคนรักใหม่ ไม่ต้องสงสัยเลยว่าพันธะของทังคูจะเกิดขึนในสัตว์บางชนิดและคนก็ด้วย ่ งานวิจยหลายแห่งได้ เผย ความสัมพันธ์ระหว่างคูสมรสและระดับของเปปไทด์ทงสองในสมอง : ั ่ ั vasopressin and oxytocin. สารประกอบเหล่านีมีทงออกมาเป็ นฮอร์ โมนโดยต่อมใต้ สมองด้ านหลังและเป็ นสารสือประสาทโดยเซลล์ ั ประสาทในสมองในชาย, vasopressin มีบทบาทสําคัญมากขึน นักวิจยหลายคนเชือว่า oxytocin และ vasopressin อาจมีบทบาทในการก่อตัวของพันธะในมนุษย์ ั ตัวอย่างเช่นหลังจากมีเพศสัมพันธ์ ในขณะนันระดับเลือดของ oxytocin จะเพิมขึน มีคนรายงานว่าเขารู้สกสงบและ ึ รู้สกดี ซึงเป็ นการก่อตัวของพันธะของทังคู่ ึ Parental Behavior (พฤติกรรมการเป็ นพ่อแม่?!?)
  • 14. BY: PSYCHE 08 14 - สัตว์ทีเลียงลูกด้ วยนม พฤติกรรมการสืบพันธุ์นนจะเกิดขึนหลังจากทีให้ กําเนิดทายาทเช่นเดียวกับเวลาทีตังครรภ์ ั - section นีจะกล่าวถึงบทบาทของฮอร์ โมนในการก่อให้ เกิดและคงอยูของ maternal behavior (พฤติกรรมความเป็ น ่ แม่?!) และหน้ าทีของวงจรประสาททีรับผิดชอบต่อการแสดงออก - งานวิจยส่วนใหญ่พบว่า maternal behavior มีความเกียวข้ องกับระบบประสาทและต่อมไร้ ท่อของสัตว์เลียงลูกด้ วย ั นม - แม้ วางานวิจยทางสรี ระวิทยาของพฤติกรรมการเป็ นพ่อแม่จะสนใจ maternal behavior แต่นกวิจยบางคนพฤติกรรม ่ ั ั ั ของเพศผู้ - ใน species ของเรานันการเลียงดูบตรถือว่าสําคัญมาก แต่ยงไม่มีการศึกษาเชิงphysiology ุ ั Maternal Behavior of Rodents - จากการศึกษายีนของสัตว์จากจํานวนทายาททีมีชีวิตรอดไปจนถึงวัยเจริญพันธุ์ - ในขบวนการคัดสรรตามธรรมชาติเช่นเดียวกับทีช่วยในความสามารถในการเจริญพันธุ์ ก็ชวยให้ สตว์นนมี ่ ั ั เวลาดูแลลูกของมันได้ อย่างเพียงพอกับทีลูกมันต้ องการให้ ดแล เช่น ลูกหนูไม่สามารถอยูรอดได้ ถ้าไม่มีแม่คอย ู ่ ตอบสนองความต้ องการของมัน Parturition การให้ กําเนิด Hormonal Control of Maternal Behavior ในตอนแรกไม่พบความเกียวข้ องถ้ าฮอร์ โมนเนืองจากเพศผู้ก็ดแลลูกเช่นกัน ู แม้ พฤติกรรมการเป็ นแม่จะเป็ นผลของฮอร์ โมนแต่พฤติกรรมนีไม่ถกควบคุมโดยฮอร์ โมน ู หนูตวเมียทียังบริสทธ์(Virgin) จะเริมดูแลลูกหนูหลังจากมีทารกหนูมาอยู่ด้วยหลายวัน ั ุ จากรูปนีคือระดับฮอร์ โมนในเลือด
  • 15. BY: PSYCHE 08 15 Neural Control of Maternal Behavior วงจรประสาททีควบคุม - บริเวณ medial preoptic area ทีอยูใน forebrain มีหน้ าทีสําคัญในพฤติกรรมทางเพศของเพศชาย ่ เช่นกับกับควบคุม maternal behavior นักวิจยพบว่าถ้ าสมองส่วนนีถูกทําลายจะไม่มีการสร้ างรังและการดูแลลูก ั แม่จะทอดทิงลูกของมัน อย่างไรก็ตามพฤติกรรมทางเพศของเพศหญิงไม่ได้ รับผลกระทบจากการทีสมองส่วนนีถูก ทําลาย - ทารกทีพึงเกิดใหม่ในสัตว์เลียงลูกด้ วยนมจะถูกดูแลโดยแม่ของมัน แม่จะเป็ นผู้ทีคอยให้ อาหาร อย่างไรก็ตามเพศผู้ในบาง specie ก็รับหน้ าทีดูแลลูกร่วมกับแม่ สมองของเพศผู้ทีทําหน้ าทีดูแลลูกด้ วยนันจะเห็นถึง ความแตกต่างกับ nonpaternal fathers (พวกทีไม่ดแลลูก) ใน species อืน ู บทที 10 อารมณ์ อารมณ์ประกอบด้ วยรูปแบบการตอบสนองทางสรี รและเป็ นพฤติกรรมทีเป็ นแบบฉบับของสปี ชีส์ การตอบสนองเหล่านีในมนุษย์มาพร้ อมกับความรู้สก จริ งๆแล้ วอารมณ์อ้างถึงความรู้สกนะ ไม่ใช่พฤติกรรม ึ ึ
  • 16. BY: PSYCHE 08 16 แต่มนเป็ นพฤติกรรม และก็ไม่ใช่ประสบการณ์สวนตัวด้ วย มันมีผลต่อการอยูรอดและการสืบพันธุ์ ั ่ ่ ดังนันประโยชน์ก็คือ พฤติกรรมทางอารมณ์ จะเป็ นตัวชีนําวิวฒนาการสมองของเรา ั อารมณ์ เป็ นรูปแบบของการตอบสนอง การตอบสนองทางอารมณ์ประกอบด้ วย 3 อย่าง : พฤติกรรม, automatic และฮอร์ โมน ส่วนประกอบของพฤติกรรมเป็ นการเคลือนไหวของกล้ ามเนือทีเหมาะกับสถานการณ์จริง การตอบสนองแบบอัตโนมัติมนจะรวดเร็วเป็ นแหล่งพลังงานสําหรับกล้ ามเนือแข็งขัน มันเอือกับการเคลือนไหวอย่าง ั รวดเร็ว การตอบสนองของฮอร์ โมนเป็ นการเสริมการตอบสนองแบบอัตโนมัติ ความกลัว Amygdala เป็ นส่วนทีควบคุมความกลัว มีบทบาทสําคัญในด้ านสรี รและการเกิดพฤติกรรม รวมถึงเป็ นการเตือนถึง ความเจ็บปวดหรื อสิงทีไม่นาพึงพอใจอืนๆ ่ นักวิจยแลบต่างๆกันพบว่าเซลล์ประสาทแบบเดียวในหลายๆนิวเคลียสใน amygdale จะ active เมือมีการเสนอสิงเร้ า ั ทีกระตุ้นทางอารมณ์ Amygdale (หรื อแบบเจาะจง amygdaloid complex) เป็ นส่วนทีอยู่บริเวณ temperal lobes ประกอบไปด้ วยกลุมนิ ่ วคลีไอทีหลากหลาย ทําหน้ าทีแตกต่างกันไป Amygdale แบ่งเป็ น 12 บริเวณ แล้ วแต่ละทีนันก็แบ่งย่อยไปอีก อย่างไรก็ตามเราจะดูเพียง 3 ส่วนใหญ่ นันคือ 1. lateral nucleus 2. basal nucleus 3. central nucleus lateral nucleus (LA)
  • 17. BY: PSYCHE 08 17 นิวเคลียสของ amygdala รับข้ อมูลมาจาก neocortex ทาลามัส และฮิปโปแคมปั ส แล้ วส่งไปที basal ไปที accessory basal และ central nucleus ของ amygdale Central nucleus (CE) บริเวณนีจะรับข้ อมูลจาก basal, lateral และ accessory basal neclei และส่งไปยังพืนทีต่างๆในสมองที เกียวข้ องกับการตอบสนองทางอารมณ์ Central nucleus ใน amygdale เป็ นส่วนสําคัญมากทีสุดในสมองในการทดลองการตอบสนองอารมณ์ทีถูก กระตุ้นโดย aversive stimuli เมือได้ รับสิงเร้ าทีอันตราย จะทําให้ central nucleus ผลิตโปรตีน Fos เพิม หากไปทําลาย central nucleus อะ (นิวเคลียสทีเป็ นข้ อมูลประสาทสัมผัส) มันจะลดพฤติกรรมทางอารมณ์ ต่างๆและลดการตอบสนองทางร่างกาย หาก central nucleus ถูกทําลายแล้ วสัตว์จะไม่แสดงอาการกลัวเมือต้ อง เผชิญกับสิงเร้ าในเหตุการณ์ทีไม่พงปรารถนา ึ รูปที 10.1 แสดงการเชือมต่อในอะมิกดาลา ทีมีบทบาทเกียวข้ องกับอารมณ์ เงือนไขการตอบสนองทางอารมณ์ Conditioned emotional response
  • 18. BY: PSYCHE 08 18 การตอบสนองการวางเงือนไขแบบคลาสสิกเกิดเมือถูกกระตุ้นด้ วย aversive stimulus สิงเร้ าทีไม่พง ึ ปรารถนา : เกิดพฤติกรรมอัตโนมัตมีการเปลียนอัตราการเต้ นของหัวใจ, ก้ าวขาไม่ออก ตัวแข็ง (freezing) และหลัง ิ ฮอร์ โมนทีเกียวกับความเครี ยด นักวิจยชีแจงให้ เห็นว่าการเปลียนแปลงการตอบสนองทางกายภาพของการวางเงือนไขแบบคลาสสิกเกิดใน ั lateral nucleus ทีอยูใน amygdala ่ รูปที 10.2 การเชือมต่อ amygdala : แผนภาพนีแสดงบริ เวณสําคัญของสมองทีได้ รับข้ อมูลจาก central nucleus ใน amygdala และ การตอบสนองทางอารมณ์ทีถูกควบคุมโดยบริเวณเหล่านี
  • 19. BY: PSYCHE 08 19 เซลล์ประสาทใน lateral nucleus ติดต่อกับเซลล์ประสาทใน central nucleus ซึงสือสารกับบริเวณไฮโปทาลามัส midbrain pons และ เมดัลลา ทีมีสวนรับผิดชอบต่อพฤติกรรม แบบอัตโนมัติ และฮอร์ โมน ทีเป็ นส่วนประกอบการ ่ ตอบสนองทางอารมณ์ รูปที 10.3 เงือนไขการตแบสนองทางอารมณ์ ไดอาแกรมแสดงขันตอนการเกิดเงือนไขการตอบสนองทางอารมณ์ อธิบายรูป : ได้ ยินเสียง 10 วินาที จากนันส่งกระแสไฟฟ้ าช็อกทีเท้ า หลังจากนันได้ ยอนเสียงอย่างเดียวหนูก็กลัวแล้ ว Ventromedial prefrontal cortex บริเวณ prefrontal cortex เป็ นพืนฐานของ anterior frontal lobes ทีติดกับ midline : มีบทบาทยับยังการ แสดงอารมณ์ หลักฐานทีบ่งชีว่า amygdala มีสวนในการตอบสนองทางอารมณ์ของมนุษย์ ่ สังเกตปฏิกิริยาของคนทีผ่าตัดสมองเพือรักษาอาการลมชักแบบรุนแรง อาการชักหาย แต่คนไข้ ไม่สนองตอบ อารมณ์ การศึกษานีพบว่าการกระตุ้นบางส่วนของสมอง เช่น ไฮโปทาลามัส จะเกิดการตอบสนองอัตโนมัตทีเชือมโยง ิ ในเรื องความกลัวและความวิตกกังวล แต่เมือ amygdala ถูกกระตุ้น คนทีผ่าตัดสมองเพือรักษาอาการลมชักจะขาด การรายงานความกลัว การศึกษาหลายๆอย่างแสดงให้ เห็นว่าบาดแผลที amygdala จะลดอาการตอบสนองอารมณ์ ความกลัวอาจเกิดจากการเรี ยนรู้ทางสังคม
  • 20. BY: PSYCHE 08 20 การศึกษาในสัตว์แสดงให้ เห็นว่า medial prefrontal cortex มีบทบาทสําคัญในการยับยังการตอบสนองทาง อารมณ์ซงก็เช่นเดียวกับมนุษย์ ึ กระตุ้น amygdala ให้ มการตอบสนอง ี กระตุ้น medial prefrontal cortex รูปที 10.4 Control Extinction : กราฟแสดงการทํางานของ amygdala เกียวข้ องกับการแสดงออกทางอารมณ์และ medial prefrontal cortex เกียวข้ องกับกายับยังการตอบสนอง ความโกรธ ความก้ าวร้ าว และ impulse control สัตว์เกือบทุกชนิดมีพฤติกรรมก้ าวร้ าว แสดงท่าทางข่มขู่ โจมตีสตว์อืนๆ ั พฤติกรรมทีก้ าวร้ าวเป็ นสายพันธุ์ปกติ คือ เป็ นรูปแบบการเคลือนไหว (เช่น แสดงท่าทาง กัด เสียงข่มขู) มัน ่ อยูในวงจรประสาทพัฒนามาจากยีน มียีนตอบสนองความก้ าร้ าว ่ การควบคุมพฤติกรรมก้ าวร้ าวเป็ นลําดับขัน สัตว์จะโจมตีเพือปองกันตัวเอง จะถูกวางโปรแกรมโดยเซลประสาทใน brain stem ้ การโจมตีของสัตว์มาจากหลายๆปั จจัย การกระตุ้นทางสิงแวดล้ อมและประสบการณ์ตางๆ ่ มีหลักฐานมากมายทีแสดงว่าเซลล์ประสาททีหลังสารซีโรโตนินจะยับยังความก้ าวร้ าว ซีรีโตนินน้ อยๆจะทําให้ ก้ าวร้ าว
  • 21. BY: PSYCHE 08 21 รูปที 10.5 ศึกษาซีโรโตนินและพฤติกรรมเสียง หลังน้ อยตายง่าย ซีโรโตนินน้ อย มักเสียงก้ าวร้ าว สารซีโรโตนินมีสงจะอยารอดเยอะ เพราะไม่ชอบทําอะไรเสียงๆ ู การศึกษาพันธุกรรมกับสปี ชีส์อืนๆยืนยันให้ ผลสรุปว่า ซีโรโตนิน มีบทบาทในการยับยังความก้ าวร้ าว มนุษย์กบความก้ าวร้ าวเป็ นปั ญหาซีเรี ยสมากในสังคม ั จากการศึกษาทีว่าซีโรโตนินมีบทบาทยับยังความก้ าวร้ าว เช่น สารตังต้ นทีสร้ างซีโรโตนินตํา มีผลเชือมโยงกับ ความก้ าวร้ าว และพฤติกรรมต่อต้ านสังคม รวมถึงการทําร้ ายร่างกาย การลอบวางเพลิง ฆาตรกรรมและการตีเด็ก ถ้ าปล่อยซีโรโตนินในระดับตําจะไปสนับสนุนความก้ าวร้ าว ยาอาจช่วยลดพฤติกรรมต่อต้ านสังคม การศึกษาหนึงรายงานว่า fluoxetine (prozac) เป็ นยา ทีจะช่วยลดความหงุดหงิดความก้ าวร้ าว วัดโดย แบบทดสอบทางจิตวิทยา ศึกษาฟั งก์ชนรูปภาพพบความเชือมโยงของยีนทีผลิตซีโรโรนินและปฏิกิริยาสนองกลับของ amygdala ของ ั คนทีแสดงอารมณ์ทางลบออกมา
  • 22. BY: PSYCHE 08 22 รูปที 10.6 Serotonin Transporter Gene and Amygdala Reactivity แสดงว่า amygdala ของแต่ละคนมีการตอบสนองต่อสิงเร้ า ต่างกัน มีวิจยหลายคนเชือว่า การกระตุ้นความรุนแรงเป็ นผลของความผิดปกติในการควบคุมอารมณ์ แต่เราสามารถ ั ทําให้ มนสงบและระงับมันได้ ั vmPFC (ventro medial prefrontal cortex) รับ direct inputs จาก dorsomedial thalamus, temporal cortex, ventral tegmental area, olfactory system และ amygdala ส่งออกไปยังสมองส่วนต่างๆ รวมถึง cingulated cortex ไฮโปทาลามัส และ amygdala สุดท้ ายสือสารกับบริเวณอืนๆใน frontal cortex ส่วนของสมองต่างๆทําหน้ าทีร่วมกัน สือข้ อมูลให้ เขารู้วาเกิดอะไรขึนในสิงแวดล้ อม ทําให้ เขารู้ว่าจะทําอะไร ่ ต่อไป การตอบสนองทางอารมณ์ amygdala จะมีสวนเกียวข้ อง ่
  • 23. BY: PSYCHE 08 23 รูปที 10.7 แสดงส่วนของสมอง vmPFC การทําลาย vmPFC เป็ นสาเหตุของการสูญเสียการควบคุมพฤติกรรมและการตัดสินใจ การสูญเสียนีปรากฏโดยเป็ นผลจากไม่สามารถควบคุมอารมณ์ได้ รูปที 10.8 Phineas Gage’s Accident ถูกเหล็กแหลมแทงทะลุดงภาพ หลังจากรักษา จากเป็ นคนเคยสุภาพ กลายเป็ นคนก้ าวร้ าว มี ั ปั ญหาเกียวกับ moral decisions
  • 24. BY: PSYCHE 08 24 รูปที 10.9 Moral Decisions and the vmPFC Communication of Emotions การสือสารของอารมณ์ สัตว์หลายสปี ชีส์ (รวมทังตัวเราเอง) สือสารอารมณ์ไปยังผู้อืนโดยการแสดงออกทางสีหน้ า เสียงทีไม่มีคําพูด (สัญลักษณ์ คราง คําราม) การแสดงออกทางอารมณ์แบบนีเป็ นประโยชน์ จะได้ บอกผู้อืนไปว่ารู้สกอย่างไร เขาอยากจะทําอะไร ึ Facial Expression of Emotions: Innate Responses
  • 25. BY: PSYCHE 08 25 Charles Darwin (1872/1965) บอกว่า การแสดงอารมณ์ของมนุษย์คล้ ายกับในสัตว์อืนๆ เขาบอกว่าการแสดงอารมณ์มีมาตังแต่เกิด เป็ นการตอบสนองทีไม่ต้องเรี ยนรู้ ประกอบการเคลือนไหวที ซับซ้ อนบนกล้ ามเนือใบหน้ า Dawin ได้ สรุปว่าการแสดงออกทางอารมณ์มีลกษณะเดียวกันในต่างวัฒนธรรมรอบโลก ั เขาให้ เหตุผลว่า คนทัวโลกแสดงอารมณ์เช่นเดียวกันมาจากพันธุกรรมมากกว่าการเรี ยนรู้ งานวิจยทีทําขึนโดย Ekman และเพือนร่วมงาน (Ekman and Friesen, 1971; Ekman, 1980)มีแนวโน้ ม ั สนับสนุนสมมติฐานของ Dawin เกียวกับการแสดงอารมณ์เฉพาะตามสปี ชีส์ตางๆ ่ รูปที 10.10 Facial Expressions in a New Guinea Tribesman The tribesman made faces when told stories: (a) “Your friend has come and you are happy.” (b) “Your child had died.” (c) “You are angry and about to fight.” (d) “You see a dead pig that has been lying there a long time.” ไม่วาอารมณ์ไหน เวลาดีใจก็แสดงออกมาเหมือนกัน ่ Neural Basis of the Communication of Emotions: Recognition การสือสารทีมีประสิทธิภาพมี 2 กระบวณการ การจําหน้ าตาคนแสดงอารมณ์เป็ นแบบอัตโนมัติ รวดเร็ ว และแม่นยํา คนสามารถแสดงอารมณ์ผานสีหน้ าได้ ่ พวกเราเก็บความรู้สกคนโดยการดูและฟั ง ดูก็คือดูการแสดงออกทางสีหน้ า ฟั งคือได้ ยินเสียงและคํา ึ ศึกษาหลายอย่างพบว่า right hemisphere มีบทบาทสําคัญกว่า left hemisphere ในเรื องการเข้ าใจในเรื อง อารมณ์
  • 26. BY: PSYCHE 08 26 รูปที 10.11 Perception of Emotions. The PET scans indicate brain regions activated by listening to emotions expressed by tone of voice (green) or by meanings of words (red). เราได้ เห็นมาแล้ วว่า amygdala มีบทบาทสําคัญในการตอบสนองทางอารมณ์ มันมีบทบาทสําคัญในการจํา อารมณ์ทีดี เช่น จากการศึกษาทีพบบาดแผลใน amygdala (ผลจากการรักษาลมชัก) จะทําให้ คนสูญเสีย ความสามารถในการเก็บจําอารมณ์ทางใบหน้ า โดยเฉพาะอารมณ์ทีแสดงความกลัว Amygdala มีบทบาทสําคัญในการสังเกตอารมณ์ ในการเก็บจําการแสดงออกทางสีหน้ าในเรื องความกลัว Adolphs et al. (2000) ค้ นพบสิงทีเป็ นไปได้ ระหว่าง somatosensation และ การจําอารมณ์ ตําแหน่งของแผลสมองในคนไข้ 108 คน ทีสมองถูกทําลาย มีความสัมพันธ์กบความสามารถในการเก็บจํา ั และแยกแยะอารมณ์สีหน้ าของคนไข้ เขาพบว่ามันทําลายความสามารถนี เพราะสมองส่วน somatosensory cortex ใน right hemisphere ถูก ทําลาย ทําให้ คนไข้ ไม่สามารถรับรู้อารมณ์ความรู้สกของผู้อืน สรุปว่าสมองซีกขวาเป็ นส่วนทีรับรู้อารมณ์ความรู้สก ึ ึ ของผู้อืน Neural Basis of the Communication of Emotions: Expression การแสดงออกทางสีหน้ าเป็ นพฤติกรรมทีอัตโนมัตและควบคุมไม่ได้ แสดงออกตาม norm ของสังคม ิ มันไม่ง่ายทีจะแสดงออกทางสีหน้ าให้ เหมือนจริง ประมาณแสร้ งว่าเราดีใจ เมือเราไม่ได้ ร้ ูสกอย่างนันจริงๆ ึ สีหน้ าแสดงอารมณ์เป็ นการแสดงออกอย่างหนึงทีเป็ นไปตามธรรมชาติ
  • 27. BY: PSYCHE 08 27 รูปที 10.13 An Artificial Smile ประมาณว่าใส่ electrode ให้ subject ยิม เพิมการหดตัวของกล้ ามเนือบริ เวณปาก ใส่ electrode ไป กระตุ้นกล้ ามเนือบริ เวณหน้ าให้ ยม เขาจะยิมจริ งๆกล้ ามเนือบริ เวณหน้ าต้ องยิมด้ วย ิ Volitional facial paresis เป็ นการยากทีจะเคลือนไหวกล้ ามเนือบนใบหน้ า เป็ นเพราะว่าทําลายสมองบริเวณ primary motor cortex หรื อบริเวณรอบๆ มี lesion ทีสมองซีกขวา โชว์ฟันไม่ได้ แต่ยมได้ (โชว์ฟันได้ แต่ด้านขวา) ิ Emotional facial paresis ขาดการเคลือนไหวบนกล้ ามเนือใบหน้ าในการตอบสนอง เพราะว่า ถูกทําลายใน insular prefrontal cortex, subcortical white matter of the frontal lobe หรื อบางส่วนของทาลามัส Feelings of Emotions พวกเราพิจารณาสองเกณฑ์เกียวกับอารมณ์ : การจัดการรูปแบบของการตอบสนองในสถานการณ์ทีกระตุ้น ทางอารมณ์ สือสารภาวะทางอารมณ์กบสมาชิกอืนในสปี ชีส์ ั เกณฑ์สดท้ ายของอารมณ์ คือพิจารณาใน subjective component ในเรื อง ความรู้สกของอารมณ์ ุ ึ
  • 28. BY: PSYCHE 08 28 The James-Lange Theory William James (1842–1910) นักจิตวิทยาชาวอเมริกน และ Carl Lange (1834–1900) นักจิตวิทยาชาว ั เดนมาร์ ก ได้ อธิบายว่าอารมณ์เรามีสวนเหมือนหัน คล้ ายคลึงกัน ่ พฤติกรรมและการตอบสนองทางสรี รวิทยามาจากสถานการณ์ทีมากระตุ้นโดยตรง และมี feedback กลับมา สมองรับความรู้สกตอบกลับมาจากกล้ ามเนือจากอวัยวะทีผลิตการตอบสนองนี และมันเป็ น feedback ก่อน ึ แล้ วค่อยรู้สกออกมา ึ James บอกว่า อารมณ์ความรู้สกเป็ นพืนฐานทีเราจะได้ รับมันด้ วยตนเอง และใน sensory feedback เรา ึ รับมาจาก activity ของกล้ ามเนือและอวัยวะภายใน ดังนัน เมือเราตัวสัน และรู้สึกขีขลาด แสดงว่าเรากลัว (ประสบความกลัว) เราจะรู้สกหลังจากมีอาการทาง ึ สรี ระเกิดขึนแล้ ว มีพฤติกรรม (ตัวสัน) เราถึงรู้วาเรากลัว ่ ความรู้สกทางอามรมณ์เราสังเกตได้ ด้วยตนเอง self-observers ึ
  • 29. BY: PSYCHE 08 29 รูปที 10.16 The James-Lange Theory of Emotion. This schematic diagram indicates that an event in the environment triggers behavioral, autonomic, and endocrine responses. Feedback from these responses produces feelings of emotions. Feedback from Simulated Emotions James เน้ นความสําคัญของสองเกณฑ์ ของการตอบสนองทางอารมณ์ ทีเห็นกันก่อนหน้ าบทนี กล้ ามเนือเฉพาะบนใบหน้ าช่วยในการสือสารอารมณ์ไปยังบุคคลอืนๆ การทดลองต่างๆบอกว่า feedback ของกล้ ามเนือหน้ าสามารถส่งผลต่ออารมณ์คนและหลังจากการทํา กิจกรรม autonomic nervous system ศึกษารูปภาพโดย Damasio et al. (2000) ถามคนไข้ ให้ ลองระลึกถึงประสบการณ์ก่อนๆในชีวิตทีก่อให้ เกิด อารมณ์เศร้ า มีความสุข โกรธ และกลัว ผู้ทดลองพบว่าการระลึกโดยกระตุ้นอารมณ์เหล่านีต่อ the subject’s somatosensory cortex and upper brain stem nuclei นําไปสูการควบคุมของอวัยวะภายในและตรวจความรู้สกจากพวกเขา ่ ึ การตอบสนองนีเข้ ากันกับทฤษฎีของ James รูปที 10.17 Imitation in an Infant ทารกเลียนแบบสีหน้ าคนเลียง
  • 30. BY: PSYCHE 08 30 บทที 11 ระบบการย่ อย เซลล์ตางๆทีประกอบเป็ นร่างกายเราขึนมาล้ วนค่อยๆพัฒนาขึนมา เริมตังแต่ตอนยังเป็ นเพียงสิงมีชีวิตเล็กใน ่ ท้ องสมุทร โดยในช่วงวิวฒนาการนัน เซลล์จะนําสารอาหารและออกซิเจนเข้ าสู้เซลล์ผ่านทางนําทีล้ อมรอบเซลล์และ ั กําจัดของเสียทีเป็ นอันตรายออกทางนันเช่นเดียวกัน เพือทีจะอธิบายถึงลักษณะของระบบการย่อยอาหาร ระบบการหายใจ และระบบต่อมไร้ ทอ เราจําเป็ นต้ อง ่ อธิบายถึงพฤติกรรมการหาอาหารและนําก่อน Homeostasis = คือกระบวนการของร่างกายในการคงไว้ ซงระดับทีเหมาะสม เช่น อุณหมภูมิ ึ ระดับของนําตาลในเลือด Ingestive behavior = การกินและการดืม Physiological Regulatory Mechanisms = กลไลในการควบคุมทีคงไว้ ซงระดับทีเหมาะสมของอวัยวะภายใน ึ ร่างกาย เช่นการคงไว้ ถึงระดับอุณหภูมิในร่างกาย แม้ วาสภาพแวดล้ อมจะมีอณหภูมิเปลียนแปลงไป ่ ุ System variable = ตัวแปรทีถูกควบคุมโดยกลไกต่างๆเช่น ระบบการควบคุมความร้ อนในร่างกาย Set point = ค่าทีเหมาะสมของกลไกในการควบคุม Detector = กระบวนการควบคุม โดยกลไกจะส่งสัญญาณหากระดับต่างๆเริมเปลียนแปลงไปจาก Set point Correctional mechanism = กลไกทีควบคุมโดยจะสามารถเปลียนค่าของระบบได้ Negative feedback = หน้ าทีหนึงของกลไกในการควบคุม ทีผลถูกสร้ างเพือลด หรื อคงไว้ ของระดับต่างๆในร่างกายทีเหมาะสม Satiety mechanism = กลไกการควบคุมของสมองทีหยุดความหิวหรื อความกระหาย ทีเกิดจากการได้ รับสารอาหารเข้ ามา Drinking = เป็ นพฤติกรรมทีคงไว้ ซงระดับทีเหมาะสมในร่างกาย ึ ข้ อเท็จจริงของการคงไว้ ถึงความสมดุลของของเหลวในร่ างกาย Intravascular fluid คือของเหลวทีอยูในหลอดเลือด ่