SlideShare a Scribd company logo
ปริมาณสัมพันธ์                                                                            อ.จตุภรณ์ สวัสดิ์รักษา

                                            แบบฝึกหัด 4-4 เรื่องสารละลาย
1. ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด ถ้าผิดแก้ให้ถูกต้อง
       ..........1.1 น้ําเชื่อมเข้มข้น 5% โดยมวล หมายถึง มีนาตาลอยู่ 5 กรัม ในน้ํา 100 กรัม
                                                                ้ํ
       ..........1.2 เศษส่วนโดยโมลของน้ําตาล เท่ากับ 0.25 หมายถึง มีน้ําตาลอยู่ 0.25 โมล ในน้ํา 1 โมล
       ..........1.3 เศษส่วนโดยโมลของน้ําในสารละลายยูเรีย เท่ากับ 0.88 หมายถึง ในสารละลาย 100 โมล
                         มีนํา 0.88 โมล
                              ้
       ..........1.4 ร้อยละโดยโมลของน้ําในสารละลายยูเรีย เท่ากับ 88 หมายถึง ในสารละลาย 100 โมล
                         มีนํา 88 โมล
                                ้
       ..........1.5 น้ําเชื่อมเข้มข้น 15% โดยมวล หมายถึง ในน้ํา 100 กรัม มีน้ําตาลอยู่ 15 กรัม
       ..........1.6 สารละลายกรดอะซิติก เข้มข้นร้อยละ 12 โดยมวล หมายถึง ในน้ํา 100 กรัม มีกรด
                         อะซิติกอยู่ 12 กรัม
       ..........1.7 น้ําส้มสายชูเข้มข้นร้อยละ 8 โดยมวล หมายถึง มีกรดอะซิติกอยู่ 8 กรัม ในสารละลาย
                         100 กรัม
       ..........1.8 ทิงเจอร์ไอโอดีน เข้มข้น 10 โมแลล หมายถึง มีไอโอดีน 10 โมล ในเอทานอล 100 cm3
       ..........1.9 สารละลาย HCl 0.5 M หมายถึง ในน้ํา 1,000 cm3 มี HCl อยู่ 0.5 โมล
       ..........1.10 สารละลาย NaOH 0.5 m หมายถึง ในน้า 1,000 kg มี NaOH อยู่ 0.5 โมล
                                                                   ํ

2. เมื่อละลายน้ําตาลกลูโคส ( C6H12O6 ) 20 กรัม ในน้ากลั่น 100 กรัม จงคํานวณหาความเข้มข้นเป็นร้อยละโดย
                                                        ํ
มวลของสารละลายที่ได้
3. น้ําส้มสายชู 50 กรัม มีกรดอะซิติกละลายอยู่ 4 กรัม ถ้าน้ําส้มสายชูมีความหนาแน่น 1.13 g/cm3 น้ําส้มสายชู
นี้เข้มข้นร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรเท่าใด
4. กรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นมีความหนาแน่น 1.19 g/cm3 และมี HCl 30 % โดยน้ําหนัก จงคํานวณหาน้ําหนัก HCl ใน
สารละลาย HCl เข้มข้นปริมาตร 1 L
5. จงตอบคําถามต่อไปนี้ในหน่วย ppm หรือ ppb
           ก. Hg 1 mg ละลายน้ํา 1 kg คิดเป็นหน่วยความเข้มข้นเท่าใดโดยน้ําหนัก
           ข. SO2 0.1 cm3 ละลายน้ํา 105 L คิดเป็นความเข้มข้นเท่าใดโดยปริมาตร
           ค. O2 10 mg ละลายน้ํา 100 L คิดเป็นความเข้มข้นเท่าใดโดยน้ําหนักต่อปริมาตร
6. นมผงที่บรรจุในกระป๋องชนิดหนึ่งมี Pb เจือปนอยู่ 3.2 ppm จงคํานวณหาว่าในขวดนมขนาด 470 cm3 จะมี Pb
อยู่กี่กรัม
7. จงคํานวนหาโมลาริตีของสารละลาย H2SO4 เข้มข้น 10% โดยน้ําหนัก ซึ่งมีความหนาแน่น 1.07 g/cm3
8. จะต้องใช้กลูโคสหนักกี่กรัม เพื่อเตรียมสารละลายเข้มข้น 0.5 m โดยใช้น้ํา 200 g เป็นตัวทําละลาย
9. จงคํานวนหาเศษส่วนโมลของ NaCl และ H2O ในสารละลาย NaCl เข้มข้น 3.0 m
10. สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วยเอทานอล ( C2H5OH ) 92 กรัม และน้ํา 180 กรัม จงคํานวณหาความเข้มข้น
ของสารละลายในหน่วยต่อไปนี้ ( เอทานอลมีความหนาแน่น 0.79 g/cm3 และน้ํามีความหนาแน่น 1 g/cm3 )
               ก. Molal                 ข. Molar              ค. Mole Fraction                ง. ร้อยละโดยโมล
ปริมาณสัมพันธ์                                                                        อ.จตุภรณ์ สวัสดิ์รักษา

                                แบบฝึกหัดที่ 4-5 เรื่องการเตรียมสารละลาย
    1. ในการเตรียมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1 mol/dm3 จํานวน 5 ลิตร จะต้องใช้ NaOH กี่กรัม

    2. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายเลด (II) ไนเตรต 0.05 mol/dm3 จํานวน 100 cm3 จากสารละลายซึ่งเข้มข้น
       0.2 mol/dm3
       ก. จะต้องใช้สารละลายเลด (II) ไนเตรต 0.2 mol/dm3 ปริมาตรเท่าใด
       ข. สารละลายที่เจือจางแล้วมีเลด (II) ไนเตรตละลายอยู่กี่กรัม

    3. จะต้องตวงสารละลาย HCl เข้มข้นปริมาตรเท่าใดเพือเตรียมสารละลาย HCl เข้มข้น 12% จํานวน 50 cm3
                                                    ่
       ความเข้มข้นของสารละลาย HCl เข้มข้นคือ 37.2 % มีความหนาแน่น 1.19 g/cm3 ส่วนสารละลาย HCl
       เข้มข้น 12.0% มีความหนาแน่น 1.11 g/cm3

    4. จะต้องใช้สารละลาย H2SO4 เข้มข้น 10.0 M ปริมาตรเท่าใด เพื่อเตรียมสารละลาย H2SO4 เข้มข้น 0.2 M
       จํานวน 200 cm3

    5. จงคํานวณหาปริมาตรของสารละลาย HNO3 เข้มข้น 70% (ความหนาแน่น 1.42 g/cm3) ทีใช้เตรียม
                                                                                ่
                                                 3
       สารละลาย HNO3 เข้มข้น 1.00 M จํานวน 500 cm

    6. มีสารละลายกรดซัลฟิวริกเข้มข้น 1 mol/L จํานวน 200 cm3 เมื่อแบ่งมาเพียง 50 cm3 แล้วไปเติมน้ําเป็น
       200 cm3 ถ้าแบ่งสารละลายใหม่ที่ได้มา 10 cm3 จะมีเนื้อกรดซัลฟูรกกี่กรัม
                                                                    ิ

    7. ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย HNO3 เข้มข้น 1.0 M ให้มปริมาตร 14 L โดยเติมกรด HNO3 เข้มข้น 15 M
                                                       ี
       ลงในกรด HNO3 เข้มข้น 2.0 M จํานวน 1.25 L จะต้องใช้กรด HNO3 เข้มข้น 15 M ปริมาตรเท่าใด

    8. เมื่อนําสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 0.1, 0.3 และ 0.5 mol/dm3 จํานวน 300 250 และ 50
       cm3 ตามลําดับ มาผสมกัน สารละลายผสมที่ได้เข้มข้นกี่ mol/dm3

    9. จะต้องนําสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.5 mol/L และสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.1
       mol/L อย่างละกีลิตรมาผสมกันจึงจะได้สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.2 mol/L จํานวน 2 L
                      ่
       (ข้อสอบ Ent)

More Related Content

What's hot

สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนKrusek Seksan
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง
ืkanya pinyo
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
Maruko Supertinger
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนMaruko Supertinger
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
Gawewat Dechaapinun
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
Acid and base
Acid and baseAcid and base
Acid and base
Santi Panthchai
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
oraneehussem
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
Preeyapat Lengrabam
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
Chakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนApinya Phuadsing
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
oraneehussem
 
กสพท. เคมี 2559
กสพท. เคมี 2559กสพท. เคมี 2559
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
Dr.Woravith Chansuvarn
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
เซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 

What's hot (20)

สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
Acid and base
Acid and baseAcid and base
Acid and base
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
Chemical bond
Chemical bondChemical bond
Chemical bond
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อน
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
กสพท. เคมี 2559
กสพท. เคมี 2559กสพท. เคมี 2559
กสพท. เคมี 2559
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
 

Viewers also liked

4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
Saipanya school
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
ทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนPornpichit55
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
Pipat Chooto
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
Duduan
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
Saipanya school
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
Chuanchen Malila
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
1.4 Laboratory Equipment: Names & Uses
1.4 Laboratory Equipment:  Names & Uses1.4 Laboratory Equipment:  Names & Uses
1.4 Laboratory Equipment: Names & Uses
Cheryl Bausman
 

Viewers also liked (11)

4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอน
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
 
1.4 Laboratory Equipment: Names & Uses
1.4 Laboratory Equipment:  Names & Uses1.4 Laboratory Equipment:  Names & Uses
1.4 Laboratory Equipment: Names & Uses
 

Similar to Ex solution

3 concentration
3 concentration3 concentration
3 concentration
Saipanya school
 
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โสภาพรรณ ชื่นทองคำ
 
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โสภาพรรณ ชื่นทองคำ
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
พัน พัน
 
6 solution
6 solution6 solution
6 solution
seluluse
 
6 solution (2)
6 solution (2)6 solution (2)
6 solution (2)
Saisard
 
6 solution (1)
6 solution (1)6 solution (1)
6 solution (1)
jutatipeiei
 
สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3Duduan
 
สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2Duduan
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 

Similar to Ex solution (14)

3 concentration
3 concentration3 concentration
3 concentration
 
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
 
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
6 solution
6 solution6 solution
6 solution
 
6 solution (2)
6 solution (2)6 solution (2)
6 solution (2)
 
6 solution (1)
6 solution (1)6 solution (1)
6 solution (1)
 
Som
SomSom
Som
 
สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3
 
สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2
 
ACIC BASE
ACIC BASEACIC BASE
ACIC BASE
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
 

Ex solution

  • 1. ปริมาณสัมพันธ์ อ.จตุภรณ์ สวัสดิ์รักษา แบบฝึกหัด 4-4 เรื่องสารละลาย 1. ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด ถ้าผิดแก้ให้ถูกต้อง ..........1.1 น้ําเชื่อมเข้มข้น 5% โดยมวล หมายถึง มีนาตาลอยู่ 5 กรัม ในน้ํา 100 กรัม ้ํ ..........1.2 เศษส่วนโดยโมลของน้ําตาล เท่ากับ 0.25 หมายถึง มีน้ําตาลอยู่ 0.25 โมล ในน้ํา 1 โมล ..........1.3 เศษส่วนโดยโมลของน้ําในสารละลายยูเรีย เท่ากับ 0.88 หมายถึง ในสารละลาย 100 โมล มีนํา 0.88 โมล ้ ..........1.4 ร้อยละโดยโมลของน้ําในสารละลายยูเรีย เท่ากับ 88 หมายถึง ในสารละลาย 100 โมล มีนํา 88 โมล ้ ..........1.5 น้ําเชื่อมเข้มข้น 15% โดยมวล หมายถึง ในน้ํา 100 กรัม มีน้ําตาลอยู่ 15 กรัม ..........1.6 สารละลายกรดอะซิติก เข้มข้นร้อยละ 12 โดยมวล หมายถึง ในน้ํา 100 กรัม มีกรด อะซิติกอยู่ 12 กรัม ..........1.7 น้ําส้มสายชูเข้มข้นร้อยละ 8 โดยมวล หมายถึง มีกรดอะซิติกอยู่ 8 กรัม ในสารละลาย 100 กรัม ..........1.8 ทิงเจอร์ไอโอดีน เข้มข้น 10 โมแลล หมายถึง มีไอโอดีน 10 โมล ในเอทานอล 100 cm3 ..........1.9 สารละลาย HCl 0.5 M หมายถึง ในน้ํา 1,000 cm3 มี HCl อยู่ 0.5 โมล ..........1.10 สารละลาย NaOH 0.5 m หมายถึง ในน้า 1,000 kg มี NaOH อยู่ 0.5 โมล ํ 2. เมื่อละลายน้ําตาลกลูโคส ( C6H12O6 ) 20 กรัม ในน้ากลั่น 100 กรัม จงคํานวณหาความเข้มข้นเป็นร้อยละโดย ํ มวลของสารละลายที่ได้ 3. น้ําส้มสายชู 50 กรัม มีกรดอะซิติกละลายอยู่ 4 กรัม ถ้าน้ําส้มสายชูมีความหนาแน่น 1.13 g/cm3 น้ําส้มสายชู นี้เข้มข้นร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรเท่าใด 4. กรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นมีความหนาแน่น 1.19 g/cm3 และมี HCl 30 % โดยน้ําหนัก จงคํานวณหาน้ําหนัก HCl ใน สารละลาย HCl เข้มข้นปริมาตร 1 L 5. จงตอบคําถามต่อไปนี้ในหน่วย ppm หรือ ppb ก. Hg 1 mg ละลายน้ํา 1 kg คิดเป็นหน่วยความเข้มข้นเท่าใดโดยน้ําหนัก ข. SO2 0.1 cm3 ละลายน้ํา 105 L คิดเป็นความเข้มข้นเท่าใดโดยปริมาตร ค. O2 10 mg ละลายน้ํา 100 L คิดเป็นความเข้มข้นเท่าใดโดยน้ําหนักต่อปริมาตร 6. นมผงที่บรรจุในกระป๋องชนิดหนึ่งมี Pb เจือปนอยู่ 3.2 ppm จงคํานวณหาว่าในขวดนมขนาด 470 cm3 จะมี Pb อยู่กี่กรัม 7. จงคํานวนหาโมลาริตีของสารละลาย H2SO4 เข้มข้น 10% โดยน้ําหนัก ซึ่งมีความหนาแน่น 1.07 g/cm3 8. จะต้องใช้กลูโคสหนักกี่กรัม เพื่อเตรียมสารละลายเข้มข้น 0.5 m โดยใช้น้ํา 200 g เป็นตัวทําละลาย 9. จงคํานวนหาเศษส่วนโมลของ NaCl และ H2O ในสารละลาย NaCl เข้มข้น 3.0 m 10. สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วยเอทานอล ( C2H5OH ) 92 กรัม และน้ํา 180 กรัม จงคํานวณหาความเข้มข้น ของสารละลายในหน่วยต่อไปนี้ ( เอทานอลมีความหนาแน่น 0.79 g/cm3 และน้ํามีความหนาแน่น 1 g/cm3 ) ก. Molal ข. Molar ค. Mole Fraction ง. ร้อยละโดยโมล
  • 2. ปริมาณสัมพันธ์ อ.จตุภรณ์ สวัสดิ์รักษา แบบฝึกหัดที่ 4-5 เรื่องการเตรียมสารละลาย 1. ในการเตรียมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1 mol/dm3 จํานวน 5 ลิตร จะต้องใช้ NaOH กี่กรัม 2. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายเลด (II) ไนเตรต 0.05 mol/dm3 จํานวน 100 cm3 จากสารละลายซึ่งเข้มข้น 0.2 mol/dm3 ก. จะต้องใช้สารละลายเลด (II) ไนเตรต 0.2 mol/dm3 ปริมาตรเท่าใด ข. สารละลายที่เจือจางแล้วมีเลด (II) ไนเตรตละลายอยู่กี่กรัม 3. จะต้องตวงสารละลาย HCl เข้มข้นปริมาตรเท่าใดเพือเตรียมสารละลาย HCl เข้มข้น 12% จํานวน 50 cm3 ่ ความเข้มข้นของสารละลาย HCl เข้มข้นคือ 37.2 % มีความหนาแน่น 1.19 g/cm3 ส่วนสารละลาย HCl เข้มข้น 12.0% มีความหนาแน่น 1.11 g/cm3 4. จะต้องใช้สารละลาย H2SO4 เข้มข้น 10.0 M ปริมาตรเท่าใด เพื่อเตรียมสารละลาย H2SO4 เข้มข้น 0.2 M จํานวน 200 cm3 5. จงคํานวณหาปริมาตรของสารละลาย HNO3 เข้มข้น 70% (ความหนาแน่น 1.42 g/cm3) ทีใช้เตรียม ่ 3 สารละลาย HNO3 เข้มข้น 1.00 M จํานวน 500 cm 6. มีสารละลายกรดซัลฟิวริกเข้มข้น 1 mol/L จํานวน 200 cm3 เมื่อแบ่งมาเพียง 50 cm3 แล้วไปเติมน้ําเป็น 200 cm3 ถ้าแบ่งสารละลายใหม่ที่ได้มา 10 cm3 จะมีเนื้อกรดซัลฟูรกกี่กรัม ิ 7. ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย HNO3 เข้มข้น 1.0 M ให้มปริมาตร 14 L โดยเติมกรด HNO3 เข้มข้น 15 M ี ลงในกรด HNO3 เข้มข้น 2.0 M จํานวน 1.25 L จะต้องใช้กรด HNO3 เข้มข้น 15 M ปริมาตรเท่าใด 8. เมื่อนําสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 0.1, 0.3 และ 0.5 mol/dm3 จํานวน 300 250 และ 50 cm3 ตามลําดับ มาผสมกัน สารละลายผสมที่ได้เข้มข้นกี่ mol/dm3 9. จะต้องนําสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.5 mol/L และสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.1 mol/L อย่างละกีลิตรมาผสมกันจึงจะได้สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.2 mol/L จํานวน 2 L ่ (ข้อสอบ Ent)